From this page you can:
Home |
Search results
13 result(s) search for keyword(s) 'การรับรู้ของพนักงาน, การยอมรับของพนักงาน, การบริหารงาน, ผู้จัดการชาวไทย'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU THE-T. การรับรู้ของพนักงานที่มีต่อรูปแบบการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทย / สาลินี ชัยวัฒนพร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การรับรู้ของพนักงานที่มีต่อรูปแบบการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทย Original title : Perceptions of Employees towards Thai Manager’s Management Style Material Type: printed text Authors: สาลินี ชัยวัฒนพร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xvi, 344 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ -- การจัดการ
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงานKeywords: การรับรู้ของพนักงาน,
การยอมรับของพนักงาน,
การบริหารงาน,
ผู้จัดการชาวไทยAbstract: งานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาการรับรู้ของพนักงานเกี่ยวกับรูปแบบของของผู้จัดการชาวไทย โดยมี
กลุ่มตัวอย่าง 800 คน และศึกษาผู้ที่สาเร็จปริญญาตรีและประกอบอาชีพในหน่วยงานภาครัฐและ
ภาคส่วนเอกชน อย่างละ 400 คน ซึ่งแบบสอบถามได้ถูกพัฒนามาจากแนวคิด 5 มิติทางวัฒนธรรมของ ฮอฟสตีท (Hofstede) และได้ไปพัฒนาต่อเนื่องและถูกใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง งานวิจัยนี้ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม และทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยใช้สถิติเชิงอนุมาณในการหาค่า t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ในส่วนงานราชการมีการรับรู้การบริหารของผู้จัดการชาวไทยรับรู้ว่า
หัวหน้างานมักหลีกเลี่ยงความเสี่ยงเป็นอันดับแรก (มิติการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รองลงมาคือการตั้งเป้าหมายในระยะยาว (มิติเป้าหมายระยะยาว) การรักษาระยะห่างจากลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) แบ่งแยกความสาคัญระหว่างผู้ชายกับผู้หญิง (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) และมีความนิยมเป็นหมู่เหล่าค่อนข้างมาก (ปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) ตามลาดับ ส่วนการยอมรับการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยของพนักงานในส่วนงานราชการพบว่าให้ความสาคัญเกี่ยวกับลักษณะผู้นาของผู้บริหารเป็นอันดับแรก ถัดมาคือความพึงพอใจในการทางาน ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการให้คุณให้โทษ การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ระบบการประเมินผล ตามลาดับ
นอกจากนี้ ผลการวิจัยในส่วนงานเอกชนมีการรับรู้ของพนักงานที่แตกต่างกัน โดยรับรู้ว่า
ผู้จัดการชาวไทยให้ความสาคัญกับการมีเป้าหมายในระยะยาวมากที่สุด รองลงมาคือการหลีกเลี่ยง
ความเสี่ยง (มิติหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รักษาระยะห่างระหว่างตนเองกับลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) มีความรักพวกพ้อง (มิติปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) และเห็นว่าผู้หญิงมีความสาคัญเท่าเทียมกับผู้ชาย (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) ตามลาดับ นอกจากนั้นผลการวิจัยยังแสดงให้เห็นว่าพนักงานชาวไทยทั้งภาครัฐและเอกชนส่วนใหญ่ การยอมรับการทางานภายใต้การบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยว่ามีความพึงพอใจในการทางานเป็นอันดับแรก รองลงมาเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ลักษณะของผู้นาของผู้บริหาร ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการประเมินผลงาน และระบบการให้คุณให้โทษ ตามลาดับCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26777 SIU THE-T. การรับรู้ของพนักงานที่มีต่อรูปแบบการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทย = Perceptions of Employees towards Thai Manager’s Management Style [printed text] / สาลินี ชัยวัฒนพร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xvi, 344 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ -- การจัดการ
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงานKeywords: การรับรู้ของพนักงาน,
การยอมรับของพนักงาน,
การบริหารงาน,
ผู้จัดการชาวไทยAbstract: งานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาการรับรู้ของพนักงานเกี่ยวกับรูปแบบของของผู้จัดการชาวไทย โดยมี
กลุ่มตัวอย่าง 800 คน และศึกษาผู้ที่สาเร็จปริญญาตรีและประกอบอาชีพในหน่วยงานภาครัฐและ
ภาคส่วนเอกชน อย่างละ 400 คน ซึ่งแบบสอบถามได้ถูกพัฒนามาจากแนวคิด 5 มิติทางวัฒนธรรมของ ฮอฟสตีท (Hofstede) และได้ไปพัฒนาต่อเนื่องและถูกใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง งานวิจัยนี้ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม และทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยใช้สถิติเชิงอนุมาณในการหาค่า t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ในส่วนงานราชการมีการรับรู้การบริหารของผู้จัดการชาวไทยรับรู้ว่า
หัวหน้างานมักหลีกเลี่ยงความเสี่ยงเป็นอันดับแรก (มิติการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รองลงมาคือการตั้งเป้าหมายในระยะยาว (มิติเป้าหมายระยะยาว) การรักษาระยะห่างจากลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) แบ่งแยกความสาคัญระหว่างผู้ชายกับผู้หญิง (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) และมีความนิยมเป็นหมู่เหล่าค่อนข้างมาก (ปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) ตามลาดับ ส่วนการยอมรับการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยของพนักงานในส่วนงานราชการพบว่าให้ความสาคัญเกี่ยวกับลักษณะผู้นาของผู้บริหารเป็นอันดับแรก ถัดมาคือความพึงพอใจในการทางาน ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการให้คุณให้โทษ การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ระบบการประเมินผล ตามลาดับ
นอกจากนี้ ผลการวิจัยในส่วนงานเอกชนมีการรับรู้ของพนักงานที่แตกต่างกัน โดยรับรู้ว่า
ผู้จัดการชาวไทยให้ความสาคัญกับการมีเป้าหมายในระยะยาวมากที่สุด รองลงมาคือการหลีกเลี่ยง
ความเสี่ยง (มิติหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รักษาระยะห่างระหว่างตนเองกับลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) มีความรักพวกพ้อง (มิติปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) และเห็นว่าผู้หญิงมีความสาคัญเท่าเทียมกับผู้ชาย (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) ตามลาดับ นอกจากนั้นผลการวิจัยยังแสดงให้เห็นว่าพนักงานชาวไทยทั้งภาครัฐและเอกชนส่วนใหญ่ การยอมรับการทางานภายใต้การบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยว่ามีความพึงพอใจในการทางานเป็นอันดับแรก รองลงมาเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ลักษณะของผู้นาของผู้บริหาร ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการประเมินผลงาน และระบบการให้คุณให้โทษ ตามลาดับCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26777 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593390 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593424 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การนำนโยบายด้านความมั่นคงของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ / ดารัณ จุนสมุทร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2021
Collection Title: SIU THE-T Title : การนำนโยบายด้านความมั่นคงของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ Original title : Implementation of Security Policies of Special Branch Bureau, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ดารัณ จุนสมุทร, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2021 Pagination: ix, 183 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ความมั่นคง -- ไทยKeywords: ความมั่นคง, การนำนโยบายไปปฏิบัติ, การบริหารงาน, ตำรวจสันติบาล Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 3) เพื่อเสนอแนวทางในการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จากผู้บริหารกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 11 คน โดยใช้การวิเคราะห์แบบการจำแนกชนิดของข้อมูล (2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) การใช้ข้อมูลแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างจากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 400 คน โดยใช้สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า สภาพการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการบริหารงานมี 3 ด้าน บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายคือ ประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพตามแผนปฏิบัติราชการและการพัฒนาองค์กร ส่วนคุณภาพการให้บริการไม่บรรลุผลสำเร็จ และแนวทางในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ผู้นำยุคใหม่ต้องปรับตัวให้เท่าทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป อาศัยความร่วมมือของผู้ตามที่สอดคล้องกับแรงจูงใจ ด้วยการเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมในการคิด วางแผนและการตัดสินใจ ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่า ปัจจัยเชิงนโยบาย ด้านภาวะผู้นำ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.46, S.D. = 0.72) และการบริหารงานที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการพัฒนาองค์กร มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.24, S.D. = 0.73)
ข้อเสนอแนะ ควรมีงบประมาณที่เพียงพอด้านคุณภาพการให้บริการ ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใสCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28403 SIU THE-T. การนำนโยบายด้านความมั่นคงของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ = Implementation of Security Policies of Special Branch Bureau, Royal Thai Police [printed text] / ดารัณ จุนสมุทร, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021 . - ix, 183 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ความมั่นคง -- ไทยKeywords: ความมั่นคง, การนำนโยบายไปปฏิบัติ, การบริหารงาน, ตำรวจสันติบาล Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 3) เพื่อเสนอแนวทางในการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จากผู้บริหารกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 11 คน โดยใช้การวิเคราะห์แบบการจำแนกชนิดของข้อมูล (2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) การใช้ข้อมูลแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างจากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 400 คน โดยใช้สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า สภาพการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการบริหารงานมี 3 ด้าน บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายคือ ประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพตามแผนปฏิบัติราชการและการพัฒนาองค์กร ส่วนคุณภาพการให้บริการไม่บรรลุผลสำเร็จ และแนวทางในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ผู้นำยุคใหม่ต้องปรับตัวให้เท่าทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป อาศัยความร่วมมือของผู้ตามที่สอดคล้องกับแรงจูงใจ ด้วยการเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมในการคิด วางแผนและการตัดสินใจ ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่า ปัจจัยเชิงนโยบาย ด้านภาวะผู้นำ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.46, S.D. = 0.72) และการบริหารงานที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการพัฒนาองค์กร มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.24, S.D. = 0.73)
ข้อเสนอแนะ ควรมีงบประมาณที่เพียงพอด้านคุณภาพการให้บริการ ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใสCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28403 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607834 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02 c.1 Thesis Main Library Thesis Corner Available 32002000607886 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02 c.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง / ณัฐชัย อินทราย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง Original title : Quality Management of Local Government Administrators in Lampang Province Material Type: printed text Authors: ณัฐชัย อินทราย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: vii, 122 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหาร -- ลำปาง Keywords: การบริหารงานคุณภาพ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะของผู้บริการ พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง (2) อิทธิพลของคุณลักษณะผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง และ (3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรในการศึกษาวิจัย คือ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง ที่ปฏิบัติงานอยู่ในปี พ.ศ. 2561 สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง จำนวน 103 แห่ง รวมทั้งสิ้น 6,668 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ความคลาดเคลื่อน 5% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 416 คน (2) การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้เลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง เพื่อทำการสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณลักษณะของผู้บริหาร พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
อยู่ในระดับมาก ระดับปานกลาง และระดับปานกลาง ตามลำดับ 2) คุณลักษณะของผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารมีอิทธิพลทางบวกต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 3) ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง คือ ด้านทิศทางและการกำหนดนโยบาย ด้านการจัดการ
ด้านการเงินและงบประมาณ ด้านการจัดการเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง ด้านการติดตามและควบคุมงาน และด้านการประเมินและการจัดทำรายงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27948 SIU THE-T. การบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง = Quality Management of Local Government Administrators in Lampang Province [printed text] / ณัฐชัย อินทราย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - vii, 122 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหาร -- ลำปาง Keywords: การบริหารงานคุณภาพ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะของผู้บริการ พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง (2) อิทธิพลของคุณลักษณะผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง และ (3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรในการศึกษาวิจัย คือ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง ที่ปฏิบัติงานอยู่ในปี พ.ศ. 2561 สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง จำนวน 103 แห่ง รวมทั้งสิ้น 6,668 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ความคลาดเคลื่อน 5% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 416 คน (2) การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้เลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง เพื่อทำการสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณลักษณะของผู้บริหาร พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
อยู่ในระดับมาก ระดับปานกลาง และระดับปานกลาง ตามลำดับ 2) คุณลักษณะของผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารมีอิทธิพลทางบวกต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 3) ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง คือ ด้านทิศทางและการกำหนดนโยบาย ด้านการจัดการ
ด้านการเงินและงบประมาณ ด้านการจัดการเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง ด้านการติดตามและควบคุมงาน และด้านการประเมินและการจัดทำรายงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27948 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607970 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607968 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 / วิศิษฎ์ แดนโพธิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 Original title : Police Administration in Prevention and Suppression of Human Trafficking of Provincial Police Region 5 Material Type: printed text Authors: วิศิษฎ์ แดนโพธิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: ix, 137 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันและควบคุม -- วิจัย
[LCSH]การบริหารงานตำรวจKeywords: การบริหารงานตำรวจ,
การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษ (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (4) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การที่มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) ประชาการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 จำนวน 16,234 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน และ (2) ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 รวม 16 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกอง บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.39, SD = 0.49) (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับมาก ( = 3.79, SD = 0.50) (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.19, SD = 0.48) (4) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การ มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้ร้อยละ 53.6 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้แก่ 1) การขาดแคลนงบประมาณและกำลังพลที่ไม่เพียงพอ 2) เจ้าหน้าที่ตำรวจขาดความรู้ ความเข้าใจในข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์
3) ขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงและขาดการประสานงานหรือความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ และ 4) ปัญหาในการสื่อสารโดยใช้ภาษาสากลเนื่องจากการค้ามนุษย์มักจะเป็นการกระทำความผิดเกี่ยวเนื่องระหว่างประเทศCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27941 SIU THE-T. การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 = Police Administration in Prevention and Suppression of Human Trafficking of Provincial Police Region 5 [printed text] / วิศิษฎ์ แดนโพธิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - ix, 137 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันและควบคุม -- วิจัย
[LCSH]การบริหารงานตำรวจKeywords: การบริหารงานตำรวจ,
การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษ (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (4) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การที่มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) ประชาการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 จำนวน 16,234 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน และ (2) ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 รวม 16 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกอง บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.39, SD = 0.49) (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับมาก ( = 3.79, SD = 0.50) (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.19, SD = 0.48) (4) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การ มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้ร้อยละ 53.6 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้แก่ 1) การขาดแคลนงบประมาณและกำลังพลที่ไม่เพียงพอ 2) เจ้าหน้าที่ตำรวจขาดความรู้ ความเข้าใจในข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์
3) ขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงและขาดการประสานงานหรือความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ และ 4) ปัญหาในการสื่อสารโดยใช้ภาษาสากลเนื่องจากการค้ามนุษย์มักจะเป็นการกระทำความผิดเกี่ยวเนื่องระหว่างประเทศCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27941 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607994 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชนในการบริหารงานของ องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง / ณรงค์ศักดิ์ ม่วงแก้ว / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชนในการบริหารงานของ องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง Original title : Participation of Community Leaders in Yang Porn Sub-District Local Administrative Organization’s Management, Pluakdaeng District, Rayong Province Material Type: printed text Authors: ณรงค์ศักดิ์ ม่วงแก้ว, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vi, 59 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-33
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วม
[LCSH]ผู้นำชุมชน -- ระยอง -- มาบยางพร
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหารKeywords: การมีส่วนร่วม,
การบริหารงาน,
ท้องถิ่น,
ผู้นำชุมชนAbstract: การค้นคว้าอิสระงานนี้จึงต้องศึกษาการมีส่วนร่วม โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบล และปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพรใช้แบบสัมภาษณ์โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ผู้นำชุมชนในพื้นที่ตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง จำนวน 5 คน
ผลการศึกษาวิจัย พบว่า ผู้นำชุมชนให้ความสำคัญอย่างมากกับการมีส่วนร่วมในการบริหารงานอันจะเกิดประโยชน์สูงสุดกับการพัฒนาท้องถิ่น เช่น การจัดประชุมประชาคมหมู่บ้าน การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ส่วนปัจจัยที่มีผลกระทบ พบว่า การเอาใจใส่จริงจัง การประสานงาน การให้คำปรึกษา การวางตัวเป็นแบบอย่างที่ดี ทุกเรื่องส่งผลทำให้เกิดประสิทธิภาพประสิทธิผลในการพัฒนาท้องถิ่น ส่วนปัญหาอุปสรรค พบว่า ปัญหาเกิดจากการแจ้งข้อมูลข่าวสารให้ทราบช้า ทำให้ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมการทำงานของ องค์การบริหารส่วนตำบล ความร่วมมือของการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนของหมู่บ้านบางครั้งมีความล่าช้าขาดการปรึกษาหารือโดยความพร้อมเพียงกัน ข้อเสนอแนะผู้บริหารควรให้ความสำคัญกับผู้นำชุมชนมากกว่านี้เพื่อเกิดความร่วมมือในการทำงานพัฒนาท้องถิ่นCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26652 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชนในการบริหารงานของ องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง = Participation of Community Leaders in Yang Porn Sub-District Local Administrative Organization’s Management, Pluakdaeng District, Rayong Province [printed text] / ณรงค์ศักดิ์ ม่วงแก้ว, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vi, 59 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-33
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วม
[LCSH]ผู้นำชุมชน -- ระยอง -- มาบยางพร
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหารKeywords: การมีส่วนร่วม,
การบริหารงาน,
ท้องถิ่น,
ผู้นำชุมชนAbstract: การค้นคว้าอิสระงานนี้จึงต้องศึกษาการมีส่วนร่วม โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบล และปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพรใช้แบบสัมภาษณ์โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ผู้นำชุมชนในพื้นที่ตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง จำนวน 5 คน
ผลการศึกษาวิจัย พบว่า ผู้นำชุมชนให้ความสำคัญอย่างมากกับการมีส่วนร่วมในการบริหารงานอันจะเกิดประโยชน์สูงสุดกับการพัฒนาท้องถิ่น เช่น การจัดประชุมประชาคมหมู่บ้าน การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ส่วนปัจจัยที่มีผลกระทบ พบว่า การเอาใจใส่จริงจัง การประสานงาน การให้คำปรึกษา การวางตัวเป็นแบบอย่างที่ดี ทุกเรื่องส่งผลทำให้เกิดประสิทธิภาพประสิทธิผลในการพัฒนาท้องถิ่น ส่วนปัญหาอุปสรรค พบว่า ปัญหาเกิดจากการแจ้งข้อมูลข่าวสารให้ทราบช้า ทำให้ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมการทำงานของ องค์การบริหารส่วนตำบล ความร่วมมือของการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนของหมู่บ้านบางครั้งมีความล่าช้าขาดการปรึกษาหารือโดยความพร้อมเพียงกัน ข้อเสนอแนะผู้บริหารควรให้ความสำคัญกับผู้นำชุมชนมากกว่านี้เพื่อเกิดความร่วมมือในการทำงานพัฒนาท้องถิ่นCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26652 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592996 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-33 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592970 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-33 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การศึกษาการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด / จันทนา ฝ่ายกระโทก / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด Original title : The Study of Management with Good Governance in the Cooperative Border Patrol Police Limited Material Type: printed text Authors: จันทนา ฝ่ายกระโทก, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 99 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-01
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]สหกรณ์ออมทรัพย์Keywords: การบริหารงาน,
หลักธรรมาภิบาล,
สหกรณ์ออมทรัพย์Abstract: การศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด ที่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารงานให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เป็นข้าราชการตำรวจตระเวนชายแดนที่เป็นสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด จำนวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพส่วนบุคคล สิ่งสนับสนุนการบริหารงานเพื่อให้การบริหารงานเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทำการทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ ที่ระดับ .05 โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 215 คน คิดเป็นร้อยละ 71.70 โดยมีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 29.30 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 36.30 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 – 25,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 28.30 มีประสบการณ์ในการทำงาน 21 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 43.70 มีส่วนร่วมตัดสินใจ คิดเป็นร้อยละ 36.00 มีความเห็นว่างบประมาณมีความเหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 81.30 และมีการรับรู้ข่าวสารทางหนังสือ คิดเป็นร้อยละ 35.00 สมาชิกมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณธรรม ด้านนิติธรรม ด้านความโปร่งใส ด้านความรับผิดชอบ ด้านการมีส่วนร่วม และ ด้านความคุ้มค่า ซึ่งเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลตามหลักพื้นฐานธรรมาภิบาลของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมที่ดี พ.ศ.2542 Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26722 SIU IS-T. การศึกษาการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด = The Study of Management with Good Governance in the Cooperative Border Patrol Police Limited [printed text] / จันทนา ฝ่ายกระโทก, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 99 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-01
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]สหกรณ์ออมทรัพย์Keywords: การบริหารงาน,
หลักธรรมาภิบาล,
สหกรณ์ออมทรัพย์Abstract: การศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด ที่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารงานให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เป็นข้าราชการตำรวจตระเวนชายแดนที่เป็นสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด จำนวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพส่วนบุคคล สิ่งสนับสนุนการบริหารงานเพื่อให้การบริหารงานเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทำการทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ ที่ระดับ .05 โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 215 คน คิดเป็นร้อยละ 71.70 โดยมีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 29.30 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 36.30 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 – 25,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 28.30 มีประสบการณ์ในการทำงาน 21 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 43.70 มีส่วนร่วมตัดสินใจ คิดเป็นร้อยละ 36.00 มีความเห็นว่างบประมาณมีความเหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 81.30 และมีการรับรู้ข่าวสารทางหนังสือ คิดเป็นร้อยละ 35.00 สมาชิกมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณธรรม ด้านนิติธรรม ด้านความโปร่งใส ด้านความรับผิดชอบ ด้านการมีส่วนร่วม และ ด้านความคุ้มค่า ซึ่งเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลตามหลักพื้นฐานธรรมาภิบาลของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมที่ดี พ.ศ.2542 Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26722 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593275 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593283 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-01 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. บทบาทหน้าที่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง / รัฐพล ไชยธรรม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : บทบาทหน้าที่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง Original title : Roles and Duties of Sub-District Local Administrative Organization’s Member in Management of Map Yang Porn Sub-District Local Administrative Organization Administration of, Plaukdang District, Rayong Province Material Type: printed text Authors: รัฐพล ไชยธรรม, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vi, 68 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหาร
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- บทบาท
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ระยอง -- มาบยางพรKeywords: การบริหารงาน,
บทบาท,
สมาชิก,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การค้นคว้าอิสระงานนี้จึงศึกษาบทบาทหน้าที่ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร โดยเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากเจ้าหน้าที่จำนวน 7 คน จากนั้นนำมาทำการวิเคราะห์ทางสถิติใช้สถิติเชิงพรรณา และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 41 - 50 ปี จบการศึกษามัธยมศึกษา มีระยะเวลาการปฏิบัติงาน 7-10 ปี สำหรับบทบาทหน้าที่โดยภาพรวม พบว่า ให้ความเห็นชอบตามแผนพัฒนาตำบล เมื่อมีการพิจารณาร่างข้อบัญญัติตำบลยึดหลักตามสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชน มีการทักท้วงให้ข้อเสนอแนะ ในเรื่องปัญหาอุปสรรคการปฏิบัติงานด้านแผนพัฒนาตำบล ข้อบัญญัติตำบล นอกจากนี้พบว่าการทำงานที่ล่าช้าไม่ทันความต้องการของประชาชน ในการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ผู้ตอบแบบสอบถามจะคอยเสนอแนะในการประชุมของผู้บริหาร ให้ข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล คือ ต้องประชาสัมพันธ์ พบปะประชาชน เสียสละ เสนอแผนงานโครงการตามนโยบายของการCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26653 SIU IS-T. บทบาทหน้าที่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง = Roles and Duties of Sub-District Local Administrative Organization’s Member in Management of Map Yang Porn Sub-District Local Administrative Organization Administration of, Plaukdang District, Rayong Province [printed text] / รัฐพล ไชยธรรม, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vi, 68 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหาร
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- บทบาท
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ระยอง -- มาบยางพรKeywords: การบริหารงาน,
บทบาท,
สมาชิก,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การค้นคว้าอิสระงานนี้จึงศึกษาบทบาทหน้าที่ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร โดยเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากเจ้าหน้าที่จำนวน 7 คน จากนั้นนำมาทำการวิเคราะห์ทางสถิติใช้สถิติเชิงพรรณา และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 41 - 50 ปี จบการศึกษามัธยมศึกษา มีระยะเวลาการปฏิบัติงาน 7-10 ปี สำหรับบทบาทหน้าที่โดยภาพรวม พบว่า ให้ความเห็นชอบตามแผนพัฒนาตำบล เมื่อมีการพิจารณาร่างข้อบัญญัติตำบลยึดหลักตามสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชน มีการทักท้วงให้ข้อเสนอแนะ ในเรื่องปัญหาอุปสรรคการปฏิบัติงานด้านแผนพัฒนาตำบล ข้อบัญญัติตำบล นอกจากนี้พบว่าการทำงานที่ล่าช้าไม่ทันความต้องการของประชาชน ในการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ผู้ตอบแบบสอบถามจะคอยเสนอแนะในการประชุมของผู้บริหาร ให้ข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล คือ ต้องประชาสัมพันธ์ พบปะประชาชน เสียสละ เสนอแผนงานโครงการตามนโยบายของการCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26653 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593010 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593028 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available Competency-based Approach / นิสดารก์ เวชยานนท์ / กรุงเทพ : บริษัท กราฟิโก ซิสเต็มส์ - 2549
Title : Competency-based Approach Material Type: printed text Authors: นิสดารก์ เวชยานนท์ Publisher: กรุงเทพ : บริษัท กราฟิโก ซิสเต็มส์ Publication Date: 2549 Pagination: 338 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 21 cm. ISBN (or other code): 974-231-680-5 Price: 350.00 Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล Keywords: การบริหารงานบุคคล Class number: HF5549 Abstract: Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22776 Competency-based Approach [printed text] / นิสดารก์ เวชยานนท์ . - กรุงเทพ : บริษัท กราฟิโก ซิสเต็มส์, 2549 . - 338 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 cm.
ISBN : 974-231-680-5 : 350.00
Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล Keywords: การบริหารงานบุคคล Class number: HF5549 Abstract: Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22776 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000369957 HF5549 น693 2554 Book Main Library General Shelf Available การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ = / ไฮเซอร์ เจย์ / กรุงเทพฯ : เพียร์สันเอ็ดดูเคชั่นอินโดไชน่า - 2553
Title : การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ = : Operations management / Material Type: printed text Authors: ไฮเซอร์ เจย์ ; Heizer Jay ; Render Barry ; เรนเดอร์ เบร์รี่ ; จินตนัย ไพรสณฑ์ ; จักรินทร์ ศุขหมอก Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 6, new ed. Publisher: กรุงเทพฯ : เพียร์สันเอ็ดดูเคชั่นอินโดไชน่า Publication Date: 2553 Pagination: x, 358 หน้า Layout: ภาพประกอบ ISBN (or other code): 978-974-7513-38-7 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การควบคุมสินค้าคงคลัง
[LCSH]การจัดการผลิตภัณฑ์
[LCSH]การบริหารงานผลิต
[LCSH]การบริหารงานผลิต -- การศึกษากรณีเฉพาะ
[LCSH]การบริหารงานโลจิสติกส์
[LCSH]ผลิตภัณฑ์ใหม่
[LCSH]สินค้าคงคลังKeywords: การบริหารงานผลิต Class number: TS155 Abstract: Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22792 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ = : Operations management / [printed text] / ไฮเซอร์ เจย์ ; Heizer Jay ; Render Barry ; เรนเดอร์ เบร์รี่ ; จินตนัย ไพรสณฑ์ ; จักรินทร์ ศุขหมอก . - พิมพ์ครั้งที่ 6, new ed. . - กรุงเทพฯ : เพียร์สันเอ็ดดูเคชั่นอินโดไชน่า, 2553 . - x, 358 หน้า : ภาพประกอบ.
ISBN : 978-974-7513-38-7
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การควบคุมสินค้าคงคลัง
[LCSH]การจัดการผลิตภัณฑ์
[LCSH]การบริหารงานผลิต
[LCSH]การบริหารงานผลิต -- การศึกษากรณีเฉพาะ
[LCSH]การบริหารงานโลจิสติกส์
[LCSH]ผลิตภัณฑ์ใหม่
[LCSH]สินค้าคงคลังKeywords: การบริหารงานผลิต Class number: TS155 Abstract: Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22792 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000382299 TS155 ฮ972 2553 Book Main Library General Shelf Available การประยุกต์ใช้โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน = / ธนิต โสรัตน์ / กรุงเทพฯ : ประชุมทองพริ้นติ้งกรุ๊ป - 2550
Title : การประยุกต์ใช้โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน = : How to apply logistics and supply chain / Material Type: printed text Authors: ธนิต โสรัตน์ Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: กรุงเทพฯ : ประชุมทองพริ้นติ้งกรุ๊ป Publication Date: 2550 Pagination: A-BB, 342 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 23 cm. ISBN (or other code): 978-974-8290-15-7 Price: 290.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการคลังสินค้า
[LCSH]การบริหารงานโลจิสติกส์Keywords: การบริหารงานโลจิสติกส์ Class number: HD38.5 Abstract: Curricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=20684 การประยุกต์ใช้โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน = : How to apply logistics and supply chain / [printed text] / ธนิต โสรัตน์ . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - กรุงเทพฯ : ประชุมทองพริ้นติ้งกรุ๊ป, 2550 . - A-BB, 342 หน้า : ภาพประกอบ ; 23 cm.
ISBN : 978-974-8290-15-7 : 290.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการคลังสินค้า
[LCSH]การบริหารงานโลจิสติกส์Keywords: การบริหารงานโลจิสติกส์ Class number: HD38.5 Abstract: Curricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=20684 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000323129 HD38.5 ธ262 2550 Book Graduate Library General Shelf Available บทความวิชาการมิติใหม่ในการบริหารทุนมนุษย์ / นิสดารก์ เวชยานนท์ / กรุงเทพ : บริษัท กราฟิโก ซิสเต็มส์ - 2551
Title : บทความวิชาการมิติใหม่ในการบริหารทุนมนุษย์ Original title : = HPO (high performance organization) HPWS (high performance work system) managing talent Material Type: printed text Authors: นิสดารก์ เวชยานนท์, Author Publisher: กรุงเทพ : บริษัท กราฟิโก ซิสเต็มส์ Publication Date: 2551 Pagination: 308 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-974-231-767-6 Price: บริจาค. (350.00) Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหาร
[LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ประสิทธิผลองค์กรKeywords: การบริหารงานบุคคล
ทรัพยากรมนุษย์.Curricular : BALA/BBA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23081 บทความวิชาการมิติใหม่ในการบริหารทุนมนุษย์ = = HPO (high performance organization) HPWS (high performance work system) managing talent [printed text] / นิสดารก์ เวชยานนท์, Author . - กรุงเทพ : บริษัท กราฟิโก ซิสเต็มส์, 2551 . - 308 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
ISBN : 978-974-231-767-6 : บริจาค. (350.00)
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหาร
[LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ประสิทธิผลองค์กรKeywords: การบริหารงานบุคคล
ทรัพยากรมนุษย์.Curricular : BALA/BBA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23081 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000353779 HD37.T5 น653 2551 Book Graduate Library General Shelf Available บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) / วิภาวรรณ บัวสรวง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) Original title : The Desirable roles of nursing directors, government university hospitals, in the next decade (A.D. 2008-2017) Material Type: printed text Authors: วิภาวรรณ บัวสรวง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ฏ, 188 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การบริหารงานบุคคล.
การบริหาร.
โรงพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ว736 2550 Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 25 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารโรงพยาบาล ด้านการบริหารการพยาบาล ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านองค์การวิชาชีพพยาบาล และด้านนโยบายและองค์การสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 93 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหนัาพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 69 ข้อ เป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 56 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 13 ข้อ จำแนกเป็น 9 ด้านดังนี้
1. ภาวะผู้นำ 2. การบริหารจัดการ 3. การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล 4. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. พัฒนาวิชาชีพ 6. วิชาการและการวิจัย 7. ด้านการจัดการการเิงิน 8. ด้านการจัดการสารสนเทศทางการพยาบาล 9. ด้านการอำนวยความสะดวกRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23231 บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) = The Desirable roles of nursing directors, government university hospitals, in the next decade (A.D. 2008-2017) [printed text] / วิภาวรรณ บัวสรวง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ฏ, 188 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การบริหารงานบุคคล.
การบริหาร.
โรงพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ว736 2550 Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 25 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารโรงพยาบาล ด้านการบริหารการพยาบาล ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านองค์การวิชาชีพพยาบาล และด้านนโยบายและองค์การสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 93 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหนัาพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 69 ข้อ เป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 56 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 13 ข้อ จำแนกเป็น 9 ด้านดังนี้
1. ภาวะผู้นำ 2. การบริหารจัดการ 3. การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล 4. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. พัฒนาวิชาชีพ 6. วิชาการและการวิจัย 7. ด้านการจัดการการเิงิน 8. ด้านการจัดการสารสนเทศทางการพยาบาล 9. ด้านการอำนวยความสะดวกRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23231 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355022 WX150 ว736 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available ศาสตร์และศิลป์ / พชร สันทัด / 2557
Title : ศาสตร์และศิลป์ : การบริหารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Material Type: printed text Authors: พชร สันทัด, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publication Date: 2557 Pagination: 241 หน้า. Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-279447-6 Price: บริจาค (200.00) Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
[LCSH]การวางแผนกำลังคน
[LCSH]การวางแผนกำลังคน -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมมนุษย์Keywords: การบริหารงานบุคคล
การพัฒนา.
ทรัพยากรมนุษย์.
การวางแผนกำลังคน.Class number: HF5549.2 .T5 ศ371 2557 Contents note: บทที่ 1: การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์.-- บทที่ 2: การบริหารสมรรถนะทุนมนุษย์.-- บททีี่ 3: การบริหารแรงงานสัมพันธ์.-- บทที่ 4: จิตวิทยากับการบริหารทรัพยากรมนุษย์.-- บทที่ 5: ธรรมะสำหรับนักบริหารทรัพยากรมนุษย์.-- บทที่ 6: การเสริมสร้างศักยภาพการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์.-- บทที่ 7: กฎหมายว่าด้วยความปลอดภัยและอาชีวอนามัย.-- บทที่ 8: กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการทำงาน.-- บทที่ 9: การบริหารจัดการการจ้างงานภายนอก (Outsource).-- บทที่ 10: ผู้นำกับการบริหารการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรมนุษย์ ศึกษากรณี ระบบงานตำรวจไทย.-- Curricular : BALA/BBA/BNS/BSCS/BSMT/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23835 ศาสตร์และศิลป์ : การบริหารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ [printed text] / พชร สันทัด, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - 2557 . - 241 หน้า. ; 21 ซม.
ISBN : 978-6-16-279447-6 : บริจาค (200.00)
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
[LCSH]การวางแผนกำลังคน
[LCSH]การวางแผนกำลังคน -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมมนุษย์Keywords: การบริหารงานบุคคล
การพัฒนา.
ทรัพยากรมนุษย์.
การวางแผนกำลังคน.Class number: HF5549.2 .T5 ศ371 2557 Contents note: บทที่ 1: การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์.-- บทที่ 2: การบริหารสมรรถนะทุนมนุษย์.-- บททีี่ 3: การบริหารแรงงานสัมพันธ์.-- บทที่ 4: จิตวิทยากับการบริหารทรัพยากรมนุษย์.-- บทที่ 5: ธรรมะสำหรับนักบริหารทรัพยากรมนุษย์.-- บทที่ 6: การเสริมสร้างศักยภาพการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์.-- บทที่ 7: กฎหมายว่าด้วยความปลอดภัยและอาชีวอนามัย.-- บทที่ 8: กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการทำงาน.-- บทที่ 9: การบริหารจัดการการจ้างงานภายนอก (Outsource).-- บทที่ 10: ผู้นำกับการบริหารการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรมนุษย์ ศึกษากรณี ระบบงานตำรวจไทย.-- Curricular : BALA/BBA/BNS/BSCS/BSMT/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23835 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000469922 HF5549.2 .T5 ศ371 2557 Book Main Library General Shelf Available