From this page you can:
Home |
Search results
14 result(s) search for keyword(s) 'การประเมินผล, นโยบาย, รถยนต์คันแรก'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU IS-T. การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก / อารีวรรณ สว่างธรรมขจร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก Original title : The Evaluation of First Car Policy Material Type: printed text Authors: อารีวรรณ สว่างธรรมขจร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 95 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นโยบายเศรษฐกิจ
[LCSH]รถยนต์ -- การซื้อKeywords: การประเมินผล,
นโยบาย,
รถยนต์คันแรกAbstract: การศึกษาเรื่องการประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายรถยนต์คันแรกมาปฏิบัติ และ ประเมินปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่ได้ซื้อรถยนต์คันแรก และได้รับสิทธิ์คืนภาษีรถยนต์คันแรก ในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ประชาชนผู้ใช้สิทธิ์ซื้อรถยนต์คันแรก 4 คน ผู้ประกอบกิจการรถยนต์ 2 คน และ บุคคลที่เกี่ยวข้อง 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) ลักษณะคำถามแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ประกอบกิจการรถยนต์และบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นเพศหญิง 7 คน และเพศชาย 1 คน ผลกระทบหลักของนโยบายรถยนต์คันแรก คือ ทำให้เศรษฐกิจดีขึ้นเป็นกระตุ้นรายได้ของภาคอุตสาหกรรมรถยนต์และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้อย่างมาก ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในด้านการคมนาคม กระบวนการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ขั้นตอนในการบริหารชัดเจน และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างมีระบบ ส่วนผลกระทบของนโยบายรถยนต์คันแรก ได้แก่ ทำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดเพิ่มมากขึ้น มีมลภาวะทางอากาศเพิ่มขึ้น เพิ่มภาระหนี้ให้กับประชาชน เพราะไม่ได้วางแผนในการใช้เงินอย่างเป็นระบบ ส่วนปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติ พบปัญหาด้านการจราจรที่ติดขัด เนื่องจากระบบคมนาคมไม่พร้อมในการรองรับรถยนต์คันแรกที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีที่จอดรถไม่เพียงพอ เนื่องจากนโยบายรถยนต์คันแรกของรัฐบาลเป็นนโยบายเร่งด่วน ปัญหาด้านการบริหารจัดการนโยบาย พบว่า ผู้รับสิทธิ์ได้รับเงินคืนภาษีล่าช้า การคืนเงินให้ไม่ตรงตามกำหนดระยะเวลาที่แจ้งไว้ และหลักเกณฑ์ที่รัฐบาลกำหนดไม่ตรงกับกับเงื่อนไขบางประเภท และปัญหาด้านการสิ้นเปลืองพลังงาน เมื่อมีการใช้รถยนต์มากขึ้นก็จะทำให้สูญเสียพลังงานมากขึ้นเช่นกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26894 SIU IS-T. การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก = The Evaluation of First Car Policy [printed text] / อารีวรรณ สว่างธรรมขจร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 95 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นโยบายเศรษฐกิจ
[LCSH]รถยนต์ -- การซื้อKeywords: การประเมินผล,
นโยบาย,
รถยนต์คันแรกAbstract: การศึกษาเรื่องการประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายรถยนต์คันแรกมาปฏิบัติ และ ประเมินปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่ได้ซื้อรถยนต์คันแรก และได้รับสิทธิ์คืนภาษีรถยนต์คันแรก ในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ประชาชนผู้ใช้สิทธิ์ซื้อรถยนต์คันแรก 4 คน ผู้ประกอบกิจการรถยนต์ 2 คน และ บุคคลที่เกี่ยวข้อง 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) ลักษณะคำถามแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ประกอบกิจการรถยนต์และบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นเพศหญิง 7 คน และเพศชาย 1 คน ผลกระทบหลักของนโยบายรถยนต์คันแรก คือ ทำให้เศรษฐกิจดีขึ้นเป็นกระตุ้นรายได้ของภาคอุตสาหกรรมรถยนต์และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้อย่างมาก ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในด้านการคมนาคม กระบวนการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ขั้นตอนในการบริหารชัดเจน และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างมีระบบ ส่วนผลกระทบของนโยบายรถยนต์คันแรก ได้แก่ ทำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดเพิ่มมากขึ้น มีมลภาวะทางอากาศเพิ่มขึ้น เพิ่มภาระหนี้ให้กับประชาชน เพราะไม่ได้วางแผนในการใช้เงินอย่างเป็นระบบ ส่วนปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติ พบปัญหาด้านการจราจรที่ติดขัด เนื่องจากระบบคมนาคมไม่พร้อมในการรองรับรถยนต์คันแรกที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีที่จอดรถไม่เพียงพอ เนื่องจากนโยบายรถยนต์คันแรกของรัฐบาลเป็นนโยบายเร่งด่วน ปัญหาด้านการบริหารจัดการนโยบาย พบว่า ผู้รับสิทธิ์ได้รับเงินคืนภาษีล่าช้า การคืนเงินให้ไม่ตรงตามกำหนดระยะเวลาที่แจ้งไว้ และหลักเกณฑ์ที่รัฐบาลกำหนดไม่ตรงกับกับเงื่อนไขบางประเภท และปัญหาด้านการสิ้นเปลืองพลังงาน เมื่อมีการใช้รถยนต์มากขึ้นก็จะทำให้สูญเสียพลังงานมากขึ้นเช่นกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26894 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593739 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593747 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available Old book collection. สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง / มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม / 2557
Collection Title: Old book collection Title : สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง : สู่การปฏิรูปประเทศจากฐานราก Material Type: printed text Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, Author Publication Date: 2557 Pagination: 120 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 29 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-279457-5 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการชุมชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย
[LCSH]ข้าว -- นโยบายของรัฐ
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ชุมชน -- การแก้ปัญหาKeywords: การพัฒนาชุมชน.
การจัดการชุมชน.
ข้าว.
นโยบายของรัฐ.Class number: WA100 ส743 2557 Contents note: 11 ตัวชี้วัด โรคอ้วน. -- 10 สถานการณ์เด่นทางสุขภาพ.-- 4 ผลงานดี ๆ เพื่อสุขภาพคนไทย.-- เรื่องพิเศษประจำฉบับ ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง สู่การปฎิรูปประเทศจากฐานราก.-- Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23813 Old book collection. สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง : สู่การปฏิรูปประเทศจากฐานราก [printed text] / มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, Author . - 2557 . - 120 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.
ISBN : 978-6-16-279457-5 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการชุมชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย
[LCSH]ข้าว -- นโยบายของรัฐ
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ชุมชน -- การแก้ปัญหาKeywords: การพัฒนาชุมชน.
การจัดการชุมชน.
ข้าว.
นโยบายของรัฐ.Class number: WA100 ส743 2557 Contents note: 11 ตัวชี้วัด โรคอ้วน. -- 10 สถานการณ์เด่นทางสุขภาพ.-- 4 ผลงานดี ๆ เพื่อสุขภาพคนไทย.-- เรื่องพิเศษประจำฉบับ ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง สู่การปฎิรูปประเทศจากฐานราก.-- Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23813 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000399061 WA100 ส743 2557 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000399053 WA100 ส743 2557 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available SIU IS-T. การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ / ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ Original title : The Policy Implementation of Cash Allowance for the Elderly in Wangpong Subdistric Administration Organization, Pran Buri District, Prachuap Khiri Khan Province Material Type: printed text Authors: ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: v, 75 น. Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ประจวบคีรีขันธ์ -- ปราณบุรี -- -- วังก์พง
[LCSH]เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุKeywords: นโยบาย,
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาเรื่องการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบล ศึกษาปัญหาและอุปสรรค และศึกษาแนวทางแก้ไขปรับปรุงการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากร เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จำนวน 9 คนใช้การวิจัยแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) โดยคำถามเป็นแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า วิธีการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติมีกระบวนการดำเนินงานคือ 1. ทำการศึกษารายละเอียดระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 2.ทำการประชุม วางแผน มอบหมายหน้าที่ 3. ทำการประชาสัมพันธ์ 4. รับขึ้นทะเบียนผู้สูงอายุ ด้านขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงานตามนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงว่ามีความเหมาะสม ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่ามีปัญหาจากนโยบายระเบียบและแนวทางการปฏิบัติ ไม่สอดคล้องกับพื้นที่การปฏิบัติงานของบุคลากรและความต้องการของประชาชน ปัญหาการประสานงานร่วมมือกับหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ปัญหาด้านการประชาสัมพันธ์ และปัญหาเรื่องการจ่ายเงินให้ผู้สูงอายุที่เสียชีวิตแล้ว ส่วนปัจจัยที่ทำให้การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติเกิดผลสำเร็จหรือเกิดความล้มเหลว ได้แก่ ตัวของนโยบาย ผู้ที่คิดนโยบาย ผู้นำนโยบายไปปฏิบัติและผู้สูงอายุ ผลการวิจัยด้านการปรับปรุง พัฒนาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติให้ดีขึ้นพบว่า สิ่งที่ควรปรับปรุง คือ บุคลากรหรือพนักงานที่เกี่ยวข้องควรศึกษานโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้ละเอียดและเข้าใจ รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ผู้สูงอายุเข้าใจหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพ เพื่อความเข้าใจและสะดวกรวดเร็ว นอกจากนี้ ควรมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการย้ายเข้า ย้ายออกของผู้สูงอายุกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และควรเปลี่ยนหลักเกณฑ์จากการจ่ายเบี้ยยังชีพให้เป็นแบบจำนวนที่เท่ากันและควรเพิ่มจำนวนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอื่นๆให้มากขึ้นด้วยCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26893 SIU IS-T. การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ = The Policy Implementation of Cash Allowance for the Elderly in Wangpong Subdistric Administration Organization, Pran Buri District, Prachuap Khiri Khan Province [printed text] / ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - v, 75 น. ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ประจวบคีรีขันธ์ -- ปราณบุรี -- -- วังก์พง
[LCSH]เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุKeywords: นโยบาย,
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาเรื่องการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบล ศึกษาปัญหาและอุปสรรค และศึกษาแนวทางแก้ไขปรับปรุงการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากร เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จำนวน 9 คนใช้การวิจัยแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) โดยคำถามเป็นแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า วิธีการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติมีกระบวนการดำเนินงานคือ 1. ทำการศึกษารายละเอียดระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 2.ทำการประชุม วางแผน มอบหมายหน้าที่ 3. ทำการประชาสัมพันธ์ 4. รับขึ้นทะเบียนผู้สูงอายุ ด้านขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงานตามนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงว่ามีความเหมาะสม ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่ามีปัญหาจากนโยบายระเบียบและแนวทางการปฏิบัติ ไม่สอดคล้องกับพื้นที่การปฏิบัติงานของบุคลากรและความต้องการของประชาชน ปัญหาการประสานงานร่วมมือกับหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ปัญหาด้านการประชาสัมพันธ์ และปัญหาเรื่องการจ่ายเงินให้ผู้สูงอายุที่เสียชีวิตแล้ว ส่วนปัจจัยที่ทำให้การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติเกิดผลสำเร็จหรือเกิดความล้มเหลว ได้แก่ ตัวของนโยบาย ผู้ที่คิดนโยบาย ผู้นำนโยบายไปปฏิบัติและผู้สูงอายุ ผลการวิจัยด้านการปรับปรุง พัฒนาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติให้ดีขึ้นพบว่า สิ่งที่ควรปรับปรุง คือ บุคลากรหรือพนักงานที่เกี่ยวข้องควรศึกษานโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้ละเอียดและเข้าใจ รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ผู้สูงอายุเข้าใจหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพ เพื่อความเข้าใจและสะดวกรวดเร็ว นอกจากนี้ ควรมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการย้ายเข้า ย้ายออกของผู้สูงอายุกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และควรเปลี่ยนหลักเกณฑ์จากการจ่ายเบี้ยยังชีพให้เป็นแบบจำนวนที่เท่ากันและควรเพิ่มจำนวนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอื่นๆให้มากขึ้นด้วยCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26893 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593713 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593721 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การศึกษาการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน / วุฒิชัย ธรรมมิยะ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน Original title : A Study of Implementation of Land Transportation Accident Prevention Policy Practice at Bang Chan Metropolitan Police Station Material Type: printed text Authors: วุฒิชัย ธรรมมิยะ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vi, 70 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-39
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]อุบัติเหตุ -- การป้องกัน Keywords: นโยบาย,
การป้องกัน,
อุบัติเหตุAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน เป็นการในเชิงคุณภาพ (qualitative research) เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากตำรวจที่ทำงานที่สถานีตำรวจบางรักด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลจากการศึกษา พบว่า นโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติเป็นนโยบายที่มาจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จึงมีแนวทางการปฏิบัติตามนโยบายจึงมีส่วนคล้ายกันทั่วประเทศ ยกเว้นเขตสถานีตำรวจไหนที่มีความเสี่ยงมากก็จะมีโครงการต่างๆ เพิ่มขึ้น ซึ่งทางสำนักงานตำรวจแห่งชาติให้อำนาจแก่สถานีตำรวจต่างๆ อยู่แล้ว การดำเนินตามนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน ได้ปฏิบัติตามนโยบายของสำนักงานตำรวจแห่งชาติอย่างเคร่งครัดโดยมีโครงการต่างๆ ทั้งโครงการที่มาจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติและโครงการที่สถานีตำรวจนครบาลบางชันจัดขึ้น ส่วนอุปสรรคในการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ส่วนใหญ่เกิดจากงบประมาณมีน้อย การจัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ไม่ได้มาตรฐาน เพราะอุปกรณ์พวกนี้ทางสถานีไม่ได้จัดซื้อเอง เจ้าหน้าที่ขาดทักษะในการ ใช้งาน ขาดการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ได้มาใหม่ นอกจากนี้แนวทางในการแก้ไขปัญหาการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน พบว่าควรมีการจัดป้ายประชาสัมพันธ์ เพื่อลดอุบัติเหตุ ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทราบทุกวัน การอบรมเรื่องวินัยจราจร ตามโรงเรียนต่างๆ จะชวยแก้ปัญหาได้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27266 SIU IS-T. การศึกษาการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน = A Study of Implementation of Land Transportation Accident Prevention Policy Practice at Bang Chan Metropolitan Police Station [printed text] / วุฒิชัย ธรรมมิยะ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vi, 70 น. : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-39
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]อุบัติเหตุ -- การป้องกัน Keywords: นโยบาย,
การป้องกัน,
อุบัติเหตุAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน เป็นการในเชิงคุณภาพ (qualitative research) เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากตำรวจที่ทำงานที่สถานีตำรวจบางรักด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลจากการศึกษา พบว่า นโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติเป็นนโยบายที่มาจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จึงมีแนวทางการปฏิบัติตามนโยบายจึงมีส่วนคล้ายกันทั่วประเทศ ยกเว้นเขตสถานีตำรวจไหนที่มีความเสี่ยงมากก็จะมีโครงการต่างๆ เพิ่มขึ้น ซึ่งทางสำนักงานตำรวจแห่งชาติให้อำนาจแก่สถานีตำรวจต่างๆ อยู่แล้ว การดำเนินตามนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน ได้ปฏิบัติตามนโยบายของสำนักงานตำรวจแห่งชาติอย่างเคร่งครัดโดยมีโครงการต่างๆ ทั้งโครงการที่มาจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติและโครงการที่สถานีตำรวจนครบาลบางชันจัดขึ้น ส่วนอุปสรรคในการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ส่วนใหญ่เกิดจากงบประมาณมีน้อย การจัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ไม่ได้มาตรฐาน เพราะอุปกรณ์พวกนี้ทางสถานีไม่ได้จัดซื้อเอง เจ้าหน้าที่ขาดทักษะในการ ใช้งาน ขาดการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ได้มาใหม่ นอกจากนี้แนวทางในการแก้ไขปัญหาการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน พบว่าควรมีการจัดป้ายประชาสัมพันธ์ เพื่อลดอุบัติเหตุ ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทราบทุกวัน การอบรมเรื่องวินัยจราจร ตามโรงเรียนต่างๆ จะชวยแก้ปัญหาได้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27266 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594851 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-39 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594869 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-39 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอย บริเวณแยกราชประสงค์ / สุกัญญา สุขะเต / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอย บริเวณแยกราชประสงค์ Original title : Attitudes of People towards Policy in Arranging Hawkers and Street Vendors at the Ratchaprasong Intersection Material Type: printed text Authors: สุกัญญา สุขะเต, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 84 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-05
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดระเบียบชุมชน
[LCSH]ประชากร -- ทัศนคติ -- หาบเร่แผงลอยKeywords: ทัศนคติ,
หาบเร่แผงลอย,
นโยบายAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ และเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนผู้ใช้เส้นทางบริเวณแยกราชประสงค์ จำนวน 300 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ ทั้ง 5 ด้าน ในภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก เมื่อแยกเป็นรายด้าน อันดับแรกคือ ด้านความเข้าใจ รองลงมาคือ ด้านการจัดสภาพแวดล้อม ด้านนโยบาย ด้านพฤติกรรม และด้านความรู้สึก เป็นอันดับสุดท้าย ผลการทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ พบว่า ประชาชนที่มีเพศ และรายได้ต่างกัน มีทัศนคติต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ ไม่แตกต่างกัน ส่วนประชาชนที่มีอายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน มีทัศนคติต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณราชประสงค์ แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26728 SIU IS-T. ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอย บริเวณแยกราชประสงค์ = Attitudes of People towards Policy in Arranging Hawkers and Street Vendors at the Ratchaprasong Intersection [printed text] / สุกัญญา สุขะเต, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 84 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-05
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดระเบียบชุมชน
[LCSH]ประชากร -- ทัศนคติ -- หาบเร่แผงลอยKeywords: ทัศนคติ,
หาบเร่แผงลอย,
นโยบายAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ และเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนผู้ใช้เส้นทางบริเวณแยกราชประสงค์ จำนวน 300 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ ทั้ง 5 ด้าน ในภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก เมื่อแยกเป็นรายด้าน อันดับแรกคือ ด้านความเข้าใจ รองลงมาคือ ด้านการจัดสภาพแวดล้อม ด้านนโยบาย ด้านพฤติกรรม และด้านความรู้สึก เป็นอันดับสุดท้าย ผลการทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ พบว่า ประชาชนที่มีเพศ และรายได้ต่างกัน มีทัศนคติต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ ไม่แตกต่างกัน ส่วนประชาชนที่มีอายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน มีทัศนคติต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณราชประสงค์ แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26728 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593341 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-05 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593317 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-05 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปราม ของข้าราชการตำรวจน้ำ สถานีตำรวจน้ำ 1 กองกำกับการ 12 กองบังคับการตำรวจน้ำจังหวัดเชียงราย / เชี่ยววิทย์ ศรีวิเชียร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปราม ของข้าราชการตำรวจน้ำ สถานีตำรวจน้ำ 1 กองกำกับการ 12 กองบังคับการตำรวจน้ำจังหวัดเชียงราย Original title : Factors that Affected Motivation in job for Preventing and Suppressing of Marine Police Station 1 Marine Police Division 12 district Chiang Rai Province Material Type: printed text Authors: เชี่ยววิทย์ ศรีวิเชียร, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 89 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-15
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจูงใจในการทำงาน -- เชียงราย
[LCSH]ข้าราชการตำรวจน้ำ -- การปฏิบัติหน้าที่Keywords: แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ความรับผิดชอบและความสำเร็จของงาน
ความก้าวหน้าและความมั่นคง
นโยบายและการบริหารงาน
สภาพแวดล้อมในการทำงานAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปรามของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับตำรวจน้ำจังหวัดเชียงราย 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปรามของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับตำรวจน้ำจังหวัดเชียงราย 3)เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปรามของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับตำรวจน้ำจังหวัดเชียงรายการศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 129 ตัวอย่าง ในการสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับการตำรวจน้ำ จังหวัดเชียงรายเป็นข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ 1. เพศ 2. อายุ 3. สถานภาพสมรส 4. การศึกษา 5.ประสบการณ์การทำงาน และ 6.รายได้เป็นการแจกแจงจำนวน (ความถี่) และร้อยละ จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจากข้อมูลส่วนบุคคลของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับการตำรวจน้ำ จังหวัดเชียงรายเป็นข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 36-45 ปี สถานภาพสมรสแล้ว มีการศึกษาระดับปริญญาตรีมีประสบการณ์การทำงาน ระหว่าง 16-20 ปี และรายได้อยู่ระหว่าง10,001 – 20,000 บาทในการสรุปผลการวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยที่สำคัญ 7 ด้าน ประกอบด้วย ด้านความรับผิดชอบ และความสำเร็จของงานด้านความก้าวหน้าและความมั่นคง ด้านการยอมรับนับถือด้านความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นด้านนโยบายและการบริหารงาน ด้านเงินเดือนและสวัสดิการ ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปรามของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับการตำรวจน้ำ จังหวัดเชียงราย โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีข้อเสนอแนะของการศึกษาค้นคว้าควรจัดให้มีองค์ประกอบด้านการกระตุ้นเกี่ยวกับงานซึ่งอาจทำได้หลายลักษณะด้วยกัน วิธีที่ยอมรับกันมากวิธีหนึ่งคือ การกระจายงานได้แก่ลดการเข้มงวดและเปิดโอกาสให้มีการใช้เหตุผลและความรับผิดชอบในงานให้มากขึ้น จัดให้เจ้าหน้าที่ตำรวจน้ำทำงานร่วมกันเป็นหน่วยเดียวที่มีความสมบูรณ์ในตัวมากกว่าที่จะแยกกันทำงานตามลำพังเป็นส่วน ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ตำรวจน้ำมากขึ้นในการตัดสินใจและการปฏิบัติและให้มีอิสระบ้างในการดำเนินงาน จัดให้มีการประชาสัมพันธ์รายงานผลผลิตต่อผู้ปฏิบัติโดยตรงอย่างสม่ำเสมอและบ่อย ๆมากขึ้น กระตุ้นให้เจ้าหน้าที่ตำรวจน้ำลองทำงานใหม่ ๆและงานที่มีความยากมากขึ้น ซึ่งจะสร้างแรงจูงใจให้พยายามและก้าวหน้ามากขึ้น และมีการมอบงานพิเศษให้ทำเพื่อเจ้าหน้าที่ตำรวจน้ำจะได้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะอย่าง อาจเป็นด้านปฏิบัติหรือกระบวนการทำงานหรือการพัฒนาการคิดของพนักงานแต่ละคน Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26545 SIU IS-T. ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปราม ของข้าราชการตำรวจน้ำ สถานีตำรวจน้ำ 1 กองกำกับการ 12 กองบังคับการตำรวจน้ำจังหวัดเชียงราย = Factors that Affected Motivation in job for Preventing and Suppressing of Marine Police Station 1 Marine Police Division 12 district Chiang Rai Province [printed text] / เชี่ยววิทย์ ศรีวิเชียร, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 89 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-15
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจูงใจในการทำงาน -- เชียงราย
[LCSH]ข้าราชการตำรวจน้ำ -- การปฏิบัติหน้าที่Keywords: แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ความรับผิดชอบและความสำเร็จของงาน
ความก้าวหน้าและความมั่นคง
นโยบายและการบริหารงาน
สภาพแวดล้อมในการทำงานAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปรามของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับตำรวจน้ำจังหวัดเชียงราย 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปรามของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับตำรวจน้ำจังหวัดเชียงราย 3)เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปรามของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับตำรวจน้ำจังหวัดเชียงรายการศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 129 ตัวอย่าง ในการสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับการตำรวจน้ำ จังหวัดเชียงรายเป็นข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ 1. เพศ 2. อายุ 3. สถานภาพสมรส 4. การศึกษา 5.ประสบการณ์การทำงาน และ 6.รายได้เป็นการแจกแจงจำนวน (ความถี่) และร้อยละ จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจากข้อมูลส่วนบุคคลของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับการตำรวจน้ำ จังหวัดเชียงรายเป็นข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 36-45 ปี สถานภาพสมรสแล้ว มีการศึกษาระดับปริญญาตรีมีประสบการณ์การทำงาน ระหว่าง 16-20 ปี และรายได้อยู่ระหว่าง10,001 – 20,000 บาทในการสรุปผลการวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยที่สำคัญ 7 ด้าน ประกอบด้วย ด้านความรับผิดชอบ และความสำเร็จของงานด้านความก้าวหน้าและความมั่นคง ด้านการยอมรับนับถือด้านความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นด้านนโยบายและการบริหารงาน ด้านเงินเดือนและสวัสดิการ ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปรามของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับการตำรวจน้ำ จังหวัดเชียงราย โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีข้อเสนอแนะของการศึกษาค้นคว้าควรจัดให้มีองค์ประกอบด้านการกระตุ้นเกี่ยวกับงานซึ่งอาจทำได้หลายลักษณะด้วยกัน วิธีที่ยอมรับกันมากวิธีหนึ่งคือ การกระจายงานได้แก่ลดการเข้มงวดและเปิดโอกาสให้มีการใช้เหตุผลและความรับผิดชอบในงานให้มากขึ้น จัดให้เจ้าหน้าที่ตำรวจน้ำทำงานร่วมกันเป็นหน่วยเดียวที่มีความสมบูรณ์ในตัวมากกว่าที่จะแยกกันทำงานตามลำพังเป็นส่วน ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ตำรวจน้ำมากขึ้นในการตัดสินใจและการปฏิบัติและให้มีอิสระบ้างในการดำเนินงาน จัดให้มีการประชาสัมพันธ์รายงานผลผลิตต่อผู้ปฏิบัติโดยตรงอย่างสม่ำเสมอและบ่อย ๆมากขึ้น กระตุ้นให้เจ้าหน้าที่ตำรวจน้ำลองทำงานใหม่ ๆและงานที่มีความยากมากขึ้น ซึ่งจะสร้างแรงจูงใจให้พยายามและก้าวหน้ามากขึ้น และมีการมอบงานพิเศษให้ทำเพื่อเจ้าหน้าที่ตำรวจน้ำจะได้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะอย่าง อาจเป็นด้านปฏิบัติหรือกระบวนการทำงานหรือการพัฒนาการคิดของพนักงานแต่ละคน Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26545 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591857 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-15 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591865 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-15 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. แนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ตตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 / อุราพร เดชเกิด / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : แนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ตตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 Original title : Guideline for Administration of Phuket Municipal Conforming Thailand 4.0 Policy Material Type: printed text Authors: อุราพร เดชเกิด, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: x, 224 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 cm. General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2564Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการองค์การ
[LCSH]เทศบาลนครภูเก็ต -- การบริหารKeywords: แนวทางการบริหารจัดการ,
เทศบาลนครภูเก็ด,
นโยบายไทยแลนด์ 4.0Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอกตามแนวทางการบริหารการจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 2) ศึกษาการบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพของเทศบาลภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 และ 3) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 ใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (mix methods research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างการวิจัยเชิงคุณภาพคือ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 10 คน ได้แก่ ผู้บริหารเทศบาลนครภูเก็ต 1 คน สมาชิกสภาเทศบาล 5 คน และข้าราชการประจำ จำนวน 4 คน ประชากรเชิงปริมาณ คือ ประชาชนทั่วไปที่เข้ามาติดต่อประสานงานและอาศัยในเขตบริการเทศบาลจำนวน 79,086 คน คำนวนขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของ Yamane (1997) ได้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพด้านการขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอก 3 ประการย่อย พบว่า (1) การยกระดับนวัตกรรม ควรมีศูนย์แสดงสินค้าทางนวัตกรรม ให้การสนับสนุนผู้ประกอบการหน้าใหม่ และ มีศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเพื่อศึกษาดูงาน (2) การสร้างสังคมที่มีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ คือ การทำธุรกิจที่ไม่ได้มุ่งเน้นผลด้านกำไรเพียงอย่างเดียว แต่ต้องคำนึงถึงสังคมที่ต้องอาศัยเกื้อกูลกันอย่างยั่งยืน ควรเน้นการตลาดเพื่อสังคม ที่ถือเป็นแนวคิดใหม่ ที่ต้องคำนึงถึงปัญหาของสังคมเป็นหลัก การเป็นผู้ประกอบการหน้าใหม่ จะคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภคก่อนเป็นอันดับแรก (3) การสร้างความเข้มแข้งของชุมชน และเครือข่าย ผู้นำต้องมีภาวะความเป็นผู้นำอย่างสูง ต้องมีการเรียนรู้บนพื้นฐานวัฒนธรรม และมีความจริงใจต่อกัน มีการแบ่งปันข้อมูลที่เป็นจริงในการแลกเปลี่ยน
สำหรับด้านการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ พบว่า ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม ส่งเสริมการเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชน มุ่งเน้นการบริหารจัดการแบบมืออาชีพ เพื่อประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก ต้องมีระบบการทำงานที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีระบบฐานข้อมูลในการสนับสนุนการทำงาน มีระบบข้อมูลย้อนกลับสำหรับการถอดบทเรียน เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขได้ มีการนำเทคโนโลยี และนวัตกรรมมาช่วยในการบริหารจัดการ บุคลากรต้องมีความรู้ ความสามารถในการใช้นวัตกรรมที่ช่วยการบริหารจัดการและบริการ ต้องลดขั้นตอนในการปฏิบัติงานให้มีความเหมาะสม และ ควรมีค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมกับบุคลากร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ นอกจากนี้ผลการวิจัยด้าน แนวทางการบริหารจัดการ พบว่า ด้านการบริหารจัดการ องค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ และพร้อมในการดำเนินการเพื่อประโยชน์ของประชาชน ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา องค์กรมีการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างความโปร่งใสในการปราบปรามการทุจริตในทุกรูปแบบ เน้นการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารโดยยึดหลักการ เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น มีการติดตามนวัตกรรมท้องถิ่น ที่เน้นให้ความสำคัญในเรื่องของการหาแนวทางการทำงานใหม่ ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น รวมถึงความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ
ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า 1) การขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอกตามแนวทางการบริหารการจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาตามองค์ประกอบพบว่า ด้านการยกระดับนวัตกรรม มากที่สุด รองลงมา ด้านการสร้างสังคมที่มีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ และด้านการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเครือข่าย 2) การบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพของเทศบาลภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 มีภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านทักษะ มากที่สุด รองลงมา ด้านค่านิยมร่วม ด้านระบบ และด้านรูปแบบ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดตามลำดับ 3) แนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงตามลำดับคือ ด้านการบริหารจัดการ รองลงมาคือ ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา และด้านการบริการสาธาณะ เป็นด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1) การขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอก ที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 มี 2 ประการ คือ ด้านการสร้างสังคมที่มีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ และด้านการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเครือข่าย ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 ร้อยละ 35.10 (R=35.10, R2= 0.351) 2) การบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ ที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 มี 2 ประการ คือ ด้านยุทธศาสตร์ และด้านค่านิยมร่วม ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 ร้อยละ 56.200 (R=56.00, R2= 0.560)Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28050 SIU THE-T. แนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ตตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 = Guideline for Administration of Phuket Municipal Conforming Thailand 4.0 Policy [printed text] / อุราพร เดชเกิด, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - x, 224 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 cm.
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2564
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการองค์การ
[LCSH]เทศบาลนครภูเก็ต -- การบริหารKeywords: แนวทางการบริหารจัดการ,
เทศบาลนครภูเก็ด,
นโยบายไทยแลนด์ 4.0Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอกตามแนวทางการบริหารการจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 2) ศึกษาการบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพของเทศบาลภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 และ 3) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 ใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (mix methods research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างการวิจัยเชิงคุณภาพคือ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 10 คน ได้แก่ ผู้บริหารเทศบาลนครภูเก็ต 1 คน สมาชิกสภาเทศบาล 5 คน และข้าราชการประจำ จำนวน 4 คน ประชากรเชิงปริมาณ คือ ประชาชนทั่วไปที่เข้ามาติดต่อประสานงานและอาศัยในเขตบริการเทศบาลจำนวน 79,086 คน คำนวนขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของ Yamane (1997) ได้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพด้านการขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอก 3 ประการย่อย พบว่า (1) การยกระดับนวัตกรรม ควรมีศูนย์แสดงสินค้าทางนวัตกรรม ให้การสนับสนุนผู้ประกอบการหน้าใหม่ และ มีศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเพื่อศึกษาดูงาน (2) การสร้างสังคมที่มีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ คือ การทำธุรกิจที่ไม่ได้มุ่งเน้นผลด้านกำไรเพียงอย่างเดียว แต่ต้องคำนึงถึงสังคมที่ต้องอาศัยเกื้อกูลกันอย่างยั่งยืน ควรเน้นการตลาดเพื่อสังคม ที่ถือเป็นแนวคิดใหม่ ที่ต้องคำนึงถึงปัญหาของสังคมเป็นหลัก การเป็นผู้ประกอบการหน้าใหม่ จะคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภคก่อนเป็นอันดับแรก (3) การสร้างความเข้มแข้งของชุมชน และเครือข่าย ผู้นำต้องมีภาวะความเป็นผู้นำอย่างสูง ต้องมีการเรียนรู้บนพื้นฐานวัฒนธรรม และมีความจริงใจต่อกัน มีการแบ่งปันข้อมูลที่เป็นจริงในการแลกเปลี่ยน
สำหรับด้านการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ พบว่า ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม ส่งเสริมการเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชน มุ่งเน้นการบริหารจัดการแบบมืออาชีพ เพื่อประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก ต้องมีระบบการทำงานที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีระบบฐานข้อมูลในการสนับสนุนการทำงาน มีระบบข้อมูลย้อนกลับสำหรับการถอดบทเรียน เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขได้ มีการนำเทคโนโลยี และนวัตกรรมมาช่วยในการบริหารจัดการ บุคลากรต้องมีความรู้ ความสามารถในการใช้นวัตกรรมที่ช่วยการบริหารจัดการและบริการ ต้องลดขั้นตอนในการปฏิบัติงานให้มีความเหมาะสม และ ควรมีค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมกับบุคลากร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ นอกจากนี้ผลการวิจัยด้าน แนวทางการบริหารจัดการ พบว่า ด้านการบริหารจัดการ องค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ และพร้อมในการดำเนินการเพื่อประโยชน์ของประชาชน ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา องค์กรมีการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างความโปร่งใสในการปราบปรามการทุจริตในทุกรูปแบบ เน้นการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารโดยยึดหลักการ เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น มีการติดตามนวัตกรรมท้องถิ่น ที่เน้นให้ความสำคัญในเรื่องของการหาแนวทางการทำงานใหม่ ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น รวมถึงความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ
ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า 1) การขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอกตามแนวทางการบริหารการจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาตามองค์ประกอบพบว่า ด้านการยกระดับนวัตกรรม มากที่สุด รองลงมา ด้านการสร้างสังคมที่มีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ และด้านการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเครือข่าย 2) การบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพของเทศบาลภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 มีภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านทักษะ มากที่สุด รองลงมา ด้านค่านิยมร่วม ด้านระบบ และด้านรูปแบบ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดตามลำดับ 3) แนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงตามลำดับคือ ด้านการบริหารจัดการ รองลงมาคือ ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา และด้านการบริการสาธาณะ เป็นด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1) การขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอก ที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 มี 2 ประการ คือ ด้านการสร้างสังคมที่มีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ และด้านการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเครือข่าย ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 ร้อยละ 35.10 (R=35.10, R2= 0.351) 2) การบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ ที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 มี 2 ประการ คือ ด้านยุทธศาสตร์ และด้านค่านิยมร่วม ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 ร้อยละ 56.200 (R=56.00, R2= 0.560)Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28050 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607375 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607373 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน / รัชนี มิตกิตติ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน : บทบาทที่ท้าทายของพยาบาลชุมชน Original title : Community-Engaged Implementation of Public Healthcare Policies: A Challenging Role of Community Nurses Material Type: printed text Authors: รัชนี มิตกิตติ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.26-36 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.26-36Keywords: นโยบายสาธารณะ. การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ. การมีส่วนร่วมของชุมชน. Abstract: บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ
เพื่อสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในบทบาทที่ท้าทายของพยาบาลชุมชนให้นำาไป
ประยุกต์ใช้ในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชนอย่างยั่งยืน โดยมีกระบวนการ
วิเคราะห์ทางเลือกไปสู่การสร้างนโยบายของชุมชนบนฐานข้อมูลและความรู้ที่เกี่ยวกับ
สุขภาพชุมชน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน โดยผ่านเวทีประชาคมให้ตัดสินใจร่วมกัน
นำาไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมมีปฏิทินการทำางานและติดตามประเมินผลร่วมกับภาคี
เครือข่ายสุขภาพชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และภาควิชาการในพื้นที่มาร่วมกันลงความคิดเห็น
สร้างข้อตกลงกำาหนดมาตรการให้คนในชุมชนทราบและยอมรับนำาไปสู่ปฏิบัติร่วมกันLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27041 [article] การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน = Community-Engaged Implementation of Public Healthcare Policies: A Challenging Role of Community Nurses : บทบาทที่ท้าทายของพยาบาลชุมชน [printed text] / รัชนี มิตกิตติ, Author . - 2016 . - p.26-36.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.26-36Keywords: นโยบายสาธารณะ. การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ. การมีส่วนร่วมของชุมชน. Abstract: บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ
เพื่อสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในบทบาทที่ท้าทายของพยาบาลชุมชนให้นำาไป
ประยุกต์ใช้ในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชนอย่างยั่งยืน โดยมีกระบวนการ
วิเคราะห์ทางเลือกไปสู่การสร้างนโยบายของชุมชนบนฐานข้อมูลและความรู้ที่เกี่ยวกับ
สุขภาพชุมชน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน โดยผ่านเวทีประชาคมให้ตัดสินใจร่วมกัน
นำาไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมมีปฏิทินการทำางานและติดตามประเมินผลร่วมกับภาคี
เครือข่ายสุขภาพชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และภาควิชาการในพื้นที่มาร่วมกันลงความคิดเห็น
สร้างข้อตกลงกำาหนดมาตรการให้คนในชุมชนทราบและยอมรับนำาไปสู่ปฏิบัติร่วมกันLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27041 การประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2554 / อติญาณ์ ศรเกษตริน in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : การประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2554 : ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ: กรณีศึกษา Material Type: printed text Authors: อติญาณ์ ศรเกษตริน, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.275-286 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.275-286Keywords: การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค.การบริหารงบประมาณ.การประเมินผล.การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข. Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1 แนวทางการบริหารงบประมาณการดำเนินงานการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคสำหรับพื้นที่ชุมชน 2. การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการบริหารงบประมาณสำหรับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค 3. ประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 11 สุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานงบประมาณ และการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และแแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา และสถิติเชิงพรรณา ผลการศึกษา พบว่า แนวทางการบริหารงบประมาณการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระดับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเน้นการจัดทำแผนแบบบูรณาการตามนโยบายรัฐและระเบียบวาระแห่งชาติ มีการจัดทำแผนแบบบูรณาการตามนโยบายของรัฐบาลและระเบียบวาระแห่งชาต มีการจัดทำแผนงานตามโครงการตามสภาพปัญหาของพื้นที่ในแต่ละจังหวัด ตามงบประมาณรายหัวประชากร สำหรับระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลส่วนใหญ่เป็นการบูรณาการกับงบประมาณส่วนอื่น ๆ เพื่อให้ดำเนินงานได้ครอบคลุม ผลของการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณาสุขในการบริหารงบประมาณดำเนินการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมีส่วนร่วมในระดับปานกลาง ผลลัพธ์การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค พบว่า มีการดำเนินการไม่เท่ากันและในบางตัวชี้วัดงานสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในทุกตัวชี้วัด โดยแต่ะละพื้นที่มีผลดำเนินการไม่เท่ากันและในบางตัวชี้วัดไม่มีการติดตามผลภายหลังการดำเนินการ ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษารูปแบบการบริหารกาารดำเนินการสุขภาพและป้องกันโรคและผลลัพธ์การดำเนินงานของพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละเขตพื้นที่ Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24994 [article] การประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2554 : ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ: กรณีศึกษา [printed text] / อติญาณ์ ศรเกษตริน, Author . - 2015 . - pp.275-286.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.275-286Keywords: การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค.การบริหารงบประมาณ.การประเมินผล.การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข. Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1 แนวทางการบริหารงบประมาณการดำเนินงานการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคสำหรับพื้นที่ชุมชน 2. การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการบริหารงบประมาณสำหรับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค 3. ประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 11 สุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานงบประมาณ และการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และแแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา และสถิติเชิงพรรณา ผลการศึกษา พบว่า แนวทางการบริหารงบประมาณการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระดับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเน้นการจัดทำแผนแบบบูรณาการตามนโยบายรัฐและระเบียบวาระแห่งชาติ มีการจัดทำแผนแบบบูรณาการตามนโยบายของรัฐบาลและระเบียบวาระแห่งชาต มีการจัดทำแผนงานตามโครงการตามสภาพปัญหาของพื้นที่ในแต่ละจังหวัด ตามงบประมาณรายหัวประชากร สำหรับระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลส่วนใหญ่เป็นการบูรณาการกับงบประมาณส่วนอื่น ๆ เพื่อให้ดำเนินงานได้ครอบคลุม ผลของการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณาสุขในการบริหารงบประมาณดำเนินการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมีส่วนร่วมในระดับปานกลาง ผลลัพธ์การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค พบว่า มีการดำเนินการไม่เท่ากันและในบางตัวชี้วัดงานสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในทุกตัวชี้วัด โดยแต่ะละพื้นที่มีผลดำเนินการไม่เท่ากันและในบางตัวชี้วัดไม่มีการติดตามผลภายหลังการดำเนินการ ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษารูปแบบการบริหารกาารดำเนินการสุขภาพและป้องกันโรคและผลลัพธ์การดำเนินงานของพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละเขตพื้นที่ Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24994 การประเมินผลการปฏิบัติงาน / อลงกรณ์ มีสุทธา / กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) - 2555
Title : การประเมินผลการปฏิบัติงาน Material Type: printed text Authors: อลงกรณ์ มีสุทธา ; สมิต สัชฌุกร Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 19 Publisher: กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) Publication Date: 2555 Pagination: [10], 295, [4] หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 26 cm. ISBN (or other code): 978-974-443-358-9 Price: 250.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การประเมินผลงาน
[LCSH]การวิเคราะห์งานKeywords: การประเมินผลงาน Class number: HF5549.5.J62 Abstract: Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22278 การประเมินผลการปฏิบัติงาน [printed text] / อลงกรณ์ มีสุทธา ; สมิต สัชฌุกร . - พิมพ์ครั้งที่ 19 . - กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2555 . - [10], 295, [4] หน้า : ภาพประกอบ ; 26 cm.
ISBN : 978-974-443-358-9 : 250.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การประเมินผลงาน
[LCSH]การวิเคราะห์งานKeywords: การประเมินผลงาน Class number: HF5549.5.J62 Abstract: Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22278 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000400471 HF5549.5.J62 อ423 2555 Book Main Library Library Counter Available การพัฒนาและประเมินผลการใช้รามาธิบดียางครอบท่อแท่งเจาะ เพื่อป้องกันลมรั่วขณะผ่าตัดผ่านกล้อง / ฌิชา ปิยสุนทราวงษ์ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 ([05/21/2016])
[article]
Title : การพัฒนาและประเมินผลการใช้รามาธิบดียางครอบท่อแท่งเจาะ เพื่อป้องกันลมรั่วขณะผ่าตัดผ่านกล้อง Original title : Development and assessment of the Ramathipbodi trocar cap as a prevention of air leak during Material Type: printed text Authors: ฌิชา ปิยสุนทราวงษ์, Author ; ณัฎฐ์ คำชัยโย, Author ; ปุณยนุช จุลนวล, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.41-51 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 [05/21/2016] . - p.41-51Keywords: รามาธิบดียาวครอบท่อแท่งเจาะ.การพัฒนา.การประเมินผล.การป้องกันลมรั่ว.การผ่าตัดผ่านกล้อง. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25637 [article] การพัฒนาและประเมินผลการใช้รามาธิบดียางครอบท่อแท่งเจาะ เพื่อป้องกันลมรั่วขณะผ่าตัดผ่านกล้อง = Development and assessment of the Ramathipbodi trocar cap as a prevention of air leak during [printed text] / ฌิชา ปิยสุนทราวงษ์, Author ; ณัฎฐ์ คำชัยโย, Author ; ปุณยนุช จุลนวล, Author . - 2016 . - p.41-51.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 [05/21/2016] . - p.41-51Keywords: รามาธิบดียาวครอบท่อแท่งเจาะ.การพัฒนา.การประเมินผล.การป้องกันลมรั่ว.การผ่าตัดผ่านกล้อง. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25637 พัฒนาการแบบยั่งยืนกับการแก้ปัญหาคนจน / วิทยากร เชียงกูล / กรุงเทพฯ : มูลนิธิวิถีทรรศน์ - 2547
Title : พัฒนาการแบบยั่งยืนกับการแก้ปัญหาคนจน Material Type: printed text Authors: วิทยากร เชียงกูล Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: กรุงเทพฯ : มูลนิธิวิถีทรรศน์ Publication Date: 2547 Series: วิถีทรรศน์ No. 40 Pagination: (14),138 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 21 ซม ISBN (or other code): 978-974-922426--7 General note: สนับสนุนโดยมูลนิธิภูมิปัญญา, มูลนิธิเติมน้ำใจให้สังคม. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คนจน -- นโยบายของรัฐ -- ไทย
[LCSH]ความจน -- ไทย
[LCSH]ปัญหาสังคม -- ไทยKeywords: นโยบายของรัฐ Class number: HC445.Z9P6 Abstract: สนับสนุนโดยมูลนิธิภูมิปัญญา, มูลนิธิเติมน้ำใจให้สังคม. Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=20689 พัฒนาการแบบยั่งยืนกับการแก้ปัญหาคนจน [printed text] / วิทยากร เชียงกูล . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - มูลนิธิวิถีทรรศน์, 2547 . - (14),138 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม. - (วิถีทรรศน์; 40) .
ISBN : 978-974-922426--7
สนับสนุนโดยมูลนิธิภูมิปัญญา, มูลนิธิเติมน้ำใจให้สังคม.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คนจน -- นโยบายของรัฐ -- ไทย
[LCSH]ความจน -- ไทย
[LCSH]ปัญหาสังคม -- ไทยKeywords: นโยบายของรัฐ Class number: HC445.Z9P6 Abstract: สนับสนุนโดยมูลนิธิภูมิปัญญา, มูลนิธิเติมน้ำใจให้สังคม. Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=20689 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000323152 HC445.Z9P6 ว583 2547 Audio Visual Main Library Library Counter Available รายงานการติดตามและประเมินผล / กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานเลาธิการสภาการศึกษา / ลำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา - 2556
Title : รายงานการติดตามและประเมินผล : การจัดการศึกษาตามนโยบาลด้านการศึกษาของรัฐบาล ประจำปี 2555 Material Type: printed text Authors: กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานเลาธิการสภาการศึกษา, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: ลำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา Publication Date: 2556 Pagination: ก-ญ, 114 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-270069-9 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารการศึกษา -- การประเมิน
[LCSH]การปฎิรูปการศึกษา -- การประเมิน
[LCSH]นโยบายการศึกษา -- การประเมินKeywords: การจัดการศึกษา.
นโยบายการศึกษา.Class number: LB3044.74 ศ831 2556 Abstract: รายงานฉบับนี้ แบ่งการศึกษาออกเป็น 7 ประการ ได้แก่ 1. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยการปฏิรูประบบความรู้ของสังคมไทย ในด้านการเรียนการสอน พบว่า ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเนื้อหาสาระของบทเรียนและสามารถเชื่อมโยงสู่การปฏิบัิตได้ มีการใฝ่เรียนรู้ และสามารถค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ด สื่อต่าง ๆ ได้ดี 2. การสร้างและกระจายโอกาสทางการศึกษา มีการสนับสนุนในหลายรูปแบบเพื่อเปิดโอกาสให้เด็ก เยาวชน และผู้ใหญ่ เข้าสู่ระบบการศึกษา แต่ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพบว่า ผู้เรียนยังเข้าเรียนไม่ครบทุกคน และมีการออกกลางคันในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมากที่สุด 3.การปฎิรูปครู ยกฐานะครูให้เป็นวิชาชีพชั้นสูงอย่างแท้จริง มีการเสริมสร้างความพร้่อมและความเข้มแข็งของสถาบันการผลิตครู 4. จัดการศึกษาอุดมศึกษาและอาชีวศึกษาให้สอดคล้องกับตลาดแรงงาน 5. การพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาให้ทัดเทียมกับนานาชาติ 6. การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างทุนปัญญาของชาติ 7. การเพิ่มขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ เพื่อรองรับการเปิดเสรีประชาคมอาเซียน พบว่า ความสามารถด้านภาษาอังกฤษจากการทดสอบ O-NET ชั้น ป.6 ม.3 และ ม.6 ปีการศึกษา 2555 คะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ มีเพียงร้อยละ 37.0 28.7 และ 22.1 ตามลำดับ ความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษของผู้เรียนทุกระดับการศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง และควรกำหนดให้มีหลักสูตรที่บูรณาการอาเซียนในทุกกลุ่มสาระ และทุกระดับการศึกษา Curricular : BALA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23276 รายงานการติดตามและประเมินผล : การจัดการศึกษาตามนโยบาลด้านการศึกษาของรัฐบาล ประจำปี 2555 [printed text] / กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานเลาธิการสภาการศึกษา, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - [S.l.] : ลำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2556 . - ก-ญ, 114 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
ISBN : 978-6-16-270069-9 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารการศึกษา -- การประเมิน
[LCSH]การปฎิรูปการศึกษา -- การประเมิน
[LCSH]นโยบายการศึกษา -- การประเมินKeywords: การจัดการศึกษา.
นโยบายการศึกษา.Class number: LB3044.74 ศ831 2556 Abstract: รายงานฉบับนี้ แบ่งการศึกษาออกเป็น 7 ประการ ได้แก่ 1. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยการปฏิรูประบบความรู้ของสังคมไทย ในด้านการเรียนการสอน พบว่า ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเนื้อหาสาระของบทเรียนและสามารถเชื่อมโยงสู่การปฏิบัิตได้ มีการใฝ่เรียนรู้ และสามารถค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ด สื่อต่าง ๆ ได้ดี 2. การสร้างและกระจายโอกาสทางการศึกษา มีการสนับสนุนในหลายรูปแบบเพื่อเปิดโอกาสให้เด็ก เยาวชน และผู้ใหญ่ เข้าสู่ระบบการศึกษา แต่ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพบว่า ผู้เรียนยังเข้าเรียนไม่ครบทุกคน และมีการออกกลางคันในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมากที่สุด 3.การปฎิรูปครู ยกฐานะครูให้เป็นวิชาชีพชั้นสูงอย่างแท้จริง มีการเสริมสร้างความพร้่อมและความเข้มแข็งของสถาบันการผลิตครู 4. จัดการศึกษาอุดมศึกษาและอาชีวศึกษาให้สอดคล้องกับตลาดแรงงาน 5. การพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาให้ทัดเทียมกับนานาชาติ 6. การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างทุนปัญญาของชาติ 7. การเพิ่มขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ เพื่อรองรับการเปิดเสรีประชาคมอาเซียน พบว่า ความสามารถด้านภาษาอังกฤษจากการทดสอบ O-NET ชั้น ป.6 ม.3 และ ม.6 ปีการศึกษา 2555 คะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ มีเพียงร้อยละ 37.0 28.7 และ 22.1 ตามลำดับ ความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษของผู้เรียนทุกระดับการศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง และควรกำหนดให้มีหลักสูตรที่บูรณาการอาเซียนในทุกกลุ่มสาระ และทุกระดับการศึกษา Curricular : BALA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23276 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000356228 LB3044.74 ศ831 2556 c.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000356210 LB3044.74 ศ831 2556 c.2 Book Main Library General Shelf Available หลักการประเมินผลนโยบายสาธารณะ / อติพร เกิดเรือง / กรุงเทพฯ: รังษีการพิมพ์ - 2559
Title : หลักการประเมินผลนโยบายสาธารณะ Original title : Principle of public policy evaluation Material Type: printed text Authors: อติพร เกิดเรือง, Author Publisher: กรุงเทพฯ: รังษีการพิมพ์ Publication Date: 2559 Pagination: 145 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-423938-8 Price: 200.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารโครงการ -- การประเมินผล
[LCSH]นโยบายสาธารณะ -- การประเมินKeywords: นโยบายสาธารณะ,
การพัฒนานโยบายClass number: JF429 อ142 2559 Abstract: การประเมินผลนโยบายสาธารณะ เป็นแนวคิดที่สำคัญทั้งในส่วนของภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อใช้เป็นกลไกในการติดตาม กำกับดูแล ตลอดจนเป็นแนวทางสำคัญที่จะได้นำข้อมูลไปใช้ในการตัดสินใจเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรค และพัฒนาการดำเนินงานของภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินนโยบายให้เกิดประสิทธิภาพและสามารถตรวจสอบที่มาและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26336 หลักการประเมินผลนโยบายสาธารณะ = Principle of public policy evaluation [printed text] / อติพร เกิดเรือง, Author . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: รังษีการพิมพ์, 2559 . - 145 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 21 ซม.
ISBN : 978-6-16-423938-8 : 200.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารโครงการ -- การประเมินผล
[LCSH]นโยบายสาธารณะ -- การประเมินKeywords: นโยบายสาธารณะ,
การพัฒนานโยบายClass number: JF429 อ142 2559 Abstract: การประเมินผลนโยบายสาธารณะ เป็นแนวคิดที่สำคัญทั้งในส่วนของภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อใช้เป็นกลไกในการติดตาม กำกับดูแล ตลอดจนเป็นแนวทางสำคัญที่จะได้นำข้อมูลไปใช้ในการตัดสินใจเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรค และพัฒนาการดำเนินงานของภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินนโยบายให้เกิดประสิทธิภาพและสามารถตรวจสอบที่มาและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26336 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591279 JF429 อ142 2559 c.1 Book Graduate Library General Shelf Available 32002000591303 JF429 อ142 2559 c.2 Book Graduate Library General Shelf Available