From this page you can:
Home |
Search results
34 result(s) search for keyword(s) 'การรับรู้. วัยรุ่นชาย. การเสพยา.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า / วันเพ็ญ ใจปทุม / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า Material Type: printed text Authors: วันเพ็ญ ใจปทุม, Author ; สุภาริณีย์ สายแสงทอง, Author ; ศศลักษณ์ กล้าไพรี, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 63 หน้า. Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-028-1 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: การรับรู้.
วัยรุ่นชาย.
การเสพยา.Class number: HV5840 ว715 2544 Abstract: เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือพ่อ แม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า อายุระหว่าง 15-19 ปี ตึกโกเมน โรงพยาบาลธัญญารักษ์ จำนวน 20 คน โดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งโครงสร้าง เป็นรายบุคคลโดยการสัมภาษณ์พร้อมกับทั้งพ่อและแม่ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นจริงและการใช้คำถามเดียวกันทั้งพ่อแม่ที่บ่งบอกถึงการรับรู้ การให้ความหมายเกี่ยวกับยาบ้าและพฤติกรรมการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่แตกต่างกันออกไป ข้อมูลที่ได้จ้ากการสัมภาษณ์นำมาประมวล และวิเคราะห์เพื่อหาคำอธิบายพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
ผลจากการศึกษาพบว่า การรับรู้ของพ่อแม่เกี่ยวกับความหมายของยาบ้า พ่อ แม่ให้ความหมายของยาบ้าในทางที่ไม่ดี คือ ยาบ้าเมื่อเสพเข้าไปแล้วทำให้เกิดผลกระทบทั้งต่อร่างกายและจิตใจ พฤติกรรมทำให้สังคมไม่ยอมนับ ส่วนความหมายของยาบ้าในทางที่ดี คือ ใช้แล้วขยันทำงาน ไม่หลับ ร่างกายกระปรี้ กระเปร่า ซึ่งพ่อบางคนรับรู้โดยประสบการณ์ตรง คือ การทดลองใช้ และมีแม่บางรายไม่สามารถบอกความหมายของยาบ้าได้ เนื่องจากไม่ทราบ หรือรู้จักมาก่อน
การรับรู้ว่าลูกติดยาบ้าของพ่อแม่ รับรู้โดยการสังเกตจาก อาการทางร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรม มีผู้อื่นมาบอก เช่น ครู และเพื่อนบ้าน จึงทราบว่าลูกเสพยาบ้า
ความรู้สึกของพ่อแม่เมื่อรู้ว่าลูกติดยา ความรู้สึกแรกที่พบ คือ รู้สึกเสียใจมาก บางรายโกรธถึงขั้นทุบตีลูก โทษตนเองว่าดูแลลูกไม่ดี น้อยใจที่ลูกไม่เชื่อฟัง รู้สึกท้อแท้กลัวลูกจะรักษาไมาหาย อายกลัวเสียชื่อเสียง
การค้นหาสาเหตุ จากการศึกษาพบว่า สาเหตุที่ทำให้ลูกติดยาคือ การคบเพื่อนที่ติดยาเสพติด และพฤติกรรมเกเร มีสมาชิกในครอบครัวที่ติดยาบ้า จึงมีพฤติกรรมที่เลียนแบบ ติดจาการมีโรคประจำตัว มีปมด้อย เช่น หอบหืด ชัก พ่อแม่ไม่เข้าใจลูกไม่ฟังเหตุผล พ่อแม่ไม่มีเวลาดูลูก ให้เงินลูกมากเกินไป อุปนิสัยของลูกชอบประชด พ่อแม่ตามใจ หรือบีบบังคับมากเกินไปCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23300 รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า [printed text] / วันเพ็ญ ใจปทุม, Author ; สุภาริณีย์ สายแสงทอง, Author ; ศศลักษณ์ กล้าไพรี, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 63 หน้า. : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-028-1 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: การรับรู้.
วัยรุ่นชาย.
การเสพยา.Class number: HV5840 ว715 2544 Abstract: เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือพ่อ แม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า อายุระหว่าง 15-19 ปี ตึกโกเมน โรงพยาบาลธัญญารักษ์ จำนวน 20 คน โดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งโครงสร้าง เป็นรายบุคคลโดยการสัมภาษณ์พร้อมกับทั้งพ่อและแม่ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นจริงและการใช้คำถามเดียวกันทั้งพ่อแม่ที่บ่งบอกถึงการรับรู้ การให้ความหมายเกี่ยวกับยาบ้าและพฤติกรรมการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่แตกต่างกันออกไป ข้อมูลที่ได้จ้ากการสัมภาษณ์นำมาประมวล และวิเคราะห์เพื่อหาคำอธิบายพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
ผลจากการศึกษาพบว่า การรับรู้ของพ่อแม่เกี่ยวกับความหมายของยาบ้า พ่อ แม่ให้ความหมายของยาบ้าในทางที่ไม่ดี คือ ยาบ้าเมื่อเสพเข้าไปแล้วทำให้เกิดผลกระทบทั้งต่อร่างกายและจิตใจ พฤติกรรมทำให้สังคมไม่ยอมนับ ส่วนความหมายของยาบ้าในทางที่ดี คือ ใช้แล้วขยันทำงาน ไม่หลับ ร่างกายกระปรี้ กระเปร่า ซึ่งพ่อบางคนรับรู้โดยประสบการณ์ตรง คือ การทดลองใช้ และมีแม่บางรายไม่สามารถบอกความหมายของยาบ้าได้ เนื่องจากไม่ทราบ หรือรู้จักมาก่อน
การรับรู้ว่าลูกติดยาบ้าของพ่อแม่ รับรู้โดยการสังเกตจาก อาการทางร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรม มีผู้อื่นมาบอก เช่น ครู และเพื่อนบ้าน จึงทราบว่าลูกเสพยาบ้า
ความรู้สึกของพ่อแม่เมื่อรู้ว่าลูกติดยา ความรู้สึกแรกที่พบ คือ รู้สึกเสียใจมาก บางรายโกรธถึงขั้นทุบตีลูก โทษตนเองว่าดูแลลูกไม่ดี น้อยใจที่ลูกไม่เชื่อฟัง รู้สึกท้อแท้กลัวลูกจะรักษาไมาหาย อายกลัวเสียชื่อเสียง
การค้นหาสาเหตุ จากการศึกษาพบว่า สาเหตุที่ทำให้ลูกติดยาคือ การคบเพื่อนที่ติดยาเสพติด และพฤติกรรมเกเร มีสมาชิกในครอบครัวที่ติดยาบ้า จึงมีพฤติกรรมที่เลียนแบบ ติดจาการมีโรคประจำตัว มีปมด้อย เช่น หอบหืด ชัก พ่อแม่ไม่เข้าใจลูกไม่ฟังเหตุผล พ่อแม่ไม่มีเวลาดูลูก ให้เงินลูกมากเกินไป อุปนิสัยของลูกชอบประชด พ่อแม่ตามใจ หรือบีบบังคับมากเกินไปCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23300 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354892 HV5840 ว715 2544 Book Main Library General Shelf Available SIU THE-T. การรับรู้ของพนักงานที่มีต่อรูปแบบการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทย / สาลินี ชัยวัฒนพร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การรับรู้ของพนักงานที่มีต่อรูปแบบการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทย Original title : Perceptions of Employees towards Thai Manager’s Management Style Material Type: printed text Authors: สาลินี ชัยวัฒนพร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xvi, 344 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ -- การจัดการ
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงานKeywords: การรับรู้ของพนักงาน,
การยอมรับของพนักงาน,
การบริหารงาน,
ผู้จัดการชาวไทยAbstract: งานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาการรับรู้ของพนักงานเกี่ยวกับรูปแบบของของผู้จัดการชาวไทย โดยมี
กลุ่มตัวอย่าง 800 คน และศึกษาผู้ที่สาเร็จปริญญาตรีและประกอบอาชีพในหน่วยงานภาครัฐและ
ภาคส่วนเอกชน อย่างละ 400 คน ซึ่งแบบสอบถามได้ถูกพัฒนามาจากแนวคิด 5 มิติทางวัฒนธรรมของ ฮอฟสตีท (Hofstede) และได้ไปพัฒนาต่อเนื่องและถูกใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง งานวิจัยนี้ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม และทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยใช้สถิติเชิงอนุมาณในการหาค่า t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ในส่วนงานราชการมีการรับรู้การบริหารของผู้จัดการชาวไทยรับรู้ว่า
หัวหน้างานมักหลีกเลี่ยงความเสี่ยงเป็นอันดับแรก (มิติการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รองลงมาคือการตั้งเป้าหมายในระยะยาว (มิติเป้าหมายระยะยาว) การรักษาระยะห่างจากลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) แบ่งแยกความสาคัญระหว่างผู้ชายกับผู้หญิง (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) และมีความนิยมเป็นหมู่เหล่าค่อนข้างมาก (ปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) ตามลาดับ ส่วนการยอมรับการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยของพนักงานในส่วนงานราชการพบว่าให้ความสาคัญเกี่ยวกับลักษณะผู้นาของผู้บริหารเป็นอันดับแรก ถัดมาคือความพึงพอใจในการทางาน ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการให้คุณให้โทษ การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ระบบการประเมินผล ตามลาดับ
นอกจากนี้ ผลการวิจัยในส่วนงานเอกชนมีการรับรู้ของพนักงานที่แตกต่างกัน โดยรับรู้ว่า
ผู้จัดการชาวไทยให้ความสาคัญกับการมีเป้าหมายในระยะยาวมากที่สุด รองลงมาคือการหลีกเลี่ยง
ความเสี่ยง (มิติหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รักษาระยะห่างระหว่างตนเองกับลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) มีความรักพวกพ้อง (มิติปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) และเห็นว่าผู้หญิงมีความสาคัญเท่าเทียมกับผู้ชาย (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) ตามลาดับ นอกจากนั้นผลการวิจัยยังแสดงให้เห็นว่าพนักงานชาวไทยทั้งภาครัฐและเอกชนส่วนใหญ่ การยอมรับการทางานภายใต้การบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยว่ามีความพึงพอใจในการทางานเป็นอันดับแรก รองลงมาเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ลักษณะของผู้นาของผู้บริหาร ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการประเมินผลงาน และระบบการให้คุณให้โทษ ตามลาดับCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26777 SIU THE-T. การรับรู้ของพนักงานที่มีต่อรูปแบบการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทย = Perceptions of Employees towards Thai Manager’s Management Style [printed text] / สาลินี ชัยวัฒนพร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xvi, 344 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ -- การจัดการ
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงานKeywords: การรับรู้ของพนักงาน,
การยอมรับของพนักงาน,
การบริหารงาน,
ผู้จัดการชาวไทยAbstract: งานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาการรับรู้ของพนักงานเกี่ยวกับรูปแบบของของผู้จัดการชาวไทย โดยมี
กลุ่มตัวอย่าง 800 คน และศึกษาผู้ที่สาเร็จปริญญาตรีและประกอบอาชีพในหน่วยงานภาครัฐและ
ภาคส่วนเอกชน อย่างละ 400 คน ซึ่งแบบสอบถามได้ถูกพัฒนามาจากแนวคิด 5 มิติทางวัฒนธรรมของ ฮอฟสตีท (Hofstede) และได้ไปพัฒนาต่อเนื่องและถูกใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง งานวิจัยนี้ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม และทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยใช้สถิติเชิงอนุมาณในการหาค่า t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ในส่วนงานราชการมีการรับรู้การบริหารของผู้จัดการชาวไทยรับรู้ว่า
หัวหน้างานมักหลีกเลี่ยงความเสี่ยงเป็นอันดับแรก (มิติการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รองลงมาคือการตั้งเป้าหมายในระยะยาว (มิติเป้าหมายระยะยาว) การรักษาระยะห่างจากลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) แบ่งแยกความสาคัญระหว่างผู้ชายกับผู้หญิง (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) และมีความนิยมเป็นหมู่เหล่าค่อนข้างมาก (ปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) ตามลาดับ ส่วนการยอมรับการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยของพนักงานในส่วนงานราชการพบว่าให้ความสาคัญเกี่ยวกับลักษณะผู้นาของผู้บริหารเป็นอันดับแรก ถัดมาคือความพึงพอใจในการทางาน ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการให้คุณให้โทษ การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ระบบการประเมินผล ตามลาดับ
นอกจากนี้ ผลการวิจัยในส่วนงานเอกชนมีการรับรู้ของพนักงานที่แตกต่างกัน โดยรับรู้ว่า
ผู้จัดการชาวไทยให้ความสาคัญกับการมีเป้าหมายในระยะยาวมากที่สุด รองลงมาคือการหลีกเลี่ยง
ความเสี่ยง (มิติหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รักษาระยะห่างระหว่างตนเองกับลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) มีความรักพวกพ้อง (มิติปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) และเห็นว่าผู้หญิงมีความสาคัญเท่าเทียมกับผู้ชาย (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) ตามลาดับ นอกจากนั้นผลการวิจัยยังแสดงให้เห็นว่าพนักงานชาวไทยทั้งภาครัฐและเอกชนส่วนใหญ่ การยอมรับการทางานภายใต้การบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยว่ามีความพึงพอใจในการทางานเป็นอันดับแรก รองลงมาเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ลักษณะของผู้นาของผู้บริหาร ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการประเมินผลงาน และระบบการให้คุณให้โทษ ตามลาดับCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26777 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593390 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593424 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 / จามร รัตนพงศ์บวร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 Original title : (Factors Leading to Drug Usage by Persons Committed for Identification Detained at the Facility for Identification of Area 13, Klong Prem Central Prison) Material Type: printed text Authors: จามร รัตนพงศ์บวร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 66 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-12
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ยาเสพติด
[LCSH]เรือนจำกลางคลองเปรมKeywords: ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์,
สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์,
การเสพยาเสพติดAbstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการ
ตรวจพิสูจน์ เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 ซึ่งจะได้นำมาเป็นแนวทางในการปรับปรุงนโยบาย
ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยใช้วิธีการวิจัยสนาม ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะจง
ในลักษณะตัวต่อตัว ซึ่งใช้คำถามแบบเดียวกันกับผู้ถูกสัมภาษณ์ทุกคน ทั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์ เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์ เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 เกิดจากการปัจจัยที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1. ตัวผู้เสพยาเสพติด 2. สถาบันครอบครัว 3. สังคมและสิ่งแวดล้อม และ 4. ภาครัฐ
จากการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเสพยาเสพยาติด คือ ทุกภาคส่วนต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเสพยาเสพติด เช่น การให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของยาเสพติดและบทลงโทษของกฎหมาย การให้โอกาสผู้เสพยาเสพติดกลับตัวกลับใจเลิกเสพยาเสพติด ตลอดจนภาครัฐควรจัดให้มีหน่วยงานในการบำบัดรักษาผู้เสพ/ติดยาเสพติดเป็นการเฉพาะ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบำบัดรักษาผู้เสพยาเสพติดอย่างแท้จริงCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26892 SIU IS-T. ปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 = (Factors Leading to Drug Usage by Persons Committed for Identification Detained at the Facility for Identification of Area 13, Klong Prem Central Prison) [printed text] / จามร รัตนพงศ์บวร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 66 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-12
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ยาเสพติด
[LCSH]เรือนจำกลางคลองเปรมKeywords: ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์,
สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์,
การเสพยาเสพติดAbstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการ
ตรวจพิสูจน์ เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 ซึ่งจะได้นำมาเป็นแนวทางในการปรับปรุงนโยบาย
ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยใช้วิธีการวิจัยสนาม ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะจง
ในลักษณะตัวต่อตัว ซึ่งใช้คำถามแบบเดียวกันกับผู้ถูกสัมภาษณ์ทุกคน ทั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์ เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์ เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 เกิดจากการปัจจัยที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1. ตัวผู้เสพยาเสพติด 2. สถาบันครอบครัว 3. สังคมและสิ่งแวดล้อม และ 4. ภาครัฐ
จากการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเสพยาเสพยาติด คือ ทุกภาคส่วนต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเสพยาเสพติด เช่น การให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของยาเสพติดและบทลงโทษของกฎหมาย การให้โอกาสผู้เสพยาเสพติดกลับตัวกลับใจเลิกเสพยาเสพติด ตลอดจนภาครัฐควรจัดให้มีหน่วยงานในการบำบัดรักษาผู้เสพ/ติดยาเสพติดเป็นการเฉพาะ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบำบัดรักษาผู้เสพยาเสพติดอย่างแท้จริงCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26892 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593697 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-12 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593705 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-12 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกซื้อการประกันภัยรถยนต์ กับบริษัทประกันภัยในจังหวัดเพชรบูรณ์ / ทิพวัลย์ ศักดาพิทักษ์
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกซื้อการประกันภัยรถยนต์ กับบริษัทประกันภัยในจังหวัดเพชรบูรณ์ Original title : Factors Affecting the Purchasing Decision to Motor Insurance with Insurance Company in Phetchabun Material Type: printed text Authors: ทิพวัลย์ ศักดาพิทักษ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name Pagination: xiv, 111 p. Layout: ill, tables Size: 30 cm. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2014-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Consumers -- Decision purchasing
[LCSH]รถยนต์ -- เพชรบูรณ์
[LCSH]สินค้า -- ประกันภัยKeywords: การรับรู้ถึงความเสี่ยง
การเลือกบนทางเลือก
บริการที่ลูกค้าคาดหวัง
อิทธิพลทางครอบครัวAbstract: การค้นคว้าอิสระเรื่อง ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกซื้อการประกันภัยรถยนต์กับบริษัทประกันภัยในจังหวัดเพชรบูรณ์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ศึกษาข้อมูลส่วนบุคคล ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด และเปรียบเทียบความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคล ต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อประกันภัย โดยทำการศึกษากลุ่มตัวอย่างจังหวัดเพชรบูรณ์ Curricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26200 SIU IS-T. ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกซื้อการประกันภัยรถยนต์ กับบริษัทประกันภัยในจังหวัดเพชรบูรณ์ = Factors Affecting the Purchasing Decision to Motor Insurance with Insurance Company in Phetchabun [printed text] / ทิพวัลย์ ศักดาพิทักษ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name . - [s.d.] . - xiv, 111 p. : ill, tables ; 30 cm.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2014-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Consumers -- Decision purchasing
[LCSH]รถยนต์ -- เพชรบูรณ์
[LCSH]สินค้า -- ประกันภัยKeywords: การรับรู้ถึงความเสี่ยง
การเลือกบนทางเลือก
บริการที่ลูกค้าคาดหวัง
อิทธิพลทางครอบครัวAbstract: การค้นคว้าอิสระเรื่อง ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกซื้อการประกันภัยรถยนต์กับบริษัทประกันภัยในจังหวัดเพชรบูรณ์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ศึกษาข้อมูลส่วนบุคคล ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด และเปรียบเทียบความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคล ต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อประกันภัย โดยทำการศึกษากลุ่มตัวอย่างจังหวัดเพชรบูรณ์ Curricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26200 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590685 SIU IS-T: SOM-MBA-2014-03 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU Thesis. ผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ต่อการรับรู้ของลูกค้า: กรณีศึกษา บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) / อัจฉรา ฉัตรเฉลิมพล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU Thesis Title : ผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ต่อการรับรู้ของลูกค้า: กรณีศึกษา บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) Original title : The Impact of Social Media on Customers’ Perception: A Case Study of PTT Public Company Limited Material Type: printed text Authors: อัจฉรา ฉัตรเฉลิมพล, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: xiv, 275 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2018-01
Thesis. [PhD.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน)
[LCSH]สื่อสังคมออนไลน์
[LCSH]เครือข่ายสังคมแบบออนไลน์Keywords: บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) หรือ “ปตท.”,
ผลกระทบ,
การรับรู้,
สื่อสังคมออนไลน์Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ต่อการรับรู้ของลูกค้า ในด้านภาพลักษณ์องค์กร และในด้านธุรกิจการค้า ของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) (ปตท.) โดยในด้านภาพลักษณ์องค์กร ศึกษาจากความสัมพันธ์ของการเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ด้านการบริหาร และด้านกิจกรรมต่างๆ ซึ่งเป็นนามธรรม ส่วนในด้านธุรกิจการค้า ศึกษาจากความสัมพันธ์ของการเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ ซึ่งเป็นรูปธรรม จำแนกหัวข้อได้ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ด้านบริหารและด้านกิจกรรมต่างๆ ต่อการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กรของ ปตท. 2. เพื่อศึกษาผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ ต่อการรับรู้ในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. 3. เพื่อศึกษาผลกระทบด้านลักษณะประชากรศาสตร์ ต่อการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กร และในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. 4. เพื่อศึกษาผลกระทบด้านเครื่องมือสื่อสังคมออนไลน์ ต่อการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กร และในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. และ 5. เพื่อค้นหาแบบจำลอง (Model) ในการบริหารจัดการสื่อสังคมออนไลน์ของ ปตท. และผลกระทบจากภายนอก ปตท. ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้การวิจัยแบบผสมผสาน ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ลูกค้า ปตท. ที่มีอายุ 18 ขึ้นไป และมีบัญชีผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ จำนวน 400 คน เพื่อตอบแบบสอบถาม (Questionnaire) และลูกค้าอีกจำนวน 12 คน ที่รู้จักและมีการใช้สื่อสังคมออนไลน์มากกว่า 7 ชนิด อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอเป็นระยะเวลามากกว่า 5 ปี เพื่อตอบคำถามสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) วิธีการสุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota Sampling) และการสุ่มตัวอย่างแบบตามความสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ 1. แบบสอบถาม (Questionnaire) และ 2. การวิเคราะห์ข่าวในสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. ในเชิงปริมาณ ส่วนเครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ 1. การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และ 2. การวิเคราะห์ข่าวในสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. ในเชิงคุณภาพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าความถี่ (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation หรือ S.D.) ค่าสถิติอนุมาน (Inferential Statistic) ค่าสถิติ Pearson’s Correlation ค่า t-test ค่า One-way ANOVA (f-test) เทคนิคการสะสมสรุป (Cumulative Summarization Technique) การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) และการวิเคราะห์ตัวแปรเพื่อทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 9-30 ปี สถานภาพสมรส การศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพรับราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ รายได้เฉลี่ยน้อยกว่า 20,000 บาท/เดือน ใช้สินค้าน้ำมันมากที่สุด ใช้สื่อทั่วไป คือ โทรทัศน์มากที่สุด ใช้สื่อสังคมออนไลน์ทั่วไป ประเภท LINE มากที่สุด และใช้สื่อสังคมออนไลน์ของ ปตท. ประเภท LINE “PTT Group” มากที่สุด ผ่านช่องทางโทรศัพท์มือถือมากที่สุด ที่ความถี่ 2-3 ชั่วโมง/สัปดาห์ ค่าใช้จ่าย 301-500 บาท/เดือน โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ของ ปตท. เพื่อรับข้อมูลข่าวสาร และมีความเชื่อถือในระดับมาก เคยได้รับข้อมูลข่าวสารของ ปตท. จากช่องทางอื่น แต่มีความเชื่อถือในระดับปานกลาง มีความเชื่อถือในภาพลักษณ์องค์กรที่ดีของ ปตท. ในระดับมาก มีการรับรู้ด้านบริหารของ ปตท. ในระดับมาก ด้านผลิตภัณฑ์และบริการในระดับมาก และด้านกิจกรรมต่างๆ ในระดับปานกลาง มีการรับรู้ผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ต่อการสื่อสารของ ปตท. ด้านบวกและด้านลบในระดับปานกลาง
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1. การเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ด้านบริหารและด้านกิจกรรมต่างๆ มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กรของ ปตท. ในระดับสูง (r = .702) และ (r = .611) ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (เป็นไปตามสมมติฐาน) 2. การเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับการรับรู้ในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. ในระดับสูง (r = .681) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (เป็นไปตามสมมติฐาน) 3. ลักษณะประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกัน ไม่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กรและในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. ที่แตกต่างกัน (ไม่เป็นไปตามสมมติฐาน) ยกเว้น “ด้านอาชีพ” ที่เป็นไปตามสมมติฐาน เฉพาะด้านภาพลักษณ์องค์กร 4. เครื่องมือสื่อสังคมออนไลน์ที่แตกต่างกัน ไม่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กรและในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. ที่แตกต่างกัน (ไม่เป็นไปตามสมมติฐาน)
ผลการวิเคราะห์ข่าวในสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. ในเชิงปริมาณ พบว่า ในระยะเวลา 6 เดือน มีประเด็นข่าวจำนวน 5,968 ประเด็น เป็นประเด็นทั่วไป ประเด็นบวก และ ประเด็นลบ ในสัดส่วน 26.44% : 59.22% : 14.34% ตามลำดับ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพทั้งจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และจากการวิเคราะห์ข่าวในสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. พบว่า ส่วนใหญ่มีทัศนคติต่อ ปตท. ในเชิงบวกมากกว่าเชิงลบ
สรุป จากผลการวิจัยโดยรวมของเครื่องมือทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ (1) ผลการวิจัยเชิงปริมาณจากแบบสอบถาม (2) ผลการวิจัยเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และ (3) ผลการวิเคราะห์ข่าวจากสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. ทั้งแบบเชิงปริมาณและแบบเชิงคุณภาพ พบว่า ภาพรวมของสื่อสังคมออนไลน์ ปตท. มีความสัมพันธ์และมีผลกระทบต่อการรับรู้ของลูกค้า ปตท. ในเชิงบวกมากกว่าเชิงลบ ส่วนผลการค้นหาแบบจำลอง (Model) ได้แก่ “3 F and 4 Steps Circle” หรือ กลยุทธ์ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพ และกระบวนการเพิ่มข่าวบวกและลดข่าวลบ ถือเป็นการค้นพบทางวิชาการเพื่อเพิ่มพูนความรู้ (Body of Knowledge) ซึ่งสามารถนำไปใช้กับองค์กรอื่นได้Curricular : BALA/GE/MTEIL/PhDT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27843 SIU Thesis. ผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ต่อการรับรู้ของลูกค้า: กรณีศึกษา บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) = The Impact of Social Media on Customers’ Perception: A Case Study of PTT Public Company Limited [printed text] / อัจฉรา ฉัตรเฉลิมพล, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - xiv, 275 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2018-01
Thesis. [PhD.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน)
[LCSH]สื่อสังคมออนไลน์
[LCSH]เครือข่ายสังคมแบบออนไลน์Keywords: บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) หรือ “ปตท.”,
ผลกระทบ,
การรับรู้,
สื่อสังคมออนไลน์Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ต่อการรับรู้ของลูกค้า ในด้านภาพลักษณ์องค์กร และในด้านธุรกิจการค้า ของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) (ปตท.) โดยในด้านภาพลักษณ์องค์กร ศึกษาจากความสัมพันธ์ของการเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ด้านการบริหาร และด้านกิจกรรมต่างๆ ซึ่งเป็นนามธรรม ส่วนในด้านธุรกิจการค้า ศึกษาจากความสัมพันธ์ของการเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ ซึ่งเป็นรูปธรรม จำแนกหัวข้อได้ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ด้านบริหารและด้านกิจกรรมต่างๆ ต่อการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กรของ ปตท. 2. เพื่อศึกษาผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ ต่อการรับรู้ในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. 3. เพื่อศึกษาผลกระทบด้านลักษณะประชากรศาสตร์ ต่อการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กร และในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. 4. เพื่อศึกษาผลกระทบด้านเครื่องมือสื่อสังคมออนไลน์ ต่อการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กร และในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. และ 5. เพื่อค้นหาแบบจำลอง (Model) ในการบริหารจัดการสื่อสังคมออนไลน์ของ ปตท. และผลกระทบจากภายนอก ปตท. ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้การวิจัยแบบผสมผสาน ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ลูกค้า ปตท. ที่มีอายุ 18 ขึ้นไป และมีบัญชีผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ จำนวน 400 คน เพื่อตอบแบบสอบถาม (Questionnaire) และลูกค้าอีกจำนวน 12 คน ที่รู้จักและมีการใช้สื่อสังคมออนไลน์มากกว่า 7 ชนิด อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอเป็นระยะเวลามากกว่า 5 ปี เพื่อตอบคำถามสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) วิธีการสุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota Sampling) และการสุ่มตัวอย่างแบบตามความสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ 1. แบบสอบถาม (Questionnaire) และ 2. การวิเคราะห์ข่าวในสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. ในเชิงปริมาณ ส่วนเครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ 1. การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และ 2. การวิเคราะห์ข่าวในสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. ในเชิงคุณภาพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าความถี่ (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation หรือ S.D.) ค่าสถิติอนุมาน (Inferential Statistic) ค่าสถิติ Pearson’s Correlation ค่า t-test ค่า One-way ANOVA (f-test) เทคนิคการสะสมสรุป (Cumulative Summarization Technique) การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) และการวิเคราะห์ตัวแปรเพื่อทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 9-30 ปี สถานภาพสมรส การศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพรับราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ รายได้เฉลี่ยน้อยกว่า 20,000 บาท/เดือน ใช้สินค้าน้ำมันมากที่สุด ใช้สื่อทั่วไป คือ โทรทัศน์มากที่สุด ใช้สื่อสังคมออนไลน์ทั่วไป ประเภท LINE มากที่สุด และใช้สื่อสังคมออนไลน์ของ ปตท. ประเภท LINE “PTT Group” มากที่สุด ผ่านช่องทางโทรศัพท์มือถือมากที่สุด ที่ความถี่ 2-3 ชั่วโมง/สัปดาห์ ค่าใช้จ่าย 301-500 บาท/เดือน โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ของ ปตท. เพื่อรับข้อมูลข่าวสาร และมีความเชื่อถือในระดับมาก เคยได้รับข้อมูลข่าวสารของ ปตท. จากช่องทางอื่น แต่มีความเชื่อถือในระดับปานกลาง มีความเชื่อถือในภาพลักษณ์องค์กรที่ดีของ ปตท. ในระดับมาก มีการรับรู้ด้านบริหารของ ปตท. ในระดับมาก ด้านผลิตภัณฑ์และบริการในระดับมาก และด้านกิจกรรมต่างๆ ในระดับปานกลาง มีการรับรู้ผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ต่อการสื่อสารของ ปตท. ด้านบวกและด้านลบในระดับปานกลาง
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1. การเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ด้านบริหารและด้านกิจกรรมต่างๆ มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กรของ ปตท. ในระดับสูง (r = .702) และ (r = .611) ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (เป็นไปตามสมมติฐาน) 2. การเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับการรับรู้ในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. ในระดับสูง (r = .681) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (เป็นไปตามสมมติฐาน) 3. ลักษณะประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกัน ไม่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กรและในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. ที่แตกต่างกัน (ไม่เป็นไปตามสมมติฐาน) ยกเว้น “ด้านอาชีพ” ที่เป็นไปตามสมมติฐาน เฉพาะด้านภาพลักษณ์องค์กร 4. เครื่องมือสื่อสังคมออนไลน์ที่แตกต่างกัน ไม่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กรและในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. ที่แตกต่างกัน (ไม่เป็นไปตามสมมติฐาน)
ผลการวิเคราะห์ข่าวในสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. ในเชิงปริมาณ พบว่า ในระยะเวลา 6 เดือน มีประเด็นข่าวจำนวน 5,968 ประเด็น เป็นประเด็นทั่วไป ประเด็นบวก และ ประเด็นลบ ในสัดส่วน 26.44% : 59.22% : 14.34% ตามลำดับ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพทั้งจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และจากการวิเคราะห์ข่าวในสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. พบว่า ส่วนใหญ่มีทัศนคติต่อ ปตท. ในเชิงบวกมากกว่าเชิงลบ
สรุป จากผลการวิจัยโดยรวมของเครื่องมือทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ (1) ผลการวิจัยเชิงปริมาณจากแบบสอบถาม (2) ผลการวิจัยเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และ (3) ผลการวิเคราะห์ข่าวจากสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. ทั้งแบบเชิงปริมาณและแบบเชิงคุณภาพ พบว่า ภาพรวมของสื่อสังคมออนไลน์ ปตท. มีความสัมพันธ์และมีผลกระทบต่อการรับรู้ของลูกค้า ปตท. ในเชิงบวกมากกว่าเชิงลบ ส่วนผลการค้นหาแบบจำลอง (Model) ได้แก่ “3 F and 4 Steps Circle” หรือ กลยุทธ์ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพ และกระบวนการเพิ่มข่าวบวกและลดข่าวลบ ถือเป็นการค้นพบทางวิชาการเพื่อเพิ่มพูนความรู้ (Body of Knowledge) ซึ่งสามารถนำไปใช้กับองค์กรอื่นได้Curricular : BALA/GE/MTEIL/PhDT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27843 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598282 SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2018-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598258 SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2018-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available กระบวนการติดเฮโรอีน / รักซ้อน รัตน์วิจิตต์เวช / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ - 2538
Title : กระบวนการติดเฮโรอีน Original title : The processes of heroin addiction Material Type: printed text Authors: รักซ้อน รัตน์วิจิตต์เวช, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Publication Date: 2538 Pagination: 201 หน้า. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: ปริญญานิพนธ์ (ศศ.ด (พัฒนศึกษาศาสตร์))-- มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2538 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่สังคม
[LCSH]การติดเฮโรอีน
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชนKeywords: เฮโรอีน.
การเสพยา.Class number: WM270 ร711 2538 Abstract: การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการใช้การสัมภาษณ์ระดับลึก รายละเอียดประวัติชีวิตของกลุ่มผู้ติดยาเสพติดเกี่ยวกับประสบการณ์ชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเข้าสู่กระบวนการติดเฮโรอีนและทัศนะของพวกเขาเกี่ยวกับเงื่อนไขที่เกิดขึ้นในชีวิตที่ทำให้เขาเป็นผู้ติดเฮโรอีน กลุ่มตัวอย่างได้จากการเลือกแบบเชิงทฤษฎีจากเยาวชนผู้ติดเฮโรอีนที่มารับบริการบำบัดรักษาที่คลินิคยาเสพติด โดยการถอนพิษยด้วยเมทาโดน เพศชาย อายุระหว่าง 15-25 ปี จำนวนทั้งหมด 32 ราย
ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการติดเฮโรอีนของเยาวชนประกอบด้วยขั้นตอนต่อเนื่องดังนี้
1.ขั้นเริ่มต้นเสพ เงื่อนไขที่ทำให้เยาวชนเข้าสู่ขั้นเริ่มต้นเสพ ได้แก่ เงื่อนไขด้านบุคคล เงื่อนไขด้านเพื่อน เงื่อนไขด้านครอบครัว เงื่อนไขด้านโรงเรียน เงื่อนไขเีกี่ยวกับเฮโรอีน และเงื่อนไขเสพด้วยความไม่รู้
2. ขั้นเสพต่อเนื่อง เงื่อนไขที่ทำให้เยาวชนเมื่อผ่านขั้นเริ่มต้นเสพแล้วมีการเสพต่อเนื่อง ได้แก่ ความรู้สึกเคลิบเคลิ้มสุขสบาย การประเมินความรู้สึกตนเอง การอธิบายเหตุผล การปฎิสังสรรค์กับเพื่อนที่เสพเฮโรอีน การหลีกเลี่ยงกลุ่มอาการเนื่องจากการหยุดยา และติดใจรสชาดของเฮโรอีน
ผลการวิจัยพบว่า มีเงื่อนไขที่ทำให้กระบวนการติดเฮโรอีนถูกชะลอให้ช้าออกไป ได้แก่ การให้ความหมายในเชิงลบ การไม่รู้วิธีเสพที่ถูกต้อง และเงื่อนไขด้านสถานการณ์ที่ไม่เอื้อต่อการเสพเฮโรอีนต่อ
นอกจากนั้น การธำรงการเป็นผู้ติดเฮโรอีนขึ้นอยู่กับการยอมรับและให้นิยามตนเอง เครือข่ายสัมพันธ์ ลักษณะความสัมพันธ์ การถูกประทับตรา และการมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนแบบซ่อนเร้นด้วยการแสดงตัวเหมือนคนอื่น ๆ เป็นต้น
ผลการวิจัยนี้ นำไปสู่ข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การป้องกันและให้การศึกษาเกี่ยวกับการใช้ยาเสพติด การบำบัดรักษา การฟื้นฟูสมรรถภาพ การติดตามผล และการดูแลภายหลังการบำบัดรักษา ผลการวิจัยนี่จะเป็นประโยชน์ต่อพ่อ แม่ ครู อาจารย์ นักเรียน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาเสพติดCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23292 กระบวนการติดเฮโรอีน = The processes of heroin addiction [printed text] / รักซ้อน รัตน์วิจิตต์เวช, Author . - กรุงเทพ ฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2538 . - 201 หน้า. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
ปริญญานิพนธ์ (ศศ.ด (พัฒนศึกษาศาสตร์))-- มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2538
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่สังคม
[LCSH]การติดเฮโรอีน
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชนKeywords: เฮโรอีน.
การเสพยา.Class number: WM270 ร711 2538 Abstract: การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการใช้การสัมภาษณ์ระดับลึก รายละเอียดประวัติชีวิตของกลุ่มผู้ติดยาเสพติดเกี่ยวกับประสบการณ์ชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเข้าสู่กระบวนการติดเฮโรอีนและทัศนะของพวกเขาเกี่ยวกับเงื่อนไขที่เกิดขึ้นในชีวิตที่ทำให้เขาเป็นผู้ติดเฮโรอีน กลุ่มตัวอย่างได้จากการเลือกแบบเชิงทฤษฎีจากเยาวชนผู้ติดเฮโรอีนที่มารับบริการบำบัดรักษาที่คลินิคยาเสพติด โดยการถอนพิษยด้วยเมทาโดน เพศชาย อายุระหว่าง 15-25 ปี จำนวนทั้งหมด 32 ราย
ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการติดเฮโรอีนของเยาวชนประกอบด้วยขั้นตอนต่อเนื่องดังนี้
1.ขั้นเริ่มต้นเสพ เงื่อนไขที่ทำให้เยาวชนเข้าสู่ขั้นเริ่มต้นเสพ ได้แก่ เงื่อนไขด้านบุคคล เงื่อนไขด้านเพื่อน เงื่อนไขด้านครอบครัว เงื่อนไขด้านโรงเรียน เงื่อนไขเีกี่ยวกับเฮโรอีน และเงื่อนไขเสพด้วยความไม่รู้
2. ขั้นเสพต่อเนื่อง เงื่อนไขที่ทำให้เยาวชนเมื่อผ่านขั้นเริ่มต้นเสพแล้วมีการเสพต่อเนื่อง ได้แก่ ความรู้สึกเคลิบเคลิ้มสุขสบาย การประเมินความรู้สึกตนเอง การอธิบายเหตุผล การปฎิสังสรรค์กับเพื่อนที่เสพเฮโรอีน การหลีกเลี่ยงกลุ่มอาการเนื่องจากการหยุดยา และติดใจรสชาดของเฮโรอีน
ผลการวิจัยพบว่า มีเงื่อนไขที่ทำให้กระบวนการติดเฮโรอีนถูกชะลอให้ช้าออกไป ได้แก่ การให้ความหมายในเชิงลบ การไม่รู้วิธีเสพที่ถูกต้อง และเงื่อนไขด้านสถานการณ์ที่ไม่เอื้อต่อการเสพเฮโรอีนต่อ
นอกจากนั้น การธำรงการเป็นผู้ติดเฮโรอีนขึ้นอยู่กับการยอมรับและให้นิยามตนเอง เครือข่ายสัมพันธ์ ลักษณะความสัมพันธ์ การถูกประทับตรา และการมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนแบบซ่อนเร้นด้วยการแสดงตัวเหมือนคนอื่น ๆ เป็นต้น
ผลการวิจัยนี้ นำไปสู่ข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การป้องกันและให้การศึกษาเกี่ยวกับการใช้ยาเสพติด การบำบัดรักษา การฟื้นฟูสมรรถภาพ การติดตามผล และการดูแลภายหลังการบำบัดรักษา ผลการวิจัยนี่จะเป็นประโยชน์ต่อพ่อ แม่ ครู อาจารย์ นักเรียน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาเสพติดCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23292 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357044 THE WM270 ร711 2538 Book Main Library General Shelf Available กลวิธีในการปฎิเสธการมีเพศสัีมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย / ภาภาดา อรุณรัตน์ / 2552
Title : กลวิธีในการปฎิเสธการมีเพศสัีมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย Original title : Ways of adolescent female's refusal having sexual relation based on adolescent male's experiences Material Type: printed text Authors: ภาภาดา อรุณรัตน์, Author Publication Date: 2552 Pagination: 112 แผ่น Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]]-- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การสำรวจพฤติกรรมทางเพศ -- ไทย -- พิจิตร
[LCSH]เพศสัมพันธ์Keywords: เพศสัมพันธ์.
วัยรุ่นหญิง.
วัยรุ่นชาย.Class number: HQ60 ภ676 2552 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยาครั้งนี้ เื่ื่ื่พื่อทำความเข้าใจและอธิบายถึงกลวิธีในการปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย และอธิบายถึงพฤติกรรมของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชายที่ไม่สามารถชักจูงให้มีเพศสัมพันธ์ได้ ผู้ให้ข้อมูลเป็นวัยรุ่นชายที่ำกำลังศึกษาในระดับมัธยมศึก๋ษาตอนปลาย อ. วิชรบารมี จังหวัดพิจิตร อายุระหว่าง 15-18 ปี ที่เคยมีประสบการณ์การมีเพศสัมพันธ์กับวัยรุ่นหญิงมาแล้ว จำนวน 11 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการของโคไลซี่ พบว่า วัยรุ่นชายให้ความหมายของการมีเพศสัมพันธ์ 2 ลักษณะคือ เป็นความสนุกปลดปล่อยอารมณ์ และได้ร่วมเพศโดยไม่ได้เลือกว่าเป็นผู้หญิงที่ีรักหรือไม่รัก โดยมีขั้นตอน 4 ขั้นตอน ตีสนิท ตามจีบ นัดพบ และกระตุ้นรุกเร้าอารมณ์จนสมยอม และกลวิธีปฏิเสธของวัยรุ่นหญิงที่วัยรุ่นชายไม่สามารถชักจูงให้มีเพศสัมพันธ์ได้มี 3 พฤติกรรม คือ เป็นคนโมโหร้ายและแสดงท่าทางรังเกียจ เป็นคนเงียบเฉย และเรียบร้อย และเป็นคนไม่เที่ยวเตรชอบอยู่กับพ่อ และแม่ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23234 กลวิธีในการปฎิเสธการมีเพศสัีมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย = Ways of adolescent female's refusal having sexual relation based on adolescent male's experiences [printed text] / ภาภาดา อรุณรัตน์, Author . - 2552 . - 112 แผ่น : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]]-- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การสำรวจพฤติกรรมทางเพศ -- ไทย -- พิจิตร
[LCSH]เพศสัมพันธ์Keywords: เพศสัมพันธ์.
วัยรุ่นหญิง.
วัยรุ่นชาย.Class number: HQ60 ภ676 2552 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยาครั้งนี้ เื่ื่ื่พื่อทำความเข้าใจและอธิบายถึงกลวิธีในการปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย และอธิบายถึงพฤติกรรมของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชายที่ไม่สามารถชักจูงให้มีเพศสัมพันธ์ได้ ผู้ให้ข้อมูลเป็นวัยรุ่นชายที่ำกำลังศึกษาในระดับมัธยมศึก๋ษาตอนปลาย อ. วิชรบารมี จังหวัดพิจิตร อายุระหว่าง 15-18 ปี ที่เคยมีประสบการณ์การมีเพศสัมพันธ์กับวัยรุ่นหญิงมาแล้ว จำนวน 11 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการของโคไลซี่ พบว่า วัยรุ่นชายให้ความหมายของการมีเพศสัมพันธ์ 2 ลักษณะคือ เป็นความสนุกปลดปล่อยอารมณ์ และได้ร่วมเพศโดยไม่ได้เลือกว่าเป็นผู้หญิงที่ีรักหรือไม่รัก โดยมีขั้นตอน 4 ขั้นตอน ตีสนิท ตามจีบ นัดพบ และกระตุ้นรุกเร้าอารมณ์จนสมยอม และกลวิธีปฏิเสธของวัยรุ่นหญิงที่วัยรุ่นชายไม่สามารถชักจูงให้มีเพศสัมพันธ์ได้มี 3 พฤติกรรม คือ เป็นคนโมโหร้ายและแสดงท่าทางรังเกียจ เป็นคนเงียบเฉย และเรียบร้อย และเป็นคนไม่เที่ยวเตรชอบอยู่กับพ่อ และแม่ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23234 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354801 HQ60 ภ676 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available การจัดบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีอิสลามในคลินิกฝากครรภ์ / สศิกร อุณหบัณฑิต in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/09/2016])
[article]
Title : การจัดบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีอิสลามในคลินิกฝากครรภ์ : โรงพยาบาลชุมชน 3 จังหวัดชายแดนใต้ตามการรับรู้ของหญิงตั้งครรภ์และสามี Original title : Healthcare service based on Islamic way in the antenatal care clinic of community hospitals in the three southermost provinces as perceived by pregnant women and husbands Material Type: printed text Authors: สศิกร อุณหบัณฑิต, Author ; นงนุช บุญยัง, Author ; วิมลรัตน์ จงเจริญ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.13-28 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/09/2016] . - p.13-28Keywords: การจัดบริการสุขภาพ.โรงพยาบาลชุใชน.การรับรู้ของหญิงตั้งครรภ์.การรับรู้ของสามี. Curricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25595 [article] การจัดบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีอิสลามในคลินิกฝากครรภ์ = Healthcare service based on Islamic way in the antenatal care clinic of community hospitals in the three southermost provinces as perceived by pregnant women and husbands : โรงพยาบาลชุมชน 3 จังหวัดชายแดนใต้ตามการรับรู้ของหญิงตั้งครรภ์และสามี [printed text] / สศิกร อุณหบัณฑิต, Author ; นงนุช บุญยัง, Author ; วิมลรัตน์ จงเจริญ, Author . - 2016 . - p.13-28.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/09/2016] . - p.13-28Keywords: การจัดบริการสุขภาพ.โรงพยาบาลชุใชน.การรับรู้ของหญิงตั้งครรภ์.การรับรู้ของสามี. Curricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25595 การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงของพยาบาลไทยตามการรับรู้ของผู้บริหารทางการพยาบาล / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงของพยาบาลไทยตามการรับรู้ของผู้บริหารทางการพยาบาล Original title : Ethical judement in risks of nursing practice among Thai nurses as perceived by nursing administrators Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.194-195 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.194-195Keywords: การตัดสินใจเชิงจริยธรรม.ความเสี่ยงในการปฏิบัติการพยาบาล.การรับรู้ของผู้บริหา่รการพยาบาล. Abstract: เพื่อศึกษาประเด็นจริยธรรมที่เกี่ยวกับความเสี่ยงและการตัดสินใจเชิงจริยธรรมที่เกี่ยวกับความเสี่ยงในการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลตามการรับรู้ของบริหารทางการพยาบาลการออกแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด ผู้บริหารทางการพยาบาลที่เต็มใจเข้าร่วมการศึกษานี้จำนวน 36 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสนทนากลุ่มพร้อมศึกษารายงานการบันทึกกรณีศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะหฺข้อมูลเชิงผลการวิจัย พบว่า ผลจริยธรรมวิชาชีพที่เกี่ยวกับความเสี่ยงที่พยาบาลส่วนใหญ่ปฏิบัติขณะทำงานในบทบาท หน้าที่ พยาบาลตามมุมมองของผู้บริหารทางการพยาบาลมีจำนวน 7 ประเด็น ความสำคัญตามลำดับ คือ ประเด็นจริยธรรมที่มีความเสี่ยงด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1) การให้ข้อมูลการสื่อสาร 2 การประเมินอาการไม่ถูกต้องและไม่ทันเวลา 3การบริหารยาไม่ถูกต้อง 4 การบริการไม่ถูกใจ ล่าช้า และพฤจติกรรมไม่เหมาะสม 5 การส่งต่อล่าช้า 6 การผูกมัด 7 การพลัดตก และพฤติกรรมจริยธรรมที่นำไปใช้ในการปฏิบัติในการพยาบาลที่ใช้ ได้แก่ 1 การบอกความจริง 2 การป้องกันอันตราย 3 พิทักษ์สิทธิผู้ป่วย 4 ความซื่อสัตน์ 5 ความอาทรต่อผู้ป่วย 6 การเป็นอิสระในการตัดสินใจ 7 การเสียสละ 8 การมีพฤติกรรมการบริการและมีใจบริการที่ดัี 9 การดูแลผู้ป่วยอย่างเท่าเทียมและไม่เลือกปฏิบัติ 10 ความรับผิดขอบและ 11 การรักษาความลับจากข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า พยาบาลไทนมีความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพที่มีความเสี่ยงในการปฏิบัติงานและมีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถใช้ข้อมูลจากการศึกษานี้ไปใช้ในการวางแผนการพัฒนาและส่งเสริมให้พยาบาลในการสร้างความเข้าใจในการจัดการเชิงจริยธรรมที่มีความเสี่ยงสูง เพื่อลดปัญหาการปฏิบัติการพยาบาลและส่งเสริมให้พยายาลเข้าใจกระบวนการตัดสินใจที่เหมาะสมต่อไป
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26756 [article] การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงของพยาบาลไทยตามการรับรู้ของผู้บริหารทางการพยาบาล = Ethical judement in risks of nursing practice among Thai nurses as perceived by nursing administrators [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author . - 2017 . - p.194-195.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.194-195Keywords: การตัดสินใจเชิงจริยธรรม.ความเสี่ยงในการปฏิบัติการพยาบาล.การรับรู้ของผู้บริหา่รการพยาบาล. Abstract: เพื่อศึกษาประเด็นจริยธรรมที่เกี่ยวกับความเสี่ยงและการตัดสินใจเชิงจริยธรรมที่เกี่ยวกับความเสี่ยงในการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลตามการรับรู้ของบริหารทางการพยาบาลการออกแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด ผู้บริหารทางการพยาบาลที่เต็มใจเข้าร่วมการศึกษานี้จำนวน 36 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสนทนากลุ่มพร้อมศึกษารายงานการบันทึกกรณีศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะหฺข้อมูลเชิงผลการวิจัย พบว่า ผลจริยธรรมวิชาชีพที่เกี่ยวกับความเสี่ยงที่พยาบาลส่วนใหญ่ปฏิบัติขณะทำงานในบทบาท หน้าที่ พยาบาลตามมุมมองของผู้บริหารทางการพยาบาลมีจำนวน 7 ประเด็น ความสำคัญตามลำดับ คือ ประเด็นจริยธรรมที่มีความเสี่ยงด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1) การให้ข้อมูลการสื่อสาร 2 การประเมินอาการไม่ถูกต้องและไม่ทันเวลา 3การบริหารยาไม่ถูกต้อง 4 การบริการไม่ถูกใจ ล่าช้า และพฤจติกรรมไม่เหมาะสม 5 การส่งต่อล่าช้า 6 การผูกมัด 7 การพลัดตก และพฤติกรรมจริยธรรมที่นำไปใช้ในการปฏิบัติในการพยาบาลที่ใช้ ได้แก่ 1 การบอกความจริง 2 การป้องกันอันตราย 3 พิทักษ์สิทธิผู้ป่วย 4 ความซื่อสัตน์ 5 ความอาทรต่อผู้ป่วย 6 การเป็นอิสระในการตัดสินใจ 7 การเสียสละ 8 การมีพฤติกรรมการบริการและมีใจบริการที่ดัี 9 การดูแลผู้ป่วยอย่างเท่าเทียมและไม่เลือกปฏิบัติ 10 ความรับผิดขอบและ 11 การรักษาความลับจากข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า พยาบาลไทนมีความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพที่มีความเสี่ยงในการปฏิบัติงานและมีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถใช้ข้อมูลจากการศึกษานี้ไปใช้ในการวางแผนการพัฒนาและส่งเสริมให้พยาบาลในการสร้างความเข้าใจในการจัดการเชิงจริยธรรมที่มีความเสี่ยงสูง เพื่อลดปัญหาการปฏิบัติการพยาบาลและส่งเสริมให้พยายาลเข้าใจกระบวนการตัดสินใจที่เหมาะสมต่อไป
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26756 การระบุและจัดลำดับความสำคัญของความต้องการ จำเป็น / พิศมัย อรทัย in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.2 (May-Aug) 2017/2560 ([10/18/2017])
[article]
Title : การระบุและจัดลำดับความสำคัญของความต้องการ จำเป็น : ด้านการจัดการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตร์บัณฑิตตามการรับรู้ของบัณฑิตพยาบาลรามาธิบดี Original title : Identifying and prioritizing educational needs for Bachelor of nursing program as perveived by Ramathobodi nurse graduates Material Type: printed text Authors: พิศมัย อรทัย, Author ; วรรณภา ประไพพาณิช, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.242-256 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.2 (May-Aug) 2017/2560 [10/18/2017] . - p.242-256Keywords: ความต้องการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต.ความจำเป็นด้านการจัดการ.การรับรู้ของบัณฑิตพยาบาลรามาธิบดี.หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต. Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27390 [article] การระบุและจัดลำดับความสำคัญของความต้องการ จำเป็น = Identifying and prioritizing educational needs for Bachelor of nursing program as perveived by Ramathobodi nurse graduates : ด้านการจัดการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตร์บัณฑิตตามการรับรู้ของบัณฑิตพยาบาลรามาธิบดี [printed text] / พิศมัย อรทัย, Author ; วรรณภา ประไพพาณิช, Author . - 2017 . - p.242-256.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาลเพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจ ของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฏิบัติ ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สถาบันพระบรมราชชน / ชุลีพร ปิยสุทธิ์, / กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2539
Title : กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาลเพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจ ของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฏิบัติ ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สถาบันพระบรมราชชน Original title : Teaching activities of nursing instructors to empower nursing students in clinical practice as perceived by nursing students in Nursing Colleges, Praboromarajchanok Institute Material Type: printed text Authors: ชุลีพร ปิยสุทธิ์, (2508-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2539 Pagination: ก-ฏ, 136 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-636-394-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การพยาบาลศึกษา)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การรับรู้
[LCSH]การเสริมสร้างพลังอำนาจ
[LCSH]กิจกรรมการเรียน
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พยาบาล -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พยาบาล -- กิจกรรมการสอน
[LCSH]อาจารย์พยาบาลKeywords: การรับรู้.
อาจารย์พยาบาล.
นักศึกษาพยาบาล.
กิจการการสอน.
กิจกรรมการเรียน.Class number: WY18 ช247 2539 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฎิบัติ ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สถาบันพระบรมราชชนกและเปรียบเทียบการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์ เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาจำแนกตามระดับชั้นปีคะแนนเฉลี่ยสะสม และแบบการเรียนของนักศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 และ 4 จำนวน 618 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบบสอบถามเกี่ยวกับ แบบการเรียนของนักศึกษา และกิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษา ในการฝึกปฏิบัติที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงและความเที่ยงแล้ว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาในการฝึกภาคปฏิบัิติ ด้านการเสริมสร้างความมีอิสระแห่งวิชาชีพอยู่ในระดับสูง ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง
2. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมนร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 สูงกว่าของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิิติที่ระดับ .05
3. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของพยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่แตกต่างกัน
4. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลที่มีแบบการเรียนแตกต่างกัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 โดยที่นักศึกษาที่มีแบบการเรียนแบบอิสระ และแบบมีส่วนร่วม จะรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์ เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาได้สูงกว่านักศึกษาที่มีแบบการเรียนแบบหลีกเลี่ยง และพึ่งพา นักศึกษาที่มีแบบการเรียนแบบร่วมมือ จะรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาได้สูงกว่าที่มีแบบการเรียนแบบหลีกเลี่ยงRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23308 กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาลเพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจ ของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฏิบัติ ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สถาบันพระบรมราชชน = Teaching activities of nursing instructors to empower nursing students in clinical practice as perceived by nursing students in Nursing Colleges, Praboromarajchanok Institute [printed text] / ชุลีพร ปิยสุทธิ์, (2508-), Author . - กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 . - ก-ฏ, 136 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-636-394-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การพยาบาลศึกษา)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การรับรู้
[LCSH]การเสริมสร้างพลังอำนาจ
[LCSH]กิจกรรมการเรียน
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พยาบาล -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พยาบาล -- กิจกรรมการสอน
[LCSH]อาจารย์พยาบาลKeywords: การรับรู้.
อาจารย์พยาบาล.
นักศึกษาพยาบาล.
กิจการการสอน.
กิจกรรมการเรียน.Class number: WY18 ช247 2539 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฎิบัติ ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สถาบันพระบรมราชชนกและเปรียบเทียบการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์ เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาจำแนกตามระดับชั้นปีคะแนนเฉลี่ยสะสม และแบบการเรียนของนักศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 และ 4 จำนวน 618 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบบสอบถามเกี่ยวกับ แบบการเรียนของนักศึกษา และกิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษา ในการฝึกปฏิบัติที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงและความเที่ยงแล้ว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาในการฝึกภาคปฏิบัิติ ด้านการเสริมสร้างความมีอิสระแห่งวิชาชีพอยู่ในระดับสูง ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง
2. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมนร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 สูงกว่าของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิิติที่ระดับ .05
3. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของพยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่แตกต่างกัน
4. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลที่มีแบบการเรียนแตกต่างกัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 โดยที่นักศึกษาที่มีแบบการเรียนแบบอิสระ และแบบมีส่วนร่วม จะรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์ เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาได้สูงกว่านักศึกษาที่มีแบบการเรียนแบบหลีกเลี่ยง และพึ่งพา นักศึกษาที่มีแบบการเรียนแบบร่วมมือ จะรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาได้สูงกว่าที่มีแบบการเรียนแบบหลีกเลี่ยงRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23308 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000384675 THE WY18 ช247 2539 Book Main Library General Shelf Available ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลและพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแล / รัชดา ยิ้มซ้าย in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 ([12/27/2016])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลและพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแล : ผู้ป่วยสมองเสือมที่มีปัญหาพฤติกรรมและจิตใจ Original title : The relationship between perceived caring self efficacy and caring behavior among caregivers of persons with behaviors and psychological of symtoms of dementia Material Type: printed text Authors: รัชดา ยิ้มซ้าย, Author ; ถนอมศรี อินทนนท์, Author ; วินีกาญจน์ คงสุวรรณ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.104--117 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.104--117Keywords: การรับรู้สมรรถนะแห่งตนการดูแล.พฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแลผู้ป่วย.ผู้ป่วยสมองเสื่อม.ปัญหาพฤติกรรมและจิตใจ. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25914 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลและพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแล = The relationship between perceived caring self efficacy and caring behavior among caregivers of persons with behaviors and psychological of symtoms of dementia : ผู้ป่วยสมองเสือมที่มีปัญหาพฤติกรรมและจิตใจ [printed text] / รัชดา ยิ้มซ้าย, Author ; ถนอมศรี อินทนนท์, Author ; วินีกาญจน์ คงสุวรรณ, Author . - 2016 . - p.104--117.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้เหตุการณ์เครียด การสนับสนุนทางสังคม และผลกระทบทางจิตใจหญิงที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([06/20/2016])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้เหตุการณ์เครียด การสนับสนุนทางสังคม และผลกระทบทางจิตใจหญิงที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ Original title : The correlation between perceived stress events social support and the psychological impact of sexuality assaulted women Material Type: printed text Publication Date: 2016 Article on page: p.73-84 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 [06/20/2016] . - p.73-84Keywords: การรับรู้เหตุการณ์เครียด.การสนับสนุนทางสังคม.ผลกระทบทางจิตใจ.หญิงที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ. Abstract:
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25553 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้เหตุการณ์เครียด การสนับสนุนทางสังคม และผลกระทบทางจิตใจหญิงที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ = The correlation between perceived stress events social support and the psychological impact of sexuality assaulted women [printed text] . - 2016 . - p.73-84.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ความสัมพันธ์ระหว่างความหวัง การเห็นคุณค่าในตนเอง กับการรับรู้ด้านจิตวิญญาณของผู้ติดสารเสพติด / นริสา วงศ์พนารักษ์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความหวัง การเห็นคุณค่าในตนเอง กับการรับรู้ด้านจิตวิญญาณของผู้ติดสารเสพติด : ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Original title : Relationships among hope self-esteem and the perceptios of spiritial dimension of peoplo Material Type: printed text Authors: นริสา วงศ์พนารักษ์, Author ; ปานรดา บุญเรือง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.47-54 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.47-54Keywords: การรับรู้ด้านจิตวิญญาณผู้ติดสารเสพติด.การเห็นคุณค่าตนเอง.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. Abstract: มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1)การรับรู้ความหวัง การรับรู้การเห็นคุณค่าในตนเอง และการรับรู้ด้านจิตวิญญาณของผู้ติดสารเสพติด 2) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความหวัง การรับรู้การเห็นคุณค่าในตนเองกับการรับรู้ด้านจิตวิญญาณของผู้ติดสารเสพติด กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ติดสารเสพติด จำนวน 355 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ แบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคล แบบประเมินความหวัง แบบประเมินการเห็นคุณค่าในตนเอง และ แบบสอบถามการรับรู้ด้านจิตวิญญาณของผู้ติดสารเสพติด มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .81 .79 .89 ตามลำดับ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติสหสัมพันธ์แบบเพียรสัน
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้ความหวังในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 36.67 SD =5.54 การรับรู้การเห็นคุณค่าในตนเองในระดับปานกลาง ค่าเฉลีย 30.31 SD =4.48 และการรับรู้ด้านจิตวิญญาณในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 80.90 SD =10.44 และพบว่าการรับรู้ความหวัง การรับรู้การเห็นคุณค่าในตนเองสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำกับการรับรู้ด้านจิตวิญญาณอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ r=36 และ r=34 ตามลำดับ ที่ระดับ .05
ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ ทีมสุขภาพี่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้ติดสารเสพติด ควรตระหนักและให้ความสำคัญในตนเอง ซึ่งส่งผลต่อการรับรู้ด้านจิตวิญญาณ อันเป็นมิติด้านสุขภาพมิติหนึ่ีงที่สำคัญของการดูแลผู้ติดสารเสพติดแบบองค์รวมLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27212 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างความหวัง การเห็นคุณค่าในตนเอง กับการรับรู้ด้านจิตวิญญาณของผู้ติดสารเสพติด = Relationships among hope self-esteem and the perceptios of spiritial dimension of peoplo : ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ [printed text] / นริสา วงศ์พนารักษ์, Author ; ปานรดา บุญเรือง, Author . - 2017 . - p.47-54.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.47-54Keywords: การรับรู้ด้านจิตวิญญาณผู้ติดสารเสพติด.การเห็นคุณค่าตนเอง.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. Abstract: มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1)การรับรู้ความหวัง การรับรู้การเห็นคุณค่าในตนเอง และการรับรู้ด้านจิตวิญญาณของผู้ติดสารเสพติด 2) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความหวัง การรับรู้การเห็นคุณค่าในตนเองกับการรับรู้ด้านจิตวิญญาณของผู้ติดสารเสพติด กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ติดสารเสพติด จำนวน 355 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ แบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคล แบบประเมินความหวัง แบบประเมินการเห็นคุณค่าในตนเอง และ แบบสอบถามการรับรู้ด้านจิตวิญญาณของผู้ติดสารเสพติด มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .81 .79 .89 ตามลำดับ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติสหสัมพันธ์แบบเพียรสัน
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้ความหวังในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 36.67 SD =5.54 การรับรู้การเห็นคุณค่าในตนเองในระดับปานกลาง ค่าเฉลีย 30.31 SD =4.48 และการรับรู้ด้านจิตวิญญาณในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 80.90 SD =10.44 และพบว่าการรับรู้ความหวัง การรับรู้การเห็นคุณค่าในตนเองสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำกับการรับรู้ด้านจิตวิญญาณอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ r=36 และ r=34 ตามลำดับ ที่ระดับ .05
ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ ทีมสุขภาพี่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้ติดสารเสพติด ควรตระหนักและให้ความสำคัญในตนเอง ซึ่งส่งผลต่อการรับรู้ด้านจิตวิญญาณ อันเป็นมิติด้านสุขภาพมิติหนึ่ีงที่สำคัญของการดูแลผู้ติดสารเสพติดแบบองค์รวมLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27212 ปัจจัยคัดสรรในการทำนายภาวะสุขภาพของผูู้ที่มีอาการโรคเข่าเสื่อม / สุภาพ อารีเอื้อ in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/09/2016])
[article]
Title : ปัจจัยคัดสรรในการทำนายภาวะสุขภาพของผูู้ที่มีอาการโรคเข่าเสื่อม Original title : Selected factors predicting health status among persons with knee osteoarthitis Material Type: printed text Authors: สุภาพ อารีเอื้อ, Author ; สมหมาย วนะวนานต์, Author ; อินทิรา รูปสว่าง, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.28-46 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/09/2016] . - p.28-46Keywords: โรคเข่าเสื่อม.การรับรู้มโนภาพความเจ็บป่วย.ภาวะสุขภาพ. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25596 [article] ปัจจัยคัดสรรในการทำนายภาวะสุขภาพของผูู้ที่มีอาการโรคเข่าเสื่อม = Selected factors predicting health status among persons with knee osteoarthitis [printed text] / สุภาพ อารีเอื้อ, Author ; สมหมาย วนะวนานต์, Author ; อินทิรา รูปสว่าง, Author . - 2016 . - p.28-46.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)