From this page you can:
Home |
Author details
Author ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา
Available item(s) by this author


รูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจ / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
![]()
[article]
Title : รูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจ : ในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพสูง Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Author ; วรเดช จันทรศร, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.36-44 General note: เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ ซึ่งการวิจัยเชิงปริมาณใช้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 629 คน และใช้เกณฑ์การวิเคราะห์ความเชื่อถือ และองค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรมสมการโครงสร้าง SEM เพื่อยืนยันสมมติฐาน ผลการวิจัย พบว่า การจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจภาครัฐและภาคเอกชนไม่แตกต่างกัน ส่วนการยืนยันรูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจ โดยการวิจัยเชิงปริมาณ ด้านยุทธศาสตร์การบริหารจัดการความรู้ คือผู้บริหารและเทคโนโลยีมีผลต่อกระบวนการการจัดการความรู้ด้านโครงสร้างปัจจัยพื้นฐานการจัดการความรู้ คือ การมีส่วนร่วมและการเสริมพลังในการจัดการความรู้ มัีผลต่อกระบวการจัดการความรู้ ด้านกระบวนการจัดการความรู้ คือ การนำความรู้ไปใช้และติดตามผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีผลต่อผลลัพธ์การจัดการเรียนรู้ โครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานการจัดการความรู้ ไม่มีผลต่อผลลัพธ์การจัดการเรียนรู้การพยาบาลโรคหัวใจในด้านใดด้านหนึ่ง
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.36-44Keywords: รูปแบบการจัดการความรู้.การพยาบาลโรคหัวใจ.โรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนศักยภาพสูง. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25559 [article] รูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจ : ในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพสูง [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Author ; วรเดช จันทรศร, Author . - 2016 . - p.36-44.
เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ ซึ่งการวิจัยเชิงปริมาณใช้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 629 คน และใช้เกณฑ์การวิเคราะห์ความเชื่อถือ และองค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรมสมการโครงสร้าง SEM เพื่อยืนยันสมมติฐาน ผลการวิจัย พบว่า การจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจภาครัฐและภาคเอกชนไม่แตกต่างกัน ส่วนการยืนยันรูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจ โดยการวิจัยเชิงปริมาณ ด้านยุทธศาสตร์การบริหารจัดการความรู้ คือผู้บริหารและเทคโนโลยีมีผลต่อกระบวนการการจัดการความรู้ด้านโครงสร้างปัจจัยพื้นฐานการจัดการความรู้ คือ การมีส่วนร่วมและการเสริมพลังในการจัดการความรู้ มัีผลต่อกระบวการจัดการความรู้ ด้านกระบวนการจัดการความรู้ คือ การนำความรู้ไปใช้และติดตามผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีผลต่อผลลัพธ์การจัดการเรียนรู้ โครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานการจัดการความรู้ ไม่มีผลต่อผลลัพธ์การจัดการเรียนรู้การพยาบาลโรคหัวใจในด้านใดด้านหนึ่ง
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.36-44Keywords: รูปแบบการจัดการความรู้.การพยาบาลโรคหัวใจ.โรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนศักยภาพสูง. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25559 Reprinted Collection. ผลการวิจัยเรื่อง กลยุทธ์การพัฒนาการจัดการโซ่อุปทานเพื่อการส่งออกของประเทศไทย / กัญญมน อินหว่าง
Collection Title: Reprinted Collection Title : ผลการวิจัยเรื่อง กลยุทธ์การพัฒนาการจัดการโซ่อุปทานเพื่อการส่งออกของประเทศไทย : กรณีศึกษากุ้งกุลาดำh(reprinted) Material Type: printed text Authors: กัญญมน อินหว่าง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; วิไล ชินะผา, Associated Name Size: 14 หน้า. Price: 14 Baht Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการ
[LCSH]การส่งออก
[LCSH]กุ้งกุลาดำ -- อุปทานและอุปสงค์ -- ไทยCurricular : PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=10310 Reprinted Collection. ผลการวิจัยเรื่อง กลยุทธ์การพัฒนาการจัดการโซ่อุปทานเพื่อการส่งออกของประเทศไทย : กรณีศึกษากุ้งกุลาดำh(reprinted) [printed text] / กัญญมน อินหว่าง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; วิไล ชินะผา, Associated Name . - [s.d.] . - ; 14 หน้า.
14 Baht
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการ
[LCSH]การส่งออก
[LCSH]กุ้งกุลาดำ -- อุปทานและอุปสงค์ -- ไทยCurricular : PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=10310 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000088805 REP183 2547 c.1 Reprinted Graduate Library Reprint Shelf Available 32002000088813 REP183 2547 c.2 Reprinted Main Library Reprint Shelf Available SIU THE-T. กลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดเคมีภัณฑ์การเกษตรกรณีศึกษาประเทศเวียดนาม / สุนัดดา บัวดิษฐ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : กลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดเคมีภัณฑ์การเกษตรกรณีศึกษาประเทศเวียดนาม Material Type: printed text Authors: สุนัดดา บัวดิษฐ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: ix, 150 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2018-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กลยุทธ์การตลาด
[LCSH]เคมีภัณฑ์ -- การเกษตร -- เวียดนามKeywords: กลยุทธ์การเข้าสู่ตลาด,
เคมีภัณฑ์การเกษตร,
ประเทศเวียดนามAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษากลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดเคมีภัณฑ์การเกษตรกรณีศึกษาประเทศเวียดนามใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็น ผู้ประกอบการ ผู้ค้า ผู้บริหาร ธุรกิจที่ทำการค้าเคมีภัณฑ์เกษตรจำนวน 400 คน ด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุสัมพันธ์ (multiple regression analysis) ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและยอมรับสมมุติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย มีอายุระหว่าง 36–40 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีสถานะเป็นเจ้าของแต่เพียงผู้เดียว และปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งปัจจุบัน จำนวน 1–5 ปี นอกจากนี้ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นทั้งผู้ผลิตและผู้จำหน่าย มีแบรนด์เป็นของตนเอง 1- 5 แบรนด์ มีการจำหน่ายสินค้าเคมีภัณฑ์เกษตรไปประเทศอื่นนอกเหนือจากเวียดนาม และมีมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ในเวียดนามรวม 10–20 ล้านบาท ต่อปี นอกจากนี้ ผลการวิจัยยังพบว่า ปัจจัยด้านราคามีความสำคัญสูงสุดในปัจจัยด้านส่วนประสมการตลาดต่อการดำเนินกลยุทธ์ในการเข้าสู่ตลาด ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการทำธุรกิจเคมีภัณฑ์เกษตรในประเทศเวียดนาม พบว่าประสบการณ์ต่างประเทศของผู้ตอบแบบสอบถามมีอิทธิพลสูงที่สุดและ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามใช้กลยุทธ์การร่วมทุนมากที่สุด ผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์ต่างประเทศ ความเสี่ยงของประเทศ ความได้เปรียบด้านการดำเนินการกับการใช้กลยุทธ์ทางธุรกิจและพบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านราคากับการใช้กลยุทธ์ทางธุรกิจ นอกจากนี้ผลการวิจัย ยังพบความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนตรง หรือการเข้าไปผลิตและการร่วมทุน กับการเลือกใช้กลยุทธ์ในการเข้าสู่ตลาดเคมีภัณฑ์เกษตรเวียดนามที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27827 SIU THE-T. กลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดเคมีภัณฑ์การเกษตรกรณีศึกษาประเทศเวียดนาม [printed text] / สุนัดดา บัวดิษฐ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - ix, 150 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2018-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กลยุทธ์การตลาด
[LCSH]เคมีภัณฑ์ -- การเกษตร -- เวียดนามKeywords: กลยุทธ์การเข้าสู่ตลาด,
เคมีภัณฑ์การเกษตร,
ประเทศเวียดนามAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษากลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดเคมีภัณฑ์การเกษตรกรณีศึกษาประเทศเวียดนามใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็น ผู้ประกอบการ ผู้ค้า ผู้บริหาร ธุรกิจที่ทำการค้าเคมีภัณฑ์เกษตรจำนวน 400 คน ด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุสัมพันธ์ (multiple regression analysis) ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและยอมรับสมมุติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย มีอายุระหว่าง 36–40 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีสถานะเป็นเจ้าของแต่เพียงผู้เดียว และปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งปัจจุบัน จำนวน 1–5 ปี นอกจากนี้ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นทั้งผู้ผลิตและผู้จำหน่าย มีแบรนด์เป็นของตนเอง 1- 5 แบรนด์ มีการจำหน่ายสินค้าเคมีภัณฑ์เกษตรไปประเทศอื่นนอกเหนือจากเวียดนาม และมีมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ในเวียดนามรวม 10–20 ล้านบาท ต่อปี นอกจากนี้ ผลการวิจัยยังพบว่า ปัจจัยด้านราคามีความสำคัญสูงสุดในปัจจัยด้านส่วนประสมการตลาดต่อการดำเนินกลยุทธ์ในการเข้าสู่ตลาด ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการทำธุรกิจเคมีภัณฑ์เกษตรในประเทศเวียดนาม พบว่าประสบการณ์ต่างประเทศของผู้ตอบแบบสอบถามมีอิทธิพลสูงที่สุดและ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามใช้กลยุทธ์การร่วมทุนมากที่สุด ผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์ต่างประเทศ ความเสี่ยงของประเทศ ความได้เปรียบด้านการดำเนินการกับการใช้กลยุทธ์ทางธุรกิจและพบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านราคากับการใช้กลยุทธ์ทางธุรกิจ นอกจากนี้ผลการวิจัย ยังพบความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนตรง หรือการเข้าไปผลิตและการร่วมทุน กับการเลือกใช้กลยุทธ์ในการเข้าสู่ตลาดเคมีภัณฑ์เกษตรเวียดนามที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27827 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597862 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000597854 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การจัดการเชิงกลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน / กิจเสริม เวศย์ไกรศรี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การจัดการเชิงกลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน Original title : Strategies Management for Building a Competitive Advantage in Thai Rice Export to International Asean Economic Communication (AEC) Material Type: printed text Authors: กิจเสริม เวศย์ไกรศรี, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: ix, 185 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการเชิงกลยุทธ์
[LCSH]ข้าว -- ไทย -- การส่งออกKeywords: การจัดการเชิงกลยุทธ์, การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน, การส่งออกข้าวไทย, ประชาคมอาเซียน Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงการจัดการเชิงกลยุทธ์ที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน เพื่อทราบถึงปัจจัยที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทย เพื่อทราบถึงคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่สร้างความได้เปรียบในการดำเนินการส่งออกข้าวไทย และเพื่อทราบแนวทางหรือข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเชิงกลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทย โดยการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ สัมภาษณ์เชิงลึกเก็บข้อมูลจากผู้ประกอบการส่งออกข้าวไทย เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 12 คน ผลการวิจัยได้ข้อค้นพบองค์ความรู้ คือ การที่ผู้ส่งออกจะได้เปรียบทางการแข่งขันต้องนำทฤษฎีความร่วมมือมาใช้เป็นกลยุทธ์ในการส่งออก เนื่องจากต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างผู้ส่งออกและภาครัฐ โดยที่รัฐบาลให้การสนับสนุนการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน และพัฒนาปรับปรุงนโยบายสาธารณะในการส่งออกข้าวไทย ตลอดจนนำแนวคิดเกี่ยวกับ SWOT (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค) มาใช้ในการส่งออกข้าว และนำทฤษฎีระบบเปิดมาใช้ในการตลาดเพื่อนำทฤษฎีนี้มาใช้ในการจัดการองค์การให้มีความทันสมัย และต้องมีการนำนวัตกรรมเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการพัฒนาระบบการส่งออกข้าวไทยให้มีประสิทธิภาพและความได้เปรียบทางการแข่งขันใน การส่งออกมากยิ่งๆ ขึ้น และจากการศึกษาพบประเด็นปัญหาที่ทำให้ความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียนลดลง ประกอบด้วยปัญหาต้นทุนการผลิตต่อไร่สูงแต่ผลผลิตต่อไร่ต่ำ ระบบชลประทานในพื้นที่เพาะปลูกมีจำกัด งบประมาณการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการผลิตข้าวน้อยเกินไป ราคาส่งออกข้าวไทยสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน ขาดการประชาสัมพันธ์ในการสร้าง ตราสินค้าข้าวไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก ระบบและต้นทุนขนส่งข้าวของไทยอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะประเทศเวียดนาม และไม่มีนโยบายและ ยุทธศาสตร์ข้าวที่ชัดเจนภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดังนั้นหากต้องการจะเพิ่มความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน สามารถดำเนินการได้โดยผู้ประกอบการส่งออกข้าวไทยต้องร่วมมือกับรัฐบาลไทยให้มากขึ้น และรัฐบาลไทยจะต้องให้การสนับสนุนการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน จะต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียนให้มีความชัดเจน Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27863 SIU THE-T. การจัดการเชิงกลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน = Strategies Management for Building a Competitive Advantage in Thai Rice Export to International Asean Economic Communication (AEC) [printed text] / กิจเสริม เวศย์ไกรศรี, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - ix, 185 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการเชิงกลยุทธ์
[LCSH]ข้าว -- ไทย -- การส่งออกKeywords: การจัดการเชิงกลยุทธ์, การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน, การส่งออกข้าวไทย, ประชาคมอาเซียน Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงการจัดการเชิงกลยุทธ์ที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน เพื่อทราบถึงปัจจัยที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทย เพื่อทราบถึงคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่สร้างความได้เปรียบในการดำเนินการส่งออกข้าวไทย และเพื่อทราบแนวทางหรือข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเชิงกลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทย โดยการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ สัมภาษณ์เชิงลึกเก็บข้อมูลจากผู้ประกอบการส่งออกข้าวไทย เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 12 คน ผลการวิจัยได้ข้อค้นพบองค์ความรู้ คือ การที่ผู้ส่งออกจะได้เปรียบทางการแข่งขันต้องนำทฤษฎีความร่วมมือมาใช้เป็นกลยุทธ์ในการส่งออก เนื่องจากต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างผู้ส่งออกและภาครัฐ โดยที่รัฐบาลให้การสนับสนุนการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน และพัฒนาปรับปรุงนโยบายสาธารณะในการส่งออกข้าวไทย ตลอดจนนำแนวคิดเกี่ยวกับ SWOT (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค) มาใช้ในการส่งออกข้าว และนำทฤษฎีระบบเปิดมาใช้ในการตลาดเพื่อนำทฤษฎีนี้มาใช้ในการจัดการองค์การให้มีความทันสมัย และต้องมีการนำนวัตกรรมเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการพัฒนาระบบการส่งออกข้าวไทยให้มีประสิทธิภาพและความได้เปรียบทางการแข่งขันใน การส่งออกมากยิ่งๆ ขึ้น และจากการศึกษาพบประเด็นปัญหาที่ทำให้ความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียนลดลง ประกอบด้วยปัญหาต้นทุนการผลิตต่อไร่สูงแต่ผลผลิตต่อไร่ต่ำ ระบบชลประทานในพื้นที่เพาะปลูกมีจำกัด งบประมาณการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการผลิตข้าวน้อยเกินไป ราคาส่งออกข้าวไทยสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน ขาดการประชาสัมพันธ์ในการสร้าง ตราสินค้าข้าวไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก ระบบและต้นทุนขนส่งข้าวของไทยอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะประเทศเวียดนาม และไม่มีนโยบายและ ยุทธศาสตร์ข้าวที่ชัดเจนภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดังนั้นหากต้องการจะเพิ่มความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน สามารถดำเนินการได้โดยผู้ประกอบการส่งออกข้าวไทยต้องร่วมมือกับรัฐบาลไทยให้มากขึ้น และรัฐบาลไทยจะต้องให้การสนับสนุนการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน จะต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียนให้มีความชัดเจน Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27863 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597920 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000597912 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การจัดวางทรัพยากรในองค์กรข่าวของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลในประเทศไทย ให้สอดรับกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง / พลภฤต เรืองจรัส / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การจัดวางทรัพยากรในองค์กรข่าวของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลในประเทศไทย ให้สอดรับกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง Original title : Managing an Enterprise Resource in News Department for Thailand Digital Television Broadcasting Business Under Changing of Technology Material Type: printed text Authors: พลภฤต เรืองจรัส, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 206 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2016-03
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]องค์กร -- การจัดการ
[LCSH]อุตสาหกรรมโทรทัศน์ -- ประเทศไทย
[LCSH]เทคโนโลยีการสื่อสารKeywords: ทรัพยากร,
สถานีโทรทัศน์ดิจิทัล,
องค์กรข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัล,
ผู้สื่อข่าวขององค์กรข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลAbstract: การเปลี่ยนแปลงของระบบออกอากาศของโทรทัศน์ที่อุตสาหกรรมโทรทัศน์ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยกำลังเปลี่ยนจากระบบแอนาล็อกเข้าสู่ระบบดิจิทัล ส่งผลให้กระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ทั้งหมดถูกเปลี่ยนไปใช้ระบบดิจิทัลหมดแล้ว ประกอบกับเทคโนโลยีการสื่อสารในปัจจุบันถูกพัฒนาไปสู่ยุค3Gและกำลังจะพัฒนาไปสู่เทคโนโลยี4จี และยุคข้อมูลข่าวสารสื่อใหม่ (New Media) ที่หลอมรวมเทคโนโลยี อย่างเช่น สื่อสังคมออนไลน์ ได้เข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจำวันของผู้คนในสังคมหลากหลายด้าน การจัดระบบองค์กรข่าว การบริหารจัดการ และการทำงานของผู้สื่อข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลจึงถูกกดดันให้ต้องเปลี่ยนแปลงตาม
การวิจัยครั้งนี้มุ่งเน้นศึกษาโครงสร้างองค์กรข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลที่สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและคุณลักษณะผู้สื่อข่าวที่ผู้บริหารสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลต้องการในการทำงานให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีใหม่ในการทำข่าว โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลที่เป็นปัจจัยสำคัญประกอบด้วย 1.ผู้กำหนดนโยบายโทรคมนาคมและการสื่อสารระดับประเทศ 2.ผู้บริหารสถานีโทรทัศน์ดิจิทัล 3.นักวิชาการนิเทศศาสตร์ 4.ผู้สื่อข่าวในองค์กรข่าวของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัล และ 5.ผู้สื่อข่าวสำนักข่าวต่างประเทศในไทย การวิเคราะห์ข้อมูลมีทั้งการวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บจากการสัมภาษณ์ และการวิเคราะห์ข้อมูลจากแนวคิดและทฤษฎี ทั้งทฤษฎีการหลอมรวมสื่อ (Media Convergence) และแนวคิดทฤษฎีการบริหารจัดการ 4M
Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26370 SIU THE-T. การจัดวางทรัพยากรในองค์กรข่าวของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลในประเทศไทย ให้สอดรับกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง = Managing an Enterprise Resource in News Department for Thailand Digital Television Broadcasting Business Under Changing of Technology [printed text] / พลภฤต เรืองจรัส, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 206 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2016-03
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]องค์กร -- การจัดการ
[LCSH]อุตสาหกรรมโทรทัศน์ -- ประเทศไทย
[LCSH]เทคโนโลยีการสื่อสารKeywords: ทรัพยากร,
สถานีโทรทัศน์ดิจิทัล,
องค์กรข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัล,
ผู้สื่อข่าวขององค์กรข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลAbstract: การเปลี่ยนแปลงของระบบออกอากาศของโทรทัศน์ที่อุตสาหกรรมโทรทัศน์ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยกำลังเปลี่ยนจากระบบแอนาล็อกเข้าสู่ระบบดิจิทัล ส่งผลให้กระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ทั้งหมดถูกเปลี่ยนไปใช้ระบบดิจิทัลหมดแล้ว ประกอบกับเทคโนโลยีการสื่อสารในปัจจุบันถูกพัฒนาไปสู่ยุค3Gและกำลังจะพัฒนาไปสู่เทคโนโลยี4จี และยุคข้อมูลข่าวสารสื่อใหม่ (New Media) ที่หลอมรวมเทคโนโลยี อย่างเช่น สื่อสังคมออนไลน์ ได้เข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจำวันของผู้คนในสังคมหลากหลายด้าน การจัดระบบองค์กรข่าว การบริหารจัดการ และการทำงานของผู้สื่อข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลจึงถูกกดดันให้ต้องเปลี่ยนแปลงตาม
การวิจัยครั้งนี้มุ่งเน้นศึกษาโครงสร้างองค์กรข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลที่สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและคุณลักษณะผู้สื่อข่าวที่ผู้บริหารสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลต้องการในการทำงานให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีใหม่ในการทำข่าว โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลที่เป็นปัจจัยสำคัญประกอบด้วย 1.ผู้กำหนดนโยบายโทรคมนาคมและการสื่อสารระดับประเทศ 2.ผู้บริหารสถานีโทรทัศน์ดิจิทัล 3.นักวิชาการนิเทศศาสตร์ 4.ผู้สื่อข่าวในองค์กรข่าวของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัล และ 5.ผู้สื่อข่าวสำนักข่าวต่างประเทศในไทย การวิเคราะห์ข้อมูลมีทั้งการวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บจากการสัมภาษณ์ และการวิเคราะห์ข้อมูลจากแนวคิดและทฤษฎี ทั้งทฤษฎีการหลอมรวมสื่อ (Media Convergence) และแนวคิดทฤษฎีการบริหารจัดการ 4M
Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26370 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550887 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000550879 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การดำเนินการโครงการตามมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับตำบล กรณีศึกษาอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี / ผุสดี บุญเซียม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การดำเนินการโครงการตามมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับตำบล กรณีศึกษาอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Performance of Operating Projects following the Measures for Sub - District Well - Being Promotions of Meuang District, Surat Thani Province Material Type: printed text Authors: ผุสดี บุญเซียม, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 75 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-22
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ชุมชน -- การศึกษาเฉพาะกรณี Keywords: ความเป็นอยู่,
มาตรการ,
ส่งเสริม,
ระดับตำบลAbstract: วัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ศึกษาผลการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการตามมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับตำบล กรณีศึกษาอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ เจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ เจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด และประชาขนทั่วไป จำนวน 405 คน ใช้แบบสอบถามแบบในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า การดำเนินโครงการตามมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับตำบล กรณีศึกษาของอำเภอเมืองฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานีในภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ประสิทธิผลและผลลัพธ์โครงการมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ความพร้อมระหว่างดำเนินการ วัตถุประสงค์ดำเนินการโครงการ และการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ดำเนินการมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ สำหรับปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานพบว่าควรชี้แจงผู้ปฏิบัติงานให้เห็นถึงวัตถุประสงค์และเข้าใจในเนื้อหาหลักของโครงการ ควรมีการบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อมุ่งเป้าหมายในการแก้ปัญหา มีแนวทางแก้ไขปัญหา แนวทางป้องกันปัญหาที่เป็นรูปธรรม ปฏิบัติได้จริงอย่างมีระบบ การชี้แจงให้ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการ และมีการวางแผนกำหนดแนวทางการดำเนินงานและติดตามประเมินผลโครงการอย่างต่อเนื่องCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26828 SIU IS-T. การดำเนินการโครงการตามมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับตำบล กรณีศึกษาอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี = Performance of Operating Projects following the Measures for Sub - District Well - Being Promotions of Meuang District, Surat Thani Province [printed text] / ผุสดี บุญเซียม, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 75 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-22
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ชุมชน -- การศึกษาเฉพาะกรณี Keywords: ความเป็นอยู่,
มาตรการ,
ส่งเสริม,
ระดับตำบลAbstract: วัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ศึกษาผลการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการตามมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับตำบล กรณีศึกษาอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ เจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ เจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด และประชาขนทั่วไป จำนวน 405 คน ใช้แบบสอบถามแบบในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า การดำเนินโครงการตามมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับตำบล กรณีศึกษาของอำเภอเมืองฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานีในภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ประสิทธิผลและผลลัพธ์โครงการมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ความพร้อมระหว่างดำเนินการ วัตถุประสงค์ดำเนินการโครงการ และการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ดำเนินการมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ สำหรับปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานพบว่าควรชี้แจงผู้ปฏิบัติงานให้เห็นถึงวัตถุประสงค์และเข้าใจในเนื้อหาหลักของโครงการ ควรมีการบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อมุ่งเป้าหมายในการแก้ปัญหา มีแนวทางแก้ไขปัญหา แนวทางป้องกันปัญหาที่เป็นรูปธรรม ปฏิบัติได้จริงอย่างมีระบบ การชี้แจงให้ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการ และมีการวางแผนกำหนดแนวทางการดำเนินงานและติดตามประเมินผลโครงการอย่างต่อเนื่องCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26828 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593598 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-22 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593606 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-22 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของบุคลากร สำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร / จิตราภา สว่างเดือน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของบุคลากร สำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร Original title : Sufficiency Economy Philosophy Lifestyle for Personnel of the Social Development Department, Bangkok Metropolitan Administration Material Type: printed text Authors: จิตราภา สว่างเดือน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 55 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-21
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Sufficiency economy -- Thailand
[LCSH]บุคลากรสำนักพัฒนาสังคม -- การดำเนินชีวิต
[LCSH]เศรษฐกิจพอเพียง -- ปรัชญาAbstract: การศึกษาเรื่องการดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของบุคลากรสำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้ชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของบุคลากรในสำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรของสำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26103 SIU IS-T. การดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของบุคลากร สำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร = Sufficiency Economy Philosophy Lifestyle for Personnel of the Social Development Department, Bangkok Metropolitan Administration [printed text] / จิตราภา สว่างเดือน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 55 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-21
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Sufficiency economy -- Thailand
[LCSH]บุคลากรสำนักพัฒนาสังคม -- การดำเนินชีวิต
[LCSH]เศรษฐกิจพอเพียง -- ปรัชญาAbstract: การศึกษาเรื่องการดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของบุคลากรสำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้ชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของบุคลากรในสำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรของสำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26103 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590222 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-21 c.1 SIU Independent Study Graduate Library General Shelf Available 32002000590230 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-21 c.2 Book Graduate Library General Shelf Available SIU IS-T. การบริหารจัดการองค์การตามหลักคุณธรรมและจริยธรรม ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี / ณัฐนรี โกละกะ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การบริหารจัดการองค์การตามหลักคุณธรรมและจริยธรรม ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Organizational Management based on Moral and Ethical Principles in Surat Thani Provincial Administrative Organization Material Type: printed text Authors: ณัฐนรี โกละกะ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 94 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-26
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Organizational -- Management
[LCSH]จริยธรรม
[LCSH]องค์การ -- การจัดการ
[LCSH]องค์การบริหารส่วนจังหวัด -- สุราษฎร์ธานีKeywords: คุณธรรมจริยธรรม
บริหารองค์การAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาระดับการบริหารจัดการองค์กรตามหลักคุณธรรมและจริยธรรมขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี (2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางพัฒนา
การบริหารจัดการองค์การตามหลักคุณธรรมและจริยธรรมขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26107 SIU IS-T. การบริหารจัดการองค์การตามหลักคุณธรรมและจริยธรรม ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี = Organizational Management based on Moral and Ethical Principles in Surat Thani Provincial Administrative Organization [printed text] / ณัฐนรี โกละกะ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 94 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-26
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Organizational -- Management
[LCSH]จริยธรรม
[LCSH]องค์การ -- การจัดการ
[LCSH]องค์การบริหารส่วนจังหวัด -- สุราษฎร์ธานีKeywords: คุณธรรมจริยธรรม
บริหารองค์การAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาระดับการบริหารจัดการองค์กรตามหลักคุณธรรมและจริยธรรมขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี (2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางพัฒนา
การบริหารจัดการองค์การตามหลักคุณธรรมและจริยธรรมขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26107 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590271 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-26 c.1 SIU Independent Study Graduate Library General Shelf Available 32002000590305 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-26 c.2 SIU Independent Study Graduate Library General Shelf Available SIU THE-T. การบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ค่ายยุโรปในประเทศไทย กรณีศึกษาบีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ / สุขโชค ทองสุข-อุฬาร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ค่ายยุโรปในประเทศไทย กรณีศึกษาบีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ Original title : Strategic Management of European Auto Dealerships in Thailand: Case Study of BMW and Audi) Material Type: printed text Authors: สุขโชค ทองสุข-อุฬาร, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xi, 198 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ผู้บริโภค -- พฤติกรรม
[LCSH]ยานยนต์ -- ไทยKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์,
บริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์,
กลยุทธ์ระดับองค์กร,
กลยุทธ์ระดับธุรกิจ,
กลยุทธ์ระดับหน้าที่Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ที่มีผลกระทบต่อผลการดำเนินงานของตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ (2) เปรียบเทียบแนวทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ (3) จัดอันดับ กลยุทธ์ที่ใช้มากที่สุดของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ในประเทศไทย (4) หาเหตุผลการเลือกซื้อรถยนต์ของลูกค้าประชากรและ กลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็นสองกลุ่มคือ (1) ผู้บริหารที่ปฏิบัติงานในบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ที่มีประสบการณ์ในการงานอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไปทั้งหมด 16 บริษัทตัวแทนจำหน่าย (2) กลุ่มลูกค้าที่เป็นเจ้าของรถยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26372 SIU THE-T. การบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ค่ายยุโรปในประเทศไทย กรณีศึกษาบีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ = Strategic Management of European Auto Dealerships in Thailand: Case Study of BMW and Audi) [printed text] / สุขโชค ทองสุข-อุฬาร, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xi, 198 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ผู้บริโภค -- พฤติกรรม
[LCSH]ยานยนต์ -- ไทยKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์,
บริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์,
กลยุทธ์ระดับองค์กร,
กลยุทธ์ระดับธุรกิจ,
กลยุทธ์ระดับหน้าที่Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ที่มีผลกระทบต่อผลการดำเนินงานของตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ (2) เปรียบเทียบแนวทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ (3) จัดอันดับ กลยุทธ์ที่ใช้มากที่สุดของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ในประเทศไทย (4) หาเหตุผลการเลือกซื้อรถยนต์ของลูกค้าประชากรและ กลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็นสองกลุ่มคือ (1) ผู้บริหารที่ปฏิบัติงานในบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ที่มีประสบการณ์ในการงานอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไปทั้งหมด 16 บริษัทตัวแทนจำหน่าย (2) กลุ่มลูกค้าที่เป็นเจ้าของรถยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26372 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550853 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000550861 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การปฏิรูปตำรวจ: การปรับปรุงองค์การและการบริหารจัดการ / สุวรรณ สุวรรณเวโช / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การปฏิรูปตำรวจ: การปรับปรุงองค์การและการบริหารจัดการ Original title : Police Reform: Organizational Improvement and Management Material Type: printed text Authors: สุวรรณ สุวรรณเวโช, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 213 Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Non - Circulating
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-06
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]ตำรวจ -- การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร
[LCSH]โครงสร้างองค์กรKeywords: โครงสร้างองค์กร,
ส่วนประสมการตลาดบริการ,
สภาพแวดล้อมภายนอก,
สภาพแวดล้อมเกี่ยวกับงาน,
หลักธรรมาภิบาลAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบโครงสร้างองค์กร ส่วนประสมการ
ตลาดบริการ (7P’s) สภาพแวดล้อมภายนอกทั่วไป สภาพแวดล้อมเกี่ยวกับงาน และหลักธรรมาภิบาลที่ก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานการปฏิรูปตำรวจ 2) เพื่อสร้างแนวทางการปฏิรูปตำรวจด้วยการปรับปรุงและการบริหารจัดการองค์การตำรวจสมัยใหม่ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ ผู้บังคับบัญชาตำรวจและผู้มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายตำรวจทั้งในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น เก็บรวบรวมข้อมูลจากการวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ การวิเคราะห์เชิงประวัติ การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลการวิจัย พบว่า 1) องค์ประกอบโครงสร้างองค์กร ได้แก่ การแบ่งงานกันทำตามความชำนาญ สายการบังคับบัญชา การกระจายอำนาจ และความเป็นทางการ 2) ส่วนประสมการตลาดบริการ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ด้านบริการ ราคา สถานที่ การส่งเสริมทางการตลาด กระบวนการ บุคลากร และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ 3) สภาพแวดล้อมภายนอกทั่วไป ได้แก่ ด้านการเมือง และด้านเทคโนโลยี 4) สภาพแวดล้อมเกี่ยวกับงาน ได้แก่ กลุ่มประชาชน กลุ่มผู้บังคับบัญชาตำรวจ และกลุ่มรัฐบาล
5) หลักธรรมาภิบาล มีความสำคัญต่อผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานการปฏิรูปตำรวจCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27264 SIU THE-T. การปฏิรูปตำรวจ: การปรับปรุงองค์การและการบริหารจัดการ = Police Reform: Organizational Improvement and Management [printed text] / สุวรรณ สุวรรณเวโช, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 213 : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
Non - Circulating
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-06
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]ตำรวจ -- การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร
[LCSH]โครงสร้างองค์กรKeywords: โครงสร้างองค์กร,
ส่วนประสมการตลาดบริการ,
สภาพแวดล้อมภายนอก,
สภาพแวดล้อมเกี่ยวกับงาน,
หลักธรรมาภิบาลAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบโครงสร้างองค์กร ส่วนประสมการ
ตลาดบริการ (7P’s) สภาพแวดล้อมภายนอกทั่วไป สภาพแวดล้อมเกี่ยวกับงาน และหลักธรรมาภิบาลที่ก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานการปฏิรูปตำรวจ 2) เพื่อสร้างแนวทางการปฏิรูปตำรวจด้วยการปรับปรุงและการบริหารจัดการองค์การตำรวจสมัยใหม่ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ ผู้บังคับบัญชาตำรวจและผู้มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายตำรวจทั้งในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น เก็บรวบรวมข้อมูลจากการวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ การวิเคราะห์เชิงประวัติ การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลการวิจัย พบว่า 1) องค์ประกอบโครงสร้างองค์กร ได้แก่ การแบ่งงานกันทำตามความชำนาญ สายการบังคับบัญชา การกระจายอำนาจ และความเป็นทางการ 2) ส่วนประสมการตลาดบริการ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ด้านบริการ ราคา สถานที่ การส่งเสริมทางการตลาด กระบวนการ บุคลากร และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ 3) สภาพแวดล้อมภายนอกทั่วไป ได้แก่ ด้านการเมือง และด้านเทคโนโลยี 4) สภาพแวดล้อมเกี่ยวกับงาน ได้แก่ กลุ่มประชาชน กลุ่มผู้บังคับบัญชาตำรวจ และกลุ่มรัฐบาล
5) หลักธรรมาภิบาล มีความสำคัญต่อผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานการปฏิรูปตำรวจCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27264 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594844 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-06 c.1 Thesis Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594836 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-06 c.2 Thesis Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก / อารีวรรณ สว่างธรรมขจร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก Original title : The Evaluation of First Car Policy Material Type: printed text Authors: อารีวรรณ สว่างธรรมขจร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 95 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นโยบายเศรษฐกิจ
[LCSH]รถยนต์ -- การซื้อKeywords: การประเมินผล,
นโยบาย,
รถยนต์คันแรกAbstract: การศึกษาเรื่องการประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายรถยนต์คันแรกมาปฏิบัติ และ ประเมินปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่ได้ซื้อรถยนต์คันแรก และได้รับสิทธิ์คืนภาษีรถยนต์คันแรก ในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ประชาชนผู้ใช้สิทธิ์ซื้อรถยนต์คันแรก 4 คน ผู้ประกอบกิจการรถยนต์ 2 คน และ บุคคลที่เกี่ยวข้อง 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) ลักษณะคำถามแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ประกอบกิจการรถยนต์และบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นเพศหญิง 7 คน และเพศชาย 1 คน ผลกระทบหลักของนโยบายรถยนต์คันแรก คือ ทำให้เศรษฐกิจดีขึ้นเป็นกระตุ้นรายได้ของภาคอุตสาหกรรมรถยนต์และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้อย่างมาก ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในด้านการคมนาคม กระบวนการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ขั้นตอนในการบริหารชัดเจน และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างมีระบบ ส่วนผลกระทบของนโยบายรถยนต์คันแรก ได้แก่ ทำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดเพิ่มมากขึ้น มีมลภาวะทางอากาศเพิ่มขึ้น เพิ่มภาระหนี้ให้กับประชาชน เพราะไม่ได้วางแผนในการใช้เงินอย่างเป็นระบบ ส่วนปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติ พบปัญหาด้านการจราจรที่ติดขัด เนื่องจากระบบคมนาคมไม่พร้อมในการรองรับรถยนต์คันแรกที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีที่จอดรถไม่เพียงพอ เนื่องจากนโยบายรถยนต์คันแรกของรัฐบาลเป็นนโยบายเร่งด่วน ปัญหาด้านการบริหารจัดการนโยบาย พบว่า ผู้รับสิทธิ์ได้รับเงินคืนภาษีล่าช้า การคืนเงินให้ไม่ตรงตามกำหนดระยะเวลาที่แจ้งไว้ และหลักเกณฑ์ที่รัฐบาลกำหนดไม่ตรงกับกับเงื่อนไขบางประเภท และปัญหาด้านการสิ้นเปลืองพลังงาน เมื่อมีการใช้รถยนต์มากขึ้นก็จะทำให้สูญเสียพลังงานมากขึ้นเช่นกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26894 SIU IS-T. การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก = The Evaluation of First Car Policy [printed text] / อารีวรรณ สว่างธรรมขจร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 95 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นโยบายเศรษฐกิจ
[LCSH]รถยนต์ -- การซื้อKeywords: การประเมินผล,
นโยบาย,
รถยนต์คันแรกAbstract: การศึกษาเรื่องการประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายรถยนต์คันแรกมาปฏิบัติ และ ประเมินปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่ได้ซื้อรถยนต์คันแรก และได้รับสิทธิ์คืนภาษีรถยนต์คันแรก ในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ประชาชนผู้ใช้สิทธิ์ซื้อรถยนต์คันแรก 4 คน ผู้ประกอบกิจการรถยนต์ 2 คน และ บุคคลที่เกี่ยวข้อง 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) ลักษณะคำถามแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ประกอบกิจการรถยนต์และบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นเพศหญิง 7 คน และเพศชาย 1 คน ผลกระทบหลักของนโยบายรถยนต์คันแรก คือ ทำให้เศรษฐกิจดีขึ้นเป็นกระตุ้นรายได้ของภาคอุตสาหกรรมรถยนต์และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้อย่างมาก ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในด้านการคมนาคม กระบวนการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ขั้นตอนในการบริหารชัดเจน และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างมีระบบ ส่วนผลกระทบของนโยบายรถยนต์คันแรก ได้แก่ ทำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดเพิ่มมากขึ้น มีมลภาวะทางอากาศเพิ่มขึ้น เพิ่มภาระหนี้ให้กับประชาชน เพราะไม่ได้วางแผนในการใช้เงินอย่างเป็นระบบ ส่วนปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติ พบปัญหาด้านการจราจรที่ติดขัด เนื่องจากระบบคมนาคมไม่พร้อมในการรองรับรถยนต์คันแรกที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีที่จอดรถไม่เพียงพอ เนื่องจากนโยบายรถยนต์คันแรกของรัฐบาลเป็นนโยบายเร่งด่วน ปัญหาด้านการบริหารจัดการนโยบาย พบว่า ผู้รับสิทธิ์ได้รับเงินคืนภาษีล่าช้า การคืนเงินให้ไม่ตรงตามกำหนดระยะเวลาที่แจ้งไว้ และหลักเกณฑ์ที่รัฐบาลกำหนดไม่ตรงกับกับเงื่อนไขบางประเภท และปัญหาด้านการสิ้นเปลืองพลังงาน เมื่อมีการใช้รถยนต์มากขึ้นก็จะทำให้สูญเสียพลังงานมากขึ้นเช่นกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26894 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593747 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593739 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน / มณฑิรา ชุนลิ้ม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน Original title : Sport Development’s Contribution to the Marketing Strategy of Private University Material Type: printed text Authors: มณฑิรา ชุนลิ้ม, Author ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 156 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กลยุทธ์การตลาด
[LCSH]กีฬาKeywords: รูปแบบการพัฒนากีฬา,
กลยุทธ์การตลาด,
มหาวิทยาลัยเอกชน,
วิจัยเชิงคุณภาพAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชนมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะการใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกและ/หรือสมัครเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยเอกชน 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนากีฬาที่มีผลต่อการส่งเสริมกลยุทธ์ด้านการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ผู้วิจัยทำการวิจัยในครั้งนี้
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ที่มีการกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะ (Purposive Sampling) จากสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จำนวน 8 แห่ง ที่มีระดับผลการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 แบ่งเป็นกลุ่มสถาบันที่ได้รับเหรียญรางวัลมาก เหรียญรางวัลปานกลาง และเหรียญรางวัลน้อย โดยใช้รูปแบบการสัมภาษณ์คำถามแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured) กับผู้บริหารฝ่ายกิจการนักศึกษาหรือด้านสำนักกีฬา สถาบันละ 2 คน จำนวน 16 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยทำการส่งหนังสือขออนุญาตเข้าสัมภาษณ์พร้อมส่งข้อคำถาม ประเด็นการสัมภาษณ์กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญและขออนุญาตทำการบันทึกเสียงร่วมกับการจดบันทึกในระหว่างการสัมภาษณ์ และถอดเทปการบันทึกการสัมภาษณ์โดยผู้วิจัยและนำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ในแต่ละประเด็น ร่วมกับจากการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี แล้วนำมาสรุปและอภิปรายผลของการวิจัยตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ผลการวิเคราะห์ของการวิจัย พบว่า สภาวะการแข่งขันทางการกีฬาของสถาบันอุดมศึกษานั้น มีลักษณะการแข่งขันกันในรูปแบบมหาวิทยาลัยของรัฐกับมหาวิทยาลัยเอกชนและในกลุ่มของมหาวิทยาลัยเอกชนด้วยกัน โดยมีระบบการให้ทุนการศึกษาความสามารถพิเศษด้านกีฬาเช่นเดียวกัน โดยมีลักษณะการแข่งขันมุ่งเน้นเหรียญรางวัลและระดับของจำนวนเหรียญรางวัลเพื่อเพิ่ม หรือรักษาระดับของมหาวิทยาลัย (Ranking) และประชาสัมพันธ์ชื่อมหาวิทยาลัย ซึ่งผลงานจากการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยมีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อของนักเรียน รูปแบบการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยเอกชนสามารถแบ่งออกตาม 7 Ps คือ 1) ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ประเภทกีฬาที่ส่งเสริม หลักสูตรการเรียนการสอน หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้น 2) ด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการเข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัย (Price) ทุนการศึกษา ระบบจูงใจค่าตอบแทน สวัสดิการ 3) ด้านช่องทางการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในการรับนักศึกษา (Place) สถานที่ตั้งมหาวิทยาลัย การจัดการเรียนการสอน เวลาการให้บริการของเจ้าหน้าที่ 4) ด้านการส่งเสริม (Promotions) โครงการ/กิจกรรมด้านกีฬา การให้บริการด้านอาคาร สนามกีฬาและสิ่งอำนวยความสะดวก 5) ด้านบุคลากร (People) มีคณาจารย์และผู้ฝึกสอนที่มีชื่อเสียง 6) ด้านกายภาพและการนำเสนอ (Physical Evidence/Environment and Presentation) สนามกีฬาและอาคารกีฬา สิ่งอำนวยความสะดวกด้านกีฬา 7) ด้านกระบวนการ (Process) ระบบดูแลเรื่องการเรียน ระบบการฝึกซ้อม การประสานความร่วมมือกับสมาคมกีฬานอกจากนี้ ผลการวิจัยพบว่า มหาวิทยาลัยเอกชนใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์การตลาดเพื่อการประชาสัมพันธ์ด้านการสร้างตราสินค้า (Brand Image) ของมหาวิทยาลัยและการให้ทุนการศึกษานักกีฬาที่มีชื่อเสียงเพื่อเป็นทูตตราสินค้า (Brand Ambassador) เพื่อเป็นแบบอย่างดึงดูดนักเรียนที่ชื่นชอบนักกีฬาเลือกเข้าศึกษาต่อได้Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27548 SIU THE-T. การพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน = Sport Development’s Contribution to the Marketing Strategy of Private University [printed text] / มณฑิรา ชุนลิ้ม, Author ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 156 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กลยุทธ์การตลาด
[LCSH]กีฬาKeywords: รูปแบบการพัฒนากีฬา,
กลยุทธ์การตลาด,
มหาวิทยาลัยเอกชน,
วิจัยเชิงคุณภาพAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชนมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะการใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกและ/หรือสมัครเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยเอกชน 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนากีฬาที่มีผลต่อการส่งเสริมกลยุทธ์ด้านการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ผู้วิจัยทำการวิจัยในครั้งนี้
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ที่มีการกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะ (Purposive Sampling) จากสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จำนวน 8 แห่ง ที่มีระดับผลการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 แบ่งเป็นกลุ่มสถาบันที่ได้รับเหรียญรางวัลมาก เหรียญรางวัลปานกลาง และเหรียญรางวัลน้อย โดยใช้รูปแบบการสัมภาษณ์คำถามแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured) กับผู้บริหารฝ่ายกิจการนักศึกษาหรือด้านสำนักกีฬา สถาบันละ 2 คน จำนวน 16 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยทำการส่งหนังสือขออนุญาตเข้าสัมภาษณ์พร้อมส่งข้อคำถาม ประเด็นการสัมภาษณ์กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญและขออนุญาตทำการบันทึกเสียงร่วมกับการจดบันทึกในระหว่างการสัมภาษณ์ และถอดเทปการบันทึกการสัมภาษณ์โดยผู้วิจัยและนำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ในแต่ละประเด็น ร่วมกับจากการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี แล้วนำมาสรุปและอภิปรายผลของการวิจัยตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ผลการวิเคราะห์ของการวิจัย พบว่า สภาวะการแข่งขันทางการกีฬาของสถาบันอุดมศึกษานั้น มีลักษณะการแข่งขันกันในรูปแบบมหาวิทยาลัยของรัฐกับมหาวิทยาลัยเอกชนและในกลุ่มของมหาวิทยาลัยเอกชนด้วยกัน โดยมีระบบการให้ทุนการศึกษาความสามารถพิเศษด้านกีฬาเช่นเดียวกัน โดยมีลักษณะการแข่งขันมุ่งเน้นเหรียญรางวัลและระดับของจำนวนเหรียญรางวัลเพื่อเพิ่ม หรือรักษาระดับของมหาวิทยาลัย (Ranking) และประชาสัมพันธ์ชื่อมหาวิทยาลัย ซึ่งผลงานจากการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยมีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อของนักเรียน รูปแบบการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยเอกชนสามารถแบ่งออกตาม 7 Ps คือ 1) ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ประเภทกีฬาที่ส่งเสริม หลักสูตรการเรียนการสอน หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้น 2) ด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการเข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัย (Price) ทุนการศึกษา ระบบจูงใจค่าตอบแทน สวัสดิการ 3) ด้านช่องทางการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในการรับนักศึกษา (Place) สถานที่ตั้งมหาวิทยาลัย การจัดการเรียนการสอน เวลาการให้บริการของเจ้าหน้าที่ 4) ด้านการส่งเสริม (Promotions) โครงการ/กิจกรรมด้านกีฬา การให้บริการด้านอาคาร สนามกีฬาและสิ่งอำนวยความสะดวก 5) ด้านบุคลากร (People) มีคณาจารย์และผู้ฝึกสอนที่มีชื่อเสียง 6) ด้านกายภาพและการนำเสนอ (Physical Evidence/Environment and Presentation) สนามกีฬาและอาคารกีฬา สิ่งอำนวยความสะดวกด้านกีฬา 7) ด้านกระบวนการ (Process) ระบบดูแลเรื่องการเรียน ระบบการฝึกซ้อม การประสานความร่วมมือกับสมาคมกีฬานอกจากนี้ ผลการวิจัยพบว่า มหาวิทยาลัยเอกชนใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์การตลาดเพื่อการประชาสัมพันธ์ด้านการสร้างตราสินค้า (Brand Image) ของมหาวิทยาลัยและการให้ทุนการศึกษานักกีฬาที่มีชื่อเสียงเพื่อเป็นทูตตราสินค้า (Brand Ambassador) เพื่อเป็นแบบอย่างดึงดูดนักเรียนที่ชื่นชอบนักกีฬาเลือกเข้าศึกษาต่อได้Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27548 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596708 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596690 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย / สุธีรา ทิพย์วิวัฒน์พจนา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย Original title : Human Resource Development to Support Arrival of Technology of Thai Commercial Banks Material Type: printed text Authors: สุธีรา ทิพย์วิวัฒน์พจนา, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: xiii, 161 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2018-06
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
[LCSH]ธนาคารพาณิชย์ -- ไทย
[LCSH]นวัตกรรมทางเทคโนโลยีKeywords: การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์,
ธนาคารพาณิชย์ไทย,
การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย (2) ศึกษาการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย (3) เปรียบเทียบความแตกต่างของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก (4) เปรียบเทียบความแตกต่างของการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก และ (5) ศึกษาปัจจัยด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีที่สัมพันธ์และมีผลต่อการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย
ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานของธนาคารพาณิชย์ไทย กลุ่มที่ 1 จำนวน 14 แห่ง เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางประมาณขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครจซีและมอร์แกนที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ
ผลการวิจัยพบว่า (1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก (2) การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก (3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 (4) การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 (5) ปัจจัยด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย และร่วมกันพยากรณ์การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย ได้ร้อยละ 95.7 ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01Curricular : BBA/BSCS/GE/MBA/MSIT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27835 SIU THE-T. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย = Human Resource Development to Support Arrival of Technology of Thai Commercial Banks [printed text] / สุธีรา ทิพย์วิวัฒน์พจนา, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - xiii, 161 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2018-06
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
[LCSH]ธนาคารพาณิชย์ -- ไทย
[LCSH]นวัตกรรมทางเทคโนโลยีKeywords: การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์,
ธนาคารพาณิชย์ไทย,
การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย (2) ศึกษาการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย (3) เปรียบเทียบความแตกต่างของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก (4) เปรียบเทียบความแตกต่างของการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก และ (5) ศึกษาปัจจัยด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีที่สัมพันธ์และมีผลต่อการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย
ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานของธนาคารพาณิชย์ไทย กลุ่มที่ 1 จำนวน 14 แห่ง เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางประมาณขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครจซีและมอร์แกนที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ
ผลการวิจัยพบว่า (1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก (2) การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก (3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 (4) การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 (5) ปัจจัยด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย และร่วมกันพยากรณ์การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย ได้ร้อยละ 95.7 ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01Curricular : BBA/BSCS/GE/MBA/MSIT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27835 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598167 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-06 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598134 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-06 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนาบุคลากรด้านการข่าวของสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ตามแนวคิดมนุษย์ที่รู้จักการหลอมรวม / พัชรินทร์ ยศสมนึก / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนาบุคลากรด้านการข่าวของสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ตามแนวคิดมนุษย์ที่รู้จักการหลอมรวม Original title : Personnel Development on News Department of Channel 8 Television Station Based on Human Convergence Concept Material Type: printed text Authors: พัชรินทร์ ยศสมนึก, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 83 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2017-02
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การหลอมรวมสื่อ
[LCSH]บุคลากร -- การพัฒนา
[LCSH]โทรทัศน์ดิจิทัลKeywords: การข่าว,
โทรทัศน์ดิจิทัล,
บุคลากรหลอมรวมAbstract: การศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นศึกษาระดับการรับรู้และการมีส่วนร่วมในการทำงานตามแนวคิดบุคลากรหลอมรวม Human Convergences ซึ่งประกอบด้วย การหลอมรวมทักษะการคิด (Idea Convergences) การหลอมทักษะการใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยี (Functional Convergences) และการหลอมรวมทักษะการใช้ช่องทางสื่อสารที่หลากหลายส่งผ่านเนื้อหาข่าวไปยังผู้ชมรับชมจากอุปกรณ์สื่อสารหลายรูปแบบ (Media Convergences) โดยเป็นการศึกษาเชิงปริมาณเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามบุคลากรด้านข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตข่าวจำนวนทั้งหมด 80 คน
ผลการวิเคราะห์พบว่าบุคลากรด้านการข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ซึ่งมีปัจจัยด้านเพศ อายุ สถานะภาพ ประสบการณ์ ตำแหน่งงาน ที่แตกต่างกัน มีการรับรู้ถึงความจำเป็นในการปรับตัวตามแนวคิดบุคลากรหลอมรวมเหมือนกัน โดยมีปัจจัยการปฏิบัติงาน 5 ด้านสนับสนุน คือ ปัจจัยด้านนโยบายองค์กร ด้านอุปกรณ์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านลักษณะงาน ด้านการดูงาน การฝึกอบรม และปัจจัยด้านความก้าวหน้าในอาชีพ
Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26781 SIU IS-T. การพัฒนาบุคลากรด้านการข่าวของสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ตามแนวคิดมนุษย์ที่รู้จักการหลอมรวม = Personnel Development on News Department of Channel 8 Television Station Based on Human Convergence Concept [printed text] / พัชรินทร์ ยศสมนึก, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 83 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2017-02
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การหลอมรวมสื่อ
[LCSH]บุคลากร -- การพัฒนา
[LCSH]โทรทัศน์ดิจิทัลKeywords: การข่าว,
โทรทัศน์ดิจิทัล,
บุคลากรหลอมรวมAbstract: การศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นศึกษาระดับการรับรู้และการมีส่วนร่วมในการทำงานตามแนวคิดบุคลากรหลอมรวม Human Convergences ซึ่งประกอบด้วย การหลอมรวมทักษะการคิด (Idea Convergences) การหลอมทักษะการใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยี (Functional Convergences) และการหลอมรวมทักษะการใช้ช่องทางสื่อสารที่หลากหลายส่งผ่านเนื้อหาข่าวไปยังผู้ชมรับชมจากอุปกรณ์สื่อสารหลายรูปแบบ (Media Convergences) โดยเป็นการศึกษาเชิงปริมาณเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามบุคลากรด้านข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตข่าวจำนวนทั้งหมด 80 คน
ผลการวิเคราะห์พบว่าบุคลากรด้านการข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ซึ่งมีปัจจัยด้านเพศ อายุ สถานะภาพ ประสบการณ์ ตำแหน่งงาน ที่แตกต่างกัน มีการรับรู้ถึงความจำเป็นในการปรับตัวตามแนวคิดบุคลากรหลอมรวมเหมือนกัน โดยมีปัจจัยการปฏิบัติงาน 5 ด้านสนับสนุน คือ ปัจจัยด้านนโยบายองค์กร ด้านอุปกรณ์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านลักษณะงาน ด้านการดูงาน การฝึกอบรม และปัจจัยด้านความก้าวหน้าในอาชีพ
Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26781 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593416 SIU IS-T: SOM-MBA-2017-02 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593440 SIU IS-T: SOM-MBA-2017-02 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาพฤติกรรมเชิงบวกของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา: กรณีศึกษาสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย / พฤฒิไกร ไกรพิพัฒน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาพฤติกรรมเชิงบวกของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา: กรณีศึกษาสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย Original title : Positive Behavior Developing of Members in Institute of Technological College: Case Study of Pathumwan Institute of Technology and Rajamangala University of Technology Tawan-Ok, Uthenthawai Campus Material Type: printed text Authors: พฤฒิไกร ไกรพิพัฒน์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 162 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นักเรียนอาชีวศึกษา
[LCSH]พฤติกรรมKeywords: พฤติกรรมเชิงบวก,
มหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย,
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน,
สถาบันอาชีวศึกษาAbstract: วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเบี่ยงเบนของสมาชิกนักเรียนอาชีวศึกษาทั้งชาย และหญิง ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ของสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออกวิทยาเขตอุเทนถวาย ที่เป็นตัวแทนที่ดีของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา เพื่อศึกษาความสำคัญถึงเหตุจำเป็นในการแก้ไขปัญหา เพื่อเป็นแนวทางนำไปสู่การกำหนดนโยบายสาธารณะสำหรับใช้แก้ไขปัญหานักเรียนอาชีวศึกษา งานวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นศิษย์เก่า อาจารย์ประจำ และผู้ปกครองของนักศึกษาของทั้ง 2 สถาบัน รวมผู้ให้สัมภาษณ์ทั้งหมด 76 คน เครื่องมือ เป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง
ผลการวิจัย พบว่าสาเหตุที่ทำให้นักศึกษาทั้ง 2 สถาบัน มีพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนจนนำไปสู่สาเหตุของการทะเลาะวิวาทกันของทั้ง 2 สถาบัน ได้แก่ 1) ค่านิยมที่ผิด ๆ เกี่ยวกับการรับน้องของรุ่นพี่ 2) ความคึกคะนองตามประสาวัยรุ่น และค่านิยมที่ผิด ๆ ที่ได้รับจากรุ่นพี่ 3) เกิดจากการยั่วยุจากฝ่ายตรงข้าม 4) เกิดจากการใช้สารเสพติดทำให้ขาดการยั้งคิด 5) เพราะคุณภาพการเรียน การสอนของสถาบันไม่มีคุณภาพพอ 6 ) เพราะความรักสถาบันของตัวเองไม่ยอมให้ใครมาลบลู่ 7) เพราะสีเสื้อ และเครื่องหมายของสถาบันที่ต่างกัน การวิจัยยังค้นพบว่าควรขอเสนอให้รวมทั้งสองสถาบันอาชีวศึกษาให้เป็นหนึ่งเดียว เพื่อหลอมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตัวบุคคลที่เกี่ยวข้องให้เข้ากับระบบการบริหารงานใหม่ที่รวมตัวเป็นหนึ่งCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27236 SIU THE-T. การพัฒนาพฤติกรรมเชิงบวกของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา: กรณีศึกษาสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย = Positive Behavior Developing of Members in Institute of Technological College: Case Study of Pathumwan Institute of Technology and Rajamangala University of Technology Tawan-Ok, Uthenthawai Campus [printed text] / พฤฒิไกร ไกรพิพัฒน์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 162 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นักเรียนอาชีวศึกษา
[LCSH]พฤติกรรมKeywords: พฤติกรรมเชิงบวก,
มหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย,
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน,
สถาบันอาชีวศึกษาAbstract: วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเบี่ยงเบนของสมาชิกนักเรียนอาชีวศึกษาทั้งชาย และหญิง ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ของสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออกวิทยาเขตอุเทนถวาย ที่เป็นตัวแทนที่ดีของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา เพื่อศึกษาความสำคัญถึงเหตุจำเป็นในการแก้ไขปัญหา เพื่อเป็นแนวทางนำไปสู่การกำหนดนโยบายสาธารณะสำหรับใช้แก้ไขปัญหานักเรียนอาชีวศึกษา งานวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นศิษย์เก่า อาจารย์ประจำ และผู้ปกครองของนักศึกษาของทั้ง 2 สถาบัน รวมผู้ให้สัมภาษณ์ทั้งหมด 76 คน เครื่องมือ เป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง
ผลการวิจัย พบว่าสาเหตุที่ทำให้นักศึกษาทั้ง 2 สถาบัน มีพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนจนนำไปสู่สาเหตุของการทะเลาะวิวาทกันของทั้ง 2 สถาบัน ได้แก่ 1) ค่านิยมที่ผิด ๆ เกี่ยวกับการรับน้องของรุ่นพี่ 2) ความคึกคะนองตามประสาวัยรุ่น และค่านิยมที่ผิด ๆ ที่ได้รับจากรุ่นพี่ 3) เกิดจากการยั่วยุจากฝ่ายตรงข้าม 4) เกิดจากการใช้สารเสพติดทำให้ขาดการยั้งคิด 5) เพราะคุณภาพการเรียน การสอนของสถาบันไม่มีคุณภาพพอ 6 ) เพราะความรักสถาบันของตัวเองไม่ยอมให้ใครมาลบลู่ 7) เพราะสีเสื้อ และเครื่องหมายของสถาบันที่ต่างกัน การวิจัยยังค้นพบว่าควรขอเสนอให้รวมทั้งสองสถาบันอาชีวศึกษาให้เป็นหนึ่งเดียว เพื่อหลอมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตัวบุคคลที่เกี่ยวข้องให้เข้ากับระบบการบริหารงานใหม่ที่รวมตัวเป็นหนึ่งCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27236 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594794 SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594802 SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available