From this page you can:
Home |
Author details
Author วรรณศรี อุมาหฤทัย
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU THE-T. การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ / หทัยรัตน์ สนสกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ Original title : Implementing Land Traffic Act (Drunk Driving) into Practice Material Type: printed text Authors: หทัยรัตน์ สนสกุล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: ix, 95 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การนำนโยบายไปปฏิบัติ
[LCSH]พระราชบัญญัติจราจรทางบกKeywords: พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ), การนำนโยบายไปปฏิบัติ Abstract: วัตถุประสงค์ของการศึกษาเรื่อง การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ คือ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ และ 3) เพื่อหาแนวทางและวางแผนในการปฏิบัติตามนโยบายการใช้พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากผู้ใช้รถในจังหวัดปทุมธานี จำนวน 920 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ และใช้ค่าความถี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) มี 4 รูปแบบ ประกอบด้วย พฤติกรรมตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และถูกดำเนินคดีพบมากที่สุด รองลงมา ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ แต่ถูกดำเนินคดี และตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัดผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) พบว่า โดยรวม คือ ภูมิลำเนา และอาชีพสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ มาตรการของพระราชบัญญัติ และ การสนับสนุนของผู้นำท้องที่ แต่เมื่อพิจารณาแยกตามพฤติกรรมของผู้ใช้รถทั้ง 4 รูปแบบ โดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่ ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัด 2) การใช้อำนาจตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ในการใช้พระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติแต่ถูกดำเนินคดี 3) มาตรการของพระราชบัญญัติสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ และบทลงโทษของพระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติฯ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี และ 4) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่การสนับสนุนของผู้นำพื้นที่สื่อที่ใช้ในการรณรงค์ และการใช้อำนาจตัดสินของเจ้าหน้าที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติและถูกดำเนินคดี สำหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปปฏิบัติ พบว่า คือ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่มีผลต่อการตั้งใจปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดของผู้ใช้รถCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27882 SIU THE-T. การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ = Implementing Land Traffic Act (Drunk Driving) into Practice [printed text] / หทัยรัตน์ สนสกุล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - ix, 95 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การนำนโยบายไปปฏิบัติ
[LCSH]พระราชบัญญัติจราจรทางบกKeywords: พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ), การนำนโยบายไปปฏิบัติ Abstract: วัตถุประสงค์ของการศึกษาเรื่อง การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ คือ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ และ 3) เพื่อหาแนวทางและวางแผนในการปฏิบัติตามนโยบายการใช้พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากผู้ใช้รถในจังหวัดปทุมธานี จำนวน 920 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ และใช้ค่าความถี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) มี 4 รูปแบบ ประกอบด้วย พฤติกรรมตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และถูกดำเนินคดีพบมากที่สุด รองลงมา ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ แต่ถูกดำเนินคดี และตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัดผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) พบว่า โดยรวม คือ ภูมิลำเนา และอาชีพสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ มาตรการของพระราชบัญญัติ และ การสนับสนุนของผู้นำท้องที่ แต่เมื่อพิจารณาแยกตามพฤติกรรมของผู้ใช้รถทั้ง 4 รูปแบบ โดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่ ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัด 2) การใช้อำนาจตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ในการใช้พระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติแต่ถูกดำเนินคดี 3) มาตรการของพระราชบัญญัติสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ และบทลงโทษของพระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติฯ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี และ 4) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่การสนับสนุนของผู้นำพื้นที่สื่อที่ใช้ในการรณรงค์ และการใช้อำนาจตัดสินของเจ้าหน้าที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติและถูกดำเนินคดี สำหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปปฏิบัติ พบว่า คือ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่มีผลต่อการตั้งใจปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดของผู้ใช้รถCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27882 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000599041 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-08 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598985 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-08 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนาการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ / บุญล้น จันทะขิน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนาการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ Original title : Development Services to Excellence of the Royal Thai Police Sports Club Material Type: printed text Authors: บุญล้น จันทะขิน, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 68 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-17
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริการ -- การพัฒนา
[LCSH]การศึกษา -- การบริการAbstract: งานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ” มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย ได้แก่ (1) เพื่อศึกษากระบวนการการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ (2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีต่อการพัฒนาการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ และ (3) เพื่อนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรคการพัฒนาการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ โดยเป็นการศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพ (qualitative search) มีวิธีการวิจัย คือ การวิจัยจากเอกสาร (documentary research) และการวิจัยสนาม (field research)
สรุปผลการวิจัยตามประเด็นคำถามต่าง ๆ ได้ดังนี้ (1) ผลการศึกษาพบว่า การบริการของสโมสรตำรวจเป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดประชุมสัมมนา งานเลี้ยง งานสังสรรค์ งานกิจกรรมสันทนาการ พร้อมทั้งให้บริการสนามเทนนิส อาคารออกกำลังกาย สระว่ายน้ำ การบริการงานของสโมสรตำรวจ มีระเบียบคณะสวัสดิการภายในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ กำหนดให้มีคณะกรรมการสวัสดิการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เพื่อกำหนดนโยบาย อำนวยการ ควบคุม ดูแล โดยมีคณะอนุกรรมการสวัสดิการสโมสรตำรวจ ทำหน้าที่ในการจัดทำแผนดำเนินงานประจำปี พร้อมประมาณการรายได้ และค่าใช้จ่ายประจำปี เสนอคณะอนุกรรมการสวัสดิการสโมสรตำรวจ เพื่อพิจารณาอนุมัติ วางแผนการดำเนินการตามระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการสโมสรตำรวจ มีการมอบหมายแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ดำเนินการตามแผนการปฏิบัติราชการ มีการรายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น อย่างเป็นระบบถือว่าการบริการงานของสโมสรตำรวจมีความเหมาะสมดี นอกจากนี้ควรใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีหรือหลักธรรมาภิบาล เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ที่มาใช้บริการ มีการกำหนดขั้นตอน ระยะเวลา การดำเนินงานของแต่ละขั้นตอนของการปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของสโมสรตำรวจ และเกิดประสิทธิภาพในการทำงานของข้าราชการตำรวจและลูกจ้าง (2) ผลการศึกษาพบว่า การบริการของสโมสรตำรวจ มีผู้มาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และ เป็นสถานที่สำหรับจัดเลี้ยงรับรองในภารกิจที่สำคัญ เช่น การจัดงานเลี้ยงรับรองวันตำรวจ งานเลี้ยงรับรองเนื่องในโอกาสมอบประกาศเกียรติคุณในวาระข้าราชการตำรวจเกษียณอายุประจำปี งานประชุมสัมมนาระดับ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งปัญหาที่พบ คือยังขาดแคลน ด้านกำลังพลที่มีอัตรากำลังพลจากข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ราชการในด้านต่าง ๆ และลูกจ้างชั่วคราวที่มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการตลาด การโรงแรม การบริการสถานที่ อาหาร และเครื่องดื่ม เห็นได้ว่าเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานด้านนี้ ยังขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการตลาด การโรงแรม การบริการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน รวมถึงคณะอนุกรรมการสวัสดิการสโมสรตำรวจ ยังไม่มีนโยบายให้จัดหาเพิ่ม และ (3) ผลการศึกษาพบว่าแนวทางการแก้ปัญหา ควรจัดทำและเสนอแผนประจำปีขอบุคลากรเพิ่ม และควรมีการฝึกอบรมบุคลากรในทุก 6 เดือน เพื่อพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถของบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26531 SIU IS-T. การพัฒนาการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ = Development Services to Excellence of the Royal Thai Police Sports Club [printed text] / บุญล้น จันทะขิน, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 68 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-17
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริการ -- การพัฒนา
[LCSH]การศึกษา -- การบริการAbstract: งานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ” มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย ได้แก่ (1) เพื่อศึกษากระบวนการการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ (2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีต่อการพัฒนาการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ และ (3) เพื่อนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรคการพัฒนาการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ โดยเป็นการศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพ (qualitative search) มีวิธีการวิจัย คือ การวิจัยจากเอกสาร (documentary research) และการวิจัยสนาม (field research)
สรุปผลการวิจัยตามประเด็นคำถามต่าง ๆ ได้ดังนี้ (1) ผลการศึกษาพบว่า การบริการของสโมสรตำรวจเป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดประชุมสัมมนา งานเลี้ยง งานสังสรรค์ งานกิจกรรมสันทนาการ พร้อมทั้งให้บริการสนามเทนนิส อาคารออกกำลังกาย สระว่ายน้ำ การบริการงานของสโมสรตำรวจ มีระเบียบคณะสวัสดิการภายในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ กำหนดให้มีคณะกรรมการสวัสดิการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เพื่อกำหนดนโยบาย อำนวยการ ควบคุม ดูแล โดยมีคณะอนุกรรมการสวัสดิการสโมสรตำรวจ ทำหน้าที่ในการจัดทำแผนดำเนินงานประจำปี พร้อมประมาณการรายได้ และค่าใช้จ่ายประจำปี เสนอคณะอนุกรรมการสวัสดิการสโมสรตำรวจ เพื่อพิจารณาอนุมัติ วางแผนการดำเนินการตามระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการสโมสรตำรวจ มีการมอบหมายแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ดำเนินการตามแผนการปฏิบัติราชการ มีการรายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น อย่างเป็นระบบถือว่าการบริการงานของสโมสรตำรวจมีความเหมาะสมดี นอกจากนี้ควรใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีหรือหลักธรรมาภิบาล เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ที่มาใช้บริการ มีการกำหนดขั้นตอน ระยะเวลา การดำเนินงานของแต่ละขั้นตอนของการปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของสโมสรตำรวจ และเกิดประสิทธิภาพในการทำงานของข้าราชการตำรวจและลูกจ้าง (2) ผลการศึกษาพบว่า การบริการของสโมสรตำรวจ มีผู้มาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และ เป็นสถานที่สำหรับจัดเลี้ยงรับรองในภารกิจที่สำคัญ เช่น การจัดงานเลี้ยงรับรองวันตำรวจ งานเลี้ยงรับรองเนื่องในโอกาสมอบประกาศเกียรติคุณในวาระข้าราชการตำรวจเกษียณอายุประจำปี งานประชุมสัมมนาระดับ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งปัญหาที่พบ คือยังขาดแคลน ด้านกำลังพลที่มีอัตรากำลังพลจากข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ราชการในด้านต่าง ๆ และลูกจ้างชั่วคราวที่มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการตลาด การโรงแรม การบริการสถานที่ อาหาร และเครื่องดื่ม เห็นได้ว่าเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานด้านนี้ ยังขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการตลาด การโรงแรม การบริการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน รวมถึงคณะอนุกรรมการสวัสดิการสโมสรตำรวจ ยังไม่มีนโยบายให้จัดหาเพิ่ม และ (3) ผลการศึกษาพบว่าแนวทางการแก้ปัญหา ควรจัดทำและเสนอแผนประจำปีขอบุคลากรเพิ่ม และควรมีการฝึกอบรมบุคลากรในทุก 6 เดือน เพื่อพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถของบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26531 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591733 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-17 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591741 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-17 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร / กุลิสรา บริณตพงษ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร Original title : The Study on Business Development towards Strategic Plan for Health Service Promotion, Department of Health Service Support, Case Study: Spa Business in Wattana, Bangkok Material Type: printed text Authors: กุลิสรา บริณตพงษ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: x, 108 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-08
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บริหารธุรกิจ
[LCSH]แผนกลยุทธ์Keywords: การพัฒนา,
คุณภาพการให้บริการ,
กิจการสปาAbstract: การศึกษาการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนากิจการและปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ใช้บริการกิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และคำนวณค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ต่อจากนั้นนำมาวิเคราะห์เพื่อทดสอบสมมติฐานแต่ละข้อดังนี้ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ใช้การทดสอบไคสแควร์ ในส่วนกลยุทธ์ด้านการตลาดและบริหารงานต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนมากเป็นเพศหญิง มีอายุมากกว่า 30-40 ปี สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน (ร้อยละ 36.8) รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 25,000 บาท กลยุทธ์ด้านการตลาดอยู่ระดับมาก การบริหารงาน อยู่ระดับมาก และการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร อยู่ระดับมาก การทดสอบสมมุติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย รายได้เฉลี่ยต่อเดือน กลยุทธ์ด้านการตลาด ประกอบด้วยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการขาย และการบริหารงาน ประกอบด้วยด้านคุณภาพการบริการ ด้านการดูแลและติดตามผล ด้านนวัตกรรม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านความพึงพอใจมีความสัมพันธ์กับการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ข้อเสนอแนะในการวิจัย เพื่อเป็นการยกระดับกิจการสปาให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับทั้งภายในและต่างประเทศ ควรมีโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกิจการสปาเพื่อส่งเสริมกิจการสปา (ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องได้รับการพัฒนา) โครงการสัมมนาวิชาการด้านบริการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมระดับประเทศ (เช่น การประชุมวิชาการประจำปี/การสัมมนาสปานานาชาติ/การศึกษาดูงาน/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นต้น) และโครงการตรวจประเมินและรับรองหลักสูตรฯ
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26721 SIU IS-T. การพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร = The Study on Business Development towards Strategic Plan for Health Service Promotion, Department of Health Service Support, Case Study: Spa Business in Wattana, Bangkok [printed text] / กุลิสรา บริณตพงษ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - x, 108 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-08
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บริหารธุรกิจ
[LCSH]แผนกลยุทธ์Keywords: การพัฒนา,
คุณภาพการให้บริการ,
กิจการสปาAbstract: การศึกษาการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนากิจการและปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ใช้บริการกิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และคำนวณค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ต่อจากนั้นนำมาวิเคราะห์เพื่อทดสอบสมมติฐานแต่ละข้อดังนี้ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ใช้การทดสอบไคสแควร์ ในส่วนกลยุทธ์ด้านการตลาดและบริหารงานต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนมากเป็นเพศหญิง มีอายุมากกว่า 30-40 ปี สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน (ร้อยละ 36.8) รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 25,000 บาท กลยุทธ์ด้านการตลาดอยู่ระดับมาก การบริหารงาน อยู่ระดับมาก และการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร อยู่ระดับมาก การทดสอบสมมุติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย รายได้เฉลี่ยต่อเดือน กลยุทธ์ด้านการตลาด ประกอบด้วยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการขาย และการบริหารงาน ประกอบด้วยด้านคุณภาพการบริการ ด้านการดูแลและติดตามผล ด้านนวัตกรรม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านความพึงพอใจมีความสัมพันธ์กับการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ข้อเสนอแนะในการวิจัย เพื่อเป็นการยกระดับกิจการสปาให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับทั้งภายในและต่างประเทศ ควรมีโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกิจการสปาเพื่อส่งเสริมกิจการสปา (ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องได้รับการพัฒนา) โครงการสัมมนาวิชาการด้านบริการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมระดับประเทศ (เช่น การประชุมวิชาการประจำปี/การสัมมนาสปานานาชาติ/การศึกษาดูงาน/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นต้น) และโครงการตรวจประเมินและรับรองหลักสูตรฯ
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26721 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593267 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-08 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา / ปทิตตา โทสวนจิต / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา Original title : Participation of Public in Solving Drug Problems in Community Banmai Sub-District Maharaja District, Ayutthaya Province Material Type: printed text Authors: ปทิตตา โทสวนจิต, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: x, 84 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-25
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วม
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกันและการแก้ปัญหา
[LCSH]ยาเสพติด -- พระนครราชศรีอยุธยา -- บ้านใหม่Keywords: การมีส่วนร่วม,
ปัญหายาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) เรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชนตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยแวดล้อม และ 3) เพื่อทราบปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (questionnaire) ประชากร ได้แก่ ผู้ที่เป็นหัวหน้าครอบครัวหรือผู้แทนที่อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านใหม่จำนวน 546 คน เป็นตารางสำเร็จรูปของเครซี่และมอร์แกน (krejcie and morgan) โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 217 ตัวอย่าง และมีการเก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) ได้แก่ ผู้บริหารชุมชนนักพัฒนาชุมชนและผู้นำกลุ่มในชุมชน การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามนำมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์สถิติทางสังคมศาสตร์ เพื่อหาค่าสถิติต่าง ๆ ในส่วนข้อมูลจากแบบสอบถามปลายปิดและข้อมูลที่ได้จากข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ (data grouping) จากนั้นจึงนำมาวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาประกอบบริบท (content analysis technique) Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26613 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา = Participation of Public in Solving Drug Problems in Community Banmai Sub-District Maharaja District, Ayutthaya Province [printed text] / ปทิตตา โทสวนจิต, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - x, 84 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-25
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วม
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกันและการแก้ปัญหา
[LCSH]ยาเสพติด -- พระนครราชศรีอยุธยา -- บ้านใหม่Keywords: การมีส่วนร่วม,
ปัญหายาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) เรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชนตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยแวดล้อม และ 3) เพื่อทราบปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (questionnaire) ประชากร ได้แก่ ผู้ที่เป็นหัวหน้าครอบครัวหรือผู้แทนที่อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านใหม่จำนวน 546 คน เป็นตารางสำเร็จรูปของเครซี่และมอร์แกน (krejcie and morgan) โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 217 ตัวอย่าง และมีการเก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) ได้แก่ ผู้บริหารชุมชนนักพัฒนาชุมชนและผู้นำกลุ่มในชุมชน การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามนำมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์สถิติทางสังคมศาสตร์ เพื่อหาค่าสถิติต่าง ๆ ในส่วนข้อมูลจากแบบสอบถามปลายปิดและข้อมูลที่ได้จากข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ (data grouping) จากนั้นจึงนำมาวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาประกอบบริบท (content analysis technique) Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26613 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592640 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-25 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592616 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-25 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Due for return by 06/22/2024 SIU IS-T. การวิเคราะห์ความเสี่ยงและผลตอบแทนการลงทุนในตราสารอนุพันธ์ / รณยศ จูงอานุภาพ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การวิเคราะห์ความเสี่ยงและผลตอบแทนการลงทุนในตราสารอนุพันธ์ Original title : The Analysis of Risks and Returns on Investment with Derivative Material Type: printed text Authors: รณยศ จูงอานุภาพ, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: ix, 100 p. Layout: ill, tables Size: 30 cm. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2014-02
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตัดสินใจ -- ความเสี่ยง
[LCSH]การลงทุน -- ความเสี่ยง
[LCSH]หุ้นและการเล่นหุ้น -- ความเสี่ยงAbstract: การค้นคว้าอิสระเชิงคุณภาพ ในปัจจุบันการเก็งกำไรตั้งอยู่บนพื้นฐานของตลาดทุน ทำให้นักลงทุนต้องการแสวงหาผลประโยชน์จากการลงทุนและได้เพิ่มจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างทวีคูณ ด้วยความคาดหวังที่จะได้รับผลประโยชน์สูงสุด (ultimate return) จากการลงทุน จึงเป็นเหตุทำให้เกิดผลกระทบต่อความเสี่ยงที่เป็นปฏิภาคโดยตรงต่อกัน
การศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลตอบแทนและความเสี่ยงการลงทุนตราสารอนุพันธ์ ในปัจจุบันได้มีการลงทุนในตลาดหุ้นในรูปแบบต่างๆ เป็นจำนวนมาก ซึ่งการลงทุนในตราสารอนุพันธ์เป็นรูปแบบหนึ่งที่ได้รับความนิยมกันอย่างแพร่หลาย จึงทำให้การวิเคราะห์ความเสี่ยงและผลตอบแทนการลงทุนในตราสารอนุพันธ์มีความจำเป็นที่ต้องทำมากขึ้นCurricular : GE/MBA/MSM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26199 SIU IS-T. การวิเคราะห์ความเสี่ยงและผลตอบแทนการลงทุนในตราสารอนุพันธ์ = The Analysis of Risks and Returns on Investment with Derivative [printed text] / รณยศ จูงอานุภาพ, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - ix, 100 p. : ill, tables ; 30 cm.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2014-02
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตัดสินใจ -- ความเสี่ยง
[LCSH]การลงทุน -- ความเสี่ยง
[LCSH]หุ้นและการเล่นหุ้น -- ความเสี่ยงAbstract: การค้นคว้าอิสระเชิงคุณภาพ ในปัจจุบันการเก็งกำไรตั้งอยู่บนพื้นฐานของตลาดทุน ทำให้นักลงทุนต้องการแสวงหาผลประโยชน์จากการลงทุนและได้เพิ่มจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างทวีคูณ ด้วยความคาดหวังที่จะได้รับผลประโยชน์สูงสุด (ultimate return) จากการลงทุน จึงเป็นเหตุทำให้เกิดผลกระทบต่อความเสี่ยงที่เป็นปฏิภาคโดยตรงต่อกัน
การศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลตอบแทนและความเสี่ยงการลงทุนตราสารอนุพันธ์ ในปัจจุบันได้มีการลงทุนในตลาดหุ้นในรูปแบบต่างๆ เป็นจำนวนมาก ซึ่งการลงทุนในตราสารอนุพันธ์เป็นรูปแบบหนึ่งที่ได้รับความนิยมกันอย่างแพร่หลาย จึงทำให้การวิเคราะห์ความเสี่ยงและผลตอบแทนการลงทุนในตราสารอนุพันธ์มีความจำเป็นที่ต้องทำมากขึ้นCurricular : GE/MBA/MSM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26199 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590677 SIU IS-T: SOM-MBA-2014-02 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การศึกษาความพร้อมในการเข้าสู่สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล / สุรินทร์ เอียดแก้ว / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาความพร้อมในการเข้าสู่สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Study on Police Patrol and Special Operation Division Metropolitan Police Bureau’s Readiness Preparation to Enter the Association of Southeast Asian Nations Material Type: printed text Authors: สุรินทร์ เอียดแก้ว, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 83 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-14
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้Keywords: ความพร้อม
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาการค้นคว้าอิสระมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพร้อมและนำผลการศึกษาเป็นแนวทางในการเสริมสร้างความพร้อมในการเข้าสู่สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ ในด้านปัจจัยความพร้อม ประกอบด้วย ภาพลักษณ์ของตำรวจ ทักษะการใช้ภาษา กฎหมายและระเบียบต่างๆ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและการยกระดับขีดความสามารถในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26089 SIU IS-T. การศึกษาความพร้อมในการเข้าสู่สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Study on Police Patrol and Special Operation Division Metropolitan Police Bureau’s Readiness Preparation to Enter the Association of Southeast Asian Nations [printed text] / สุรินทร์ เอียดแก้ว, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 83 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-14
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้Keywords: ความพร้อม
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาการค้นคว้าอิสระมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพร้อมและนำผลการศึกษาเป็นแนวทางในการเสริมสร้างความพร้อมในการเข้าสู่สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ ในด้านปัจจัยความพร้อม ประกอบด้วย ภาพลักษณ์ของตำรวจ ทักษะการใช้ภาษา กฎหมายและระเบียบต่างๆ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและการยกระดับขีดความสามารถในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26089 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000506962 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-14 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000506921 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-14 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจประเภทการปลูกมะนาวส่งตลาดจังหวัดสุราษฎร์ธานี / สราวุธ วงษ์เพ็ง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจประเภทการปลูกมะนาวส่งตลาดจังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Feasibility Study to invest in Lemon Groves for Marketing in Suratthani Material Type: printed text Authors: สราวุธ วงษ์เพ็ง, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 63 น. Layout: ill, tables Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2014-06
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ธุรกิจ -- การตลาด
[LCSH]มะนาว -- การส่งออก
[LCSH]มะนาว -- สุราษฎร์ธานี -- ตลาดKeywords: ตลาดจังหวัดสุราษฎร์ธานี
การปลูกมะนาว
ราคามะนาวAbstract: รายงานการค้นคว้าอิสระเรื่องการศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจประเภทการปลูกมะนาวส่งตลาดจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย (1) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ด้านตลาดในการลงทุนทำธุรกิจปลูกมะนาว (2) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ด้านการเงินในการลงทุนทำธุรกิจปลูกมะนาวและ (3) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ด้านบริหารและการจัดการในการลงทุนทำธุรกิจปลูกมะนาว Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26203 SIU IS-T. การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจประเภทการปลูกมะนาวส่งตลาดจังหวัดสุราษฎร์ธานี = Feasibility Study to invest in Lemon Groves for Marketing in Suratthani [printed text] / สราวุธ วงษ์เพ็ง, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 63 น. : ill, tables ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2014-06
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ธุรกิจ -- การตลาด
[LCSH]มะนาว -- การส่งออก
[LCSH]มะนาว -- สุราษฎร์ธานี -- ตลาดKeywords: ตลาดจังหวัดสุราษฎร์ธานี
การปลูกมะนาว
ราคามะนาวAbstract: รายงานการค้นคว้าอิสระเรื่องการศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจประเภทการปลูกมะนาวส่งตลาดจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย (1) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ด้านตลาดในการลงทุนทำธุรกิจปลูกมะนาว (2) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ด้านการเงินในการลงทุนทำธุรกิจปลูกมะนาวและ (3) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ด้านบริหารและการจัดการในการลงทุนทำธุรกิจปลูกมะนาว Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26203 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590727 SIU IS-T: SOM-MBA-2014-06 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้พิการทางการเคลื่อนไหว ต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ / ถิรภัทร ประภาสิทธิ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้พิการทางการเคลื่อนไหว ต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ Original title : Expectation and Satisfaction of Physical Disability in Public Service Of District Officer at Chiang Mai District Office Material Type: printed text Authors: ถิรภัทร ประภาสิทธิ, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: x,88 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-14
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริการ -- การพัฒนา
[LCSH]คนพิการ -- สวัสดิการ -- เชียงใหม่
[LCSH]เจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอ -- การให้บริการ -- เชียงใหม่Keywords: ผู้พิการทางการเคลื่อนไหว
ความคาดหวังและความพึงพอใจ
คุณภาพการให้บริการAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อเปรียบเทียบระหว่างปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการบริการผู้พิการทางการเคลื่อนไหวอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ 1. เพศ 2. อายุ 3. สถานภาพสมรส 4. การศึกษา 5. อาชีพ 6. รายได้ จากผู้ตอบแบสอบถามจำนวน 229 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป มีสถานภาพโสด มีระดับการศึกษาต่ำกว่าอนุปริญญา/ประกาศนียบัตรชั้นสูง มีอาชีพประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น ขายลอตเตอร์ลี่ รับจ้างทำสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ธุรกิจร้านเกม ธุรกิจร้านอินเตอร์เน็ต ร้านหนังสือให้เช่า มีห้องให้เช่า เป็นต้น มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 25,000 บาท ส่วนปัจจัยทางด้านความคาดหวังของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จากการศึกษา พบว่า มีความคาดหวังต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้านความเชื่อมั่นในคุณภาพการให้บริการของเจ้าหน้าที่อยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาได้แก่ ด้านลักษณะทางกายภาพ ถัดมาคือ ด้านการตอบสนองอย่างรวดเร็วในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ และลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านความเอาใจใส่และมีอัธยาศัยไมตรีต่อผู้รับบริการ แต่อย่างไรก็ตามความคาดหวังของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยควรจัดให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในด้านการเปิดเผยข้อมูล ด้านระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายในการปฏิบัติงาน ด้านการกำหนดระยะเวลาปฏิบัติงานประกาศให้ผู้ใช้บริการทราบ ด้านกระบวนการ และด้านโครงการที่ที่ว่าการอำเภอเมืองได้จัดทำเพื่อบริการผู้พิการทางการเคลื่อนไหว ควรมีการขยายขอบเขตในด้านสถานที่ในการศึกษาเพิ่มเติม ควรทำการศึกษาในแนวลึกลงไปถึงประเด็นที่เกี่ยวข้องในด้านต่าง ๆ ให้ละเอียดและครอบคลุมมากขึ้นถึงสาเหตุดังกล่าว ควรมีการขยายขอบเขตในด้านเนื้อหาของการศึกษาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้บริการเพิ่มเติม เช่น ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการให้บริการกับผู้พิการทางการเคลื่อนไหวด้านต่าง ๆ เพื่อจะได้ส่งมอบการอำนวยความสะดวกในการให้บริการให้ตรงกับพฤติกรรมของผู้บริการต่อไป Curricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26532 SIU IS-T. ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้พิการทางการเคลื่อนไหว ต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ = Expectation and Satisfaction of Physical Disability in Public Service Of District Officer at Chiang Mai District Office [printed text] / ถิรภัทร ประภาสิทธิ, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - x,88 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-14
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริการ -- การพัฒนา
[LCSH]คนพิการ -- สวัสดิการ -- เชียงใหม่
[LCSH]เจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอ -- การให้บริการ -- เชียงใหม่Keywords: ผู้พิการทางการเคลื่อนไหว
ความคาดหวังและความพึงพอใจ
คุณภาพการให้บริการAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อเปรียบเทียบระหว่างปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการบริการผู้พิการทางการเคลื่อนไหวอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ 1. เพศ 2. อายุ 3. สถานภาพสมรส 4. การศึกษา 5. อาชีพ 6. รายได้ จากผู้ตอบแบสอบถามจำนวน 229 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป มีสถานภาพโสด มีระดับการศึกษาต่ำกว่าอนุปริญญา/ประกาศนียบัตรชั้นสูง มีอาชีพประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น ขายลอตเตอร์ลี่ รับจ้างทำสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ธุรกิจร้านเกม ธุรกิจร้านอินเตอร์เน็ต ร้านหนังสือให้เช่า มีห้องให้เช่า เป็นต้น มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 25,000 บาท ส่วนปัจจัยทางด้านความคาดหวังของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จากการศึกษา พบว่า มีความคาดหวังต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้านความเชื่อมั่นในคุณภาพการให้บริการของเจ้าหน้าที่อยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาได้แก่ ด้านลักษณะทางกายภาพ ถัดมาคือ ด้านการตอบสนองอย่างรวดเร็วในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ และลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านความเอาใจใส่และมีอัธยาศัยไมตรีต่อผู้รับบริการ แต่อย่างไรก็ตามความคาดหวังของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยควรจัดให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในด้านการเปิดเผยข้อมูล ด้านระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายในการปฏิบัติงาน ด้านการกำหนดระยะเวลาปฏิบัติงานประกาศให้ผู้ใช้บริการทราบ ด้านกระบวนการ และด้านโครงการที่ที่ว่าการอำเภอเมืองได้จัดทำเพื่อบริการผู้พิการทางการเคลื่อนไหว ควรมีการขยายขอบเขตในด้านสถานที่ในการศึกษาเพิ่มเติม ควรทำการศึกษาในแนวลึกลงไปถึงประเด็นที่เกี่ยวข้องในด้านต่าง ๆ ให้ละเอียดและครอบคลุมมากขึ้นถึงสาเหตุดังกล่าว ควรมีการขยายขอบเขตในด้านเนื้อหาของการศึกษาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้บริการเพิ่มเติม เช่น ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการให้บริการกับผู้พิการทางการเคลื่อนไหวด้านต่าง ๆ เพื่อจะได้ส่งมอบการอำนวยความสะดวกในการให้บริการให้ตรงกับพฤติกรรมของผู้บริการต่อไป Curricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26532 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591766 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-14 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591758 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-14 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล / ธวัชชัย แตงอ่อน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : People’s Satisfaction Towards Services Provided by the Patrol and Special Operation Division, Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: ธวัชชัย แตงอ่อน, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 66 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-15
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]การบริการ -- ความพอใจ
[LCSH]ข้าราชการ -- ไทย
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ความพึงพอใจ
การให้บริการ
กองกำกับการสายตรวจ
กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาเรื่องความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของ กองกำกับการสายตรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลและนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทางเสริมสร้างความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26096 SIU IS-T. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล = People’s Satisfaction Towards Services Provided by the Patrol and Special Operation Division, Metropolitan Police Bureau [printed text] / ธวัชชัย แตงอ่อน, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 66 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-15
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]การบริการ -- ความพอใจ
[LCSH]ข้าราชการ -- ไทย
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ความพึงพอใจ
การให้บริการ
กองกำกับการสายตรวจ
กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาเรื่องความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของ กองกำกับการสายตรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลและนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทางเสริมสร้างความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26096 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591451 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-15 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000590107 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-15 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ความศรัทธาของนักธุรกิจต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และเจ้าหน้าที่สรรพากร / นัชพณ ฤทธิ์คำรพ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : ความศรัทธาของนักธุรกิจต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และเจ้าหน้าที่สรรพากร Original title : The Faith of Businessmen in the Work Operation of Police Officers and Tax Revenue Officers Material Type: printed text Authors: นัชพณ ฤทธิ์คำรพ, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xi, 172 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความเชื่อถือได้
[LCSH]นักธุรกิจ
[LCSH]เจ้าหน้าที่ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]เจ้าหน้าที่สรรพากร -- การปฏิบัติงานKeywords: ความศรัทธา,
เจ้าหน้าที่ตำรวจ,
เจ้าหน้าที่สรรพากรAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความศรัทธาของนักธุรกิจต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจและเจ้าหน้าที่สรรพากร และ 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความศรัทธาของนักธุรกิจต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจและเจ้าหน้าที่สรรพากร
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้การสำรวจเก็บข้อมูลจากนักธุรกิจเอกชน ในอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี จำนวน 392 คน จากประชากรนักธุรกิจเอกชน จำนวน 20,055 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ใช้แบบสอบถามที่ผ่านตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและความเชื่อมั่น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ
ผลการวิจัยพบว่า ระดับความศรัทธาของนักธุรกิจต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 2.96) และ เจ้าหน้าสรรพากร อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.11)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความศรัทธาของนักธุรกิจต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และ มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เห็นจากค่าสัมประสิทธิ์มากไปหาน้อย ได้แก่ 1) ภาวะผู้นำ (X1) 2) พฤติกรรมของเจ้าหน้าที่ผู้ปฎิบัติ (X2) และ 3) ประสิทธิภาพของกลไกในการตรวจสอบและถ่วงดุล (X4) โดยมีสมการพยากรณ์ Ý1 = 0.596 + 0.474X1 + 0.268X2 + 0.156X4 และ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ R2 = 0.515
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความศรัทธาของนักธุรกิจต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สรรพากรเจ้าหน้าที่สรรพากรและมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เห็นจากค่าสัมประสิทธิ์มากไปหาน้อย ได้แก่ 1) ประสิทธิภาพของกลไกในการตรวจสอบและถ่วงดุล (X4) 2) พฤติกรรมของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ (X2) 3) ภาวะผู้นำ (X1) และ 4) ประสิทธิภาพของการสื่อสาร (X3) โดยมีสมการพยากรณ์ Ý2 = 0.327 + 0.107X1 + 0.353X2 + 0.212X3 + 0.380X4 และ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ R2 = 0.659
ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการทำงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจจะได้รับความศรัทธาจากนักธุรกิจมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับภาวะผู้นำ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าระบบของตำรวจยังไม่ดีพอ ส่วนเจ้าหน้าที่สรรพากร จะได้รับความศรัทธาจากนักธุรกิจมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับระบบการตรวจสอบและถ่วงดุล
จึงเห็นว่าสองหน่วยงานแตกต่างกัน ทั้งนี้ เนื่องจากระบบงานของตำรวจตามทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ เป็นระบบราชการแบบดั้งเดิม การบริหารขึ้นอยู่กับภาวะผู้นำ เป็นการบริหารจัดการภาครัฐที่เน้นสายบังคับบัญชา มีขั้นตอนการควบคุมที่มีความชัดเจน และส่วนระบบงานของสรรพากรเป็นการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ มีการใช้ระบบการตรวจสอบและถ่วงดุล เพื่อป้องกันมิให้อำนาจอยู่ในมือของฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเพียงฝ่ายเดียวCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26627 SIU THE-T. ความศรัทธาของนักธุรกิจต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และเจ้าหน้าที่สรรพากร = The Faith of Businessmen in the Work Operation of Police Officers and Tax Revenue Officers [printed text] / นัชพณ ฤทธิ์คำรพ, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xi, 172 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความเชื่อถือได้
[LCSH]นักธุรกิจ
[LCSH]เจ้าหน้าที่ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]เจ้าหน้าที่สรรพากร -- การปฏิบัติงานKeywords: ความศรัทธา,
เจ้าหน้าที่ตำรวจ,
เจ้าหน้าที่สรรพากรAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความศรัทธาของนักธุรกิจต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจและเจ้าหน้าที่สรรพากร และ 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความศรัทธาของนักธุรกิจต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจและเจ้าหน้าที่สรรพากร
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้การสำรวจเก็บข้อมูลจากนักธุรกิจเอกชน ในอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี จำนวน 392 คน จากประชากรนักธุรกิจเอกชน จำนวน 20,055 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ใช้แบบสอบถามที่ผ่านตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและความเชื่อมั่น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ
ผลการวิจัยพบว่า ระดับความศรัทธาของนักธุรกิจต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 2.96) และ เจ้าหน้าสรรพากร อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.11)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความศรัทธาของนักธุรกิจต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และ มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เห็นจากค่าสัมประสิทธิ์มากไปหาน้อย ได้แก่ 1) ภาวะผู้นำ (X1) 2) พฤติกรรมของเจ้าหน้าที่ผู้ปฎิบัติ (X2) และ 3) ประสิทธิภาพของกลไกในการตรวจสอบและถ่วงดุล (X4) โดยมีสมการพยากรณ์ Ý1 = 0.596 + 0.474X1 + 0.268X2 + 0.156X4 และ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ R2 = 0.515
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความศรัทธาของนักธุรกิจต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สรรพากรเจ้าหน้าที่สรรพากรและมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เห็นจากค่าสัมประสิทธิ์มากไปหาน้อย ได้แก่ 1) ประสิทธิภาพของกลไกในการตรวจสอบและถ่วงดุล (X4) 2) พฤติกรรมของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ (X2) 3) ภาวะผู้นำ (X1) และ 4) ประสิทธิภาพของการสื่อสาร (X3) โดยมีสมการพยากรณ์ Ý2 = 0.327 + 0.107X1 + 0.353X2 + 0.212X3 + 0.380X4 และ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ R2 = 0.659
ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการทำงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจจะได้รับความศรัทธาจากนักธุรกิจมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับภาวะผู้นำ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าระบบของตำรวจยังไม่ดีพอ ส่วนเจ้าหน้าที่สรรพากร จะได้รับความศรัทธาจากนักธุรกิจมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับระบบการตรวจสอบและถ่วงดุล
จึงเห็นว่าสองหน่วยงานแตกต่างกัน ทั้งนี้ เนื่องจากระบบงานของตำรวจตามทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ เป็นระบบราชการแบบดั้งเดิม การบริหารขึ้นอยู่กับภาวะผู้นำ เป็นการบริหารจัดการภาครัฐที่เน้นสายบังคับบัญชา มีขั้นตอนการควบคุมที่มีความชัดเจน และส่วนระบบงานของสรรพากรเป็นการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ มีการใช้ระบบการตรวจสอบและถ่วงดุล เพื่อป้องกันมิให้อำนาจอยู่ในมือของฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเพียงฝ่ายเดียวCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26627 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592798 SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592822 SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / ศิริวัฒน์ มนัสพรหม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : (Understanding Toward Operation of News of International Terrorism Official Police Sub-Division 4 Special Branch 2 Division Royal Thai Police) Material Type: printed text Authors: ศิริวัฒน์ มนัสพรหม, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 70 p. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-21
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาบุคลากร
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่
การข่าวการก่อการร้ายสากล
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4
สำนักงานตำรวจแห่งชาติAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่งานด้านการข่าวการก่อการร้ายสากล ของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล
2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ และเพื่อเสนอแนะและนำผลการศึกษาไปปรับปรุงและพัฒนาความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากล ของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4
กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม ทำการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที t-test และสถิติการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าว การก่อการร้ายสากลในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ส่วนการทดสอบสมมติฐานพบว่า ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล
2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่มีอายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อายุราชการและระดับชั้นยศข้าราชการแตกต่างกัน มีความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลไม่แตกต่างกัน
ส่วนข้าราชการตำรวจที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกัน มีความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
การปฏิบัติงานด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลให้มีประสิทธิภาพจะต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ร่วมกับข้อมูลต่างๆ ที่น่าเชื่อถือ นำมาวิเคราะห์ ตั้งประเด็น และสรุปเป็นข่าวกรอง ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้ล้วนมีความสำคัญและสนับสนุนซึ่งกันและกัน
จากผลการศึกษาที่ได้รับผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะให้ผู้บังคับบัญชาควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากรในสังกัดให้มีความรู้และความเช้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลในทุกด้านเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้การปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้นCurricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26610 SIU IS-T. ความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = (Understanding Toward Operation of News of International Terrorism Official Police Sub-Division 4 Special Branch 2 Division Royal Thai Police) [printed text] / ศิริวัฒน์ มนัสพรหม, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 70 p. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-21
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาบุคลากร
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่
การข่าวการก่อการร้ายสากล
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4
สำนักงานตำรวจแห่งชาติAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่งานด้านการข่าวการก่อการร้ายสากล ของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล
2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ และเพื่อเสนอแนะและนำผลการศึกษาไปปรับปรุงและพัฒนาความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากล ของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4
กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม ทำการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที t-test และสถิติการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าว การก่อการร้ายสากลในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ส่วนการทดสอบสมมติฐานพบว่า ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล
2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่มีอายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อายุราชการและระดับชั้นยศข้าราชการแตกต่างกัน มีความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลไม่แตกต่างกัน
ส่วนข้าราชการตำรวจที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกัน มีความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
การปฏิบัติงานด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลให้มีประสิทธิภาพจะต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ร่วมกับข้อมูลต่างๆ ที่น่าเชื่อถือ นำมาวิเคราะห์ ตั้งประเด็น และสรุปเป็นข่าวกรอง ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้ล้วนมีความสำคัญและสนับสนุนซึ่งกันและกัน
จากผลการศึกษาที่ได้รับผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะให้ผู้บังคับบัญชาควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากรในสังกัดให้มีความรู้และความเช้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลในทุกด้านเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้การปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้นCurricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26610 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592582 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-21 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592558 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-21 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความเข้าใจพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 ว่าด้วยวินัยและการดำเนินการทางวินัยของข้าราชการตำรวจ งานสายตรวจ 2 กองกำกับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล / ปกิต มูลเพ็ญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : ความเข้าใจพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 ว่าด้วยวินัยและการดำเนินการทางวินัยของข้าราชการตำรวจ งานสายตรวจ 2 กองกำกับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Understanding of the National Police Act B.E. 2547 on Discipline and Disciplinary Action by Police Officers, Patrol Division 2, Patrol and Special Operation Division, Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: ปกิต มูลเพ็ญ, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 98 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]ข้าราชการ -- วินัย
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติKeywords: ความเข้าใจ
พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547
กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาการค้นคว้าอิสระ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 ว่าด้วยวินัยและการดำเนินการทางวินัยของข้าราชการตำรวจ งานสายตรวจ 2 กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล และนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทางในการปรับปรุงและเสริมสร้างความเข้าใจ Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26086 SIU IS-T. ความเข้าใจพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 ว่าด้วยวินัยและการดำเนินการทางวินัยของข้าราชการตำรวจ งานสายตรวจ 2 กองกำกับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Understanding of the National Police Act B.E. 2547 on Discipline and Disciplinary Action by Police Officers, Patrol Division 2, Patrol and Special Operation Division, Metropolitan Police Bureau [printed text] / ปกิต มูลเพ็ญ, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 98 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]ข้าราชการ -- วินัย
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติKeywords: ความเข้าใจ
พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547
กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาการค้นคว้าอิสระ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 ว่าด้วยวินัยและการดำเนินการทางวินัยของข้าราชการตำรวจ งานสายตรวจ 2 กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล และนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทางในการปรับปรุงและเสริมสร้างความเข้าใจ Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26086 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000506780 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-11 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000506913 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-11 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวนสถานีตำรวจ โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา / วัชระ คำอำพันธ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวนสถานีตำรวจ โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา Original title : Quality of Work Life of the Police Commissionerfor Pho Klang Police Station Nakhon Ratchasima Material Type: printed text Authors: วัชระ คำอำพันธ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 87 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต -- สถานีตำรวจโพธิ์กลาง -- นครราชสีมา
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิต
คุณภาพการทำงาน
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ
ชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจชั้นประทวน โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และเงินเดือน 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานกับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา การวิจัยหลักครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามแบบปลายปิดและแบบปลายเปิดเป็นเครื่องสำคัญในการวิจัย โดยมีขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร จำนวน 110 คน จากการศึกษาผลการศึกษาทางด้านประชากรศาสตร์ พบว่า ข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตามเพศส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำแนกตามกลุ่มอายุส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 30 -40 ปี รองลงมาคือ มีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี ถัดมาคือ มีอายุต่ำกว่า 30 ปี และอันดับสุดท้าย ได้แก่ มีอายุ 51 ปีขึ้นไป จำแนกตามระดับการศึกษา ส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี รองลงมาคือ มีการศึกษาต่ำกว่า ปริญญาตรี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี จำแนกตามรายได้ ส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือนตั้งแต่ 20,001 บาทขึ้นไป รองลงมาคือ
มีรายได้ระหว่าง 15,000 – 20,000 บาท และมีรายได้ต่ำกว่า 15,000 บาท จำนวนน้อยที่สุด จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 10-15 ปี รองลงมาคือ มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 16-20 ปี ถัดมาคือ มีประสบการณ์ทำงานต่ำกว่า 10 ปี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ มีประสบการณ์ทำงาน 21 ปีขึ้นไป และผลการศึกษาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา ปัจจัยด้านการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก หากพิจารณาเป็นรายข้อ ความสำเร็จในชีวิตการงานมีค่าเฉลี่ย 3.71 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.50 รองลงมาคือ การปฏิบัติงานภายใต้นโยบายและการบริหาร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.52 ถัดมาคือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเป็นปัจจัยในการปฏิบัติงาน มีความสำคัญอยู่ในอันดับสามมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.51 ถัดไปได้แก่ การบังคับบัญชา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 ความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ และลักษณะงาน มีค่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.46 และ 3.41 ตามลำดับ ส่วนทางด้านคุณภาพชีวิตของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา
อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ส่วนใหญ่จะเป็นความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคม อยู่ในอันดับสูงสุด รองลงมาคือ การมีธรรมนูญในองค์การ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.60 ถัดมา คือ การบูรณาการด้านสังคม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.49 ถัดไปคือ ด้านสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ การพัฒนาความสามารถของบุคคลความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน ความสมดุลระหว่างชีวิตงานกับชีวิตด้านอื่น และค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.47, 3.46, 3.44, 3.42 และ 3.22 ตามลำดับ ข้อเสนอแนะจากการศึกษาควรมีการศึกษาแนวทางในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตการทำงานที่ดีขึ้น ควรมีการศึกษาตัวแปรอื่น ๆ ที่อาจส่งผลต่อคุณภาพชีวิต และควรมีการศึกษาเพิ่มเติมด้วยการใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสี มาเพื่อจะได้พัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานให้มีมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26607 SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวนสถานีตำรวจ โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา = Quality of Work Life of the Police Commissionerfor Pho Klang Police Station Nakhon Ratchasima [printed text] / วัชระ คำอำพันธ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 87 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต -- สถานีตำรวจโพธิ์กลาง -- นครราชสีมา
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิต
คุณภาพการทำงาน
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ
ชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจชั้นประทวน โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และเงินเดือน 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานกับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา การวิจัยหลักครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามแบบปลายปิดและแบบปลายเปิดเป็นเครื่องสำคัญในการวิจัย โดยมีขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร จำนวน 110 คน จากการศึกษาผลการศึกษาทางด้านประชากรศาสตร์ พบว่า ข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตามเพศส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำแนกตามกลุ่มอายุส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 30 -40 ปี รองลงมาคือ มีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี ถัดมาคือ มีอายุต่ำกว่า 30 ปี และอันดับสุดท้าย ได้แก่ มีอายุ 51 ปีขึ้นไป จำแนกตามระดับการศึกษา ส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี รองลงมาคือ มีการศึกษาต่ำกว่า ปริญญาตรี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี จำแนกตามรายได้ ส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือนตั้งแต่ 20,001 บาทขึ้นไป รองลงมาคือ
มีรายได้ระหว่าง 15,000 – 20,000 บาท และมีรายได้ต่ำกว่า 15,000 บาท จำนวนน้อยที่สุด จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 10-15 ปี รองลงมาคือ มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 16-20 ปี ถัดมาคือ มีประสบการณ์ทำงานต่ำกว่า 10 ปี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ มีประสบการณ์ทำงาน 21 ปีขึ้นไป และผลการศึกษาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา ปัจจัยด้านการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก หากพิจารณาเป็นรายข้อ ความสำเร็จในชีวิตการงานมีค่าเฉลี่ย 3.71 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.50 รองลงมาคือ การปฏิบัติงานภายใต้นโยบายและการบริหาร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.52 ถัดมาคือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเป็นปัจจัยในการปฏิบัติงาน มีความสำคัญอยู่ในอันดับสามมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.51 ถัดไปได้แก่ การบังคับบัญชา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 ความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ และลักษณะงาน มีค่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.46 และ 3.41 ตามลำดับ ส่วนทางด้านคุณภาพชีวิตของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา
อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ส่วนใหญ่จะเป็นความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคม อยู่ในอันดับสูงสุด รองลงมาคือ การมีธรรมนูญในองค์การ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.60 ถัดมา คือ การบูรณาการด้านสังคม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.49 ถัดไปคือ ด้านสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ การพัฒนาความสามารถของบุคคลความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน ความสมดุลระหว่างชีวิตงานกับชีวิตด้านอื่น และค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.47, 3.46, 3.44, 3.42 และ 3.22 ตามลำดับ ข้อเสนอแนะจากการศึกษาควรมีการศึกษาแนวทางในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตการทำงานที่ดีขึ้น ควรมีการศึกษาตัวแปรอื่น ๆ ที่อาจส่งผลต่อคุณภาพชีวิต และควรมีการศึกษาเพิ่มเติมด้วยการใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสี มาเพื่อจะได้พัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานให้มีมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26607 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592533 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592541 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. บทบาทของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ดในการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ / รัฐชาติ ทัศนัย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : บทบาทของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ดในการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ Original title : The Role of Buriram United Football Club in the Development of Buriram Province Material Type: printed text Authors: รัฐชาติ ทัศนัย, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ฐ, 243 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-05
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาเมือง -- ไทย -- บุรีรัมย์
[LCSH]ฟุตบอล -- แง่เศรษฐกิจ
[LCSH]สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด -- การบริหารKeywords: การบริหารจัดการสโมสรฟุตบอล
การพัฒนาจังหวัดAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 2) เพื่อศึกษาผลของการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 4) เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางทฤษฏีว่ามีปัจจัยภายใต้ทฤษฏีใดที่อธิบายการพัฒนาจังหวัดผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด โดยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี คือ การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 390 คน ด้วยการสุ่มอย่างง่ายจากประชาชนที่เข้าชมการแข่งขันฟุตบอลที่สนามนิวไอโมบายสเตเดียม จังหวัดบุรีรัมย์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน ใช้การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ สำหรับวิชัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการค้นคว้าผ่านเอกสาร สื่อออนไลน์ การสังเกตการณ์ และการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 11 คน Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26550 SIU THE-T. บทบาทของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ดในการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ = The Role of Buriram United Football Club in the Development of Buriram Province [printed text] / รัฐชาติ ทัศนัย, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ฐ, 243 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-05
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาเมือง -- ไทย -- บุรีรัมย์
[LCSH]ฟุตบอล -- แง่เศรษฐกิจ
[LCSH]สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด -- การบริหารKeywords: การบริหารจัดการสโมสรฟุตบอล
การพัฒนาจังหวัดAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 2) เพื่อศึกษาผลของการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 4) เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางทฤษฏีว่ามีปัจจัยภายใต้ทฤษฏีใดที่อธิบายการพัฒนาจังหวัดผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด โดยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี คือ การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 390 คน ด้วยการสุ่มอย่างง่ายจากประชาชนที่เข้าชมการแข่งขันฟุตบอลที่สนามนิวไอโมบายสเตเดียม จังหวัดบุรีรัมย์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน ใช้การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ สำหรับวิชัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการค้นคว้าผ่านเอกสาร สื่อออนไลน์ การสังเกตการณ์ และการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 11 คน Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26550 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590461 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-05 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591956 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-05 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรในพื้นที่จังหวัดราชบุรี / พงษ์รวี ค้าทวี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรในพื้นที่จังหวัดราชบุรี Original title : Factors Affecting to Performance in Eliminating Narcotics Consumption by the Police Narcotics Ad Hoc Provincial Police in Ratchaburi Province Material Type: printed text Authors: พงษ์รวี ค้าทวี, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 89 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ยาเสพติด -- ราชบุรี -- การป้องกันและควบคุมKeywords: ปัจจัย
ผลกระทบ
การปฏิบัติงาน
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 2) วิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาการดำเนินงาน 3) ศึกษาหาวิธีการแก้ไขสาเหตุของปัจจัยในการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ชุดป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของสถานีตำรวจภูธรในจังหวัดราชบุรี เพศชาย จำนวน 167 นาย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม 2 กลุ่มด้วย t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี LSD
ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานเรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน ด้านสมรรถนะของบุคลากร และด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน ด้านการยอมรับในอำนาจหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน และด้านเวลาและการจัดสรรทรัพยากร ตามลำดับ 2. สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาในการทำงานมากที่สุด พบว่า การติดต่อสื่อสารและการประสานงานและด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน 3. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อายุงาน ชั้นยศ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และการเข้ารับการอบรมที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ 1. การติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ผู้บังคับบัญชาควรอธิบายแผนงานที่สั่งการไปยังเจ้าหน้าที่ตำรวจ ถึงวัตถุประสงค์ วิธีการ ผลลัพธ์ที่ต้องการ ตลอดจนรับฟังความคิดเห็น และให้โอกาสเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ซักถาม เพื่อให้เจ้าหน้าที่ตำรวจได้
ทำงานด้วยความเข้าใจ มีการติดต่อ ประสานงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการป้องกันปราบปรามยาเสพติด ในรูปแบบการทำงานแบบบูรณาการร่วมกัน 2. การฝึกอบรม ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้ทราบวัตถุประสงค์กระบวนการการทำงาน เป็นแนวทางให้แก่ผู้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ด้านการใช้เทคโนโลยี ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว สามารถดูข้อมูลย้อนหลังได้ และมีความเป็นระบบมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26526 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรในพื้นที่จังหวัดราชบุรี = Factors Affecting to Performance in Eliminating Narcotics Consumption by the Police Narcotics Ad Hoc Provincial Police in Ratchaburi Province [printed text] / พงษ์รวี ค้าทวี, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 89 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ยาเสพติด -- ราชบุรี -- การป้องกันและควบคุมKeywords: ปัจจัย
ผลกระทบ
การปฏิบัติงาน
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 2) วิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาการดำเนินงาน 3) ศึกษาหาวิธีการแก้ไขสาเหตุของปัจจัยในการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ชุดป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของสถานีตำรวจภูธรในจังหวัดราชบุรี เพศชาย จำนวน 167 นาย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม 2 กลุ่มด้วย t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี LSD
ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานเรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน ด้านสมรรถนะของบุคลากร และด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน ด้านการยอมรับในอำนาจหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน และด้านเวลาและการจัดสรรทรัพยากร ตามลำดับ 2. สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาในการทำงานมากที่สุด พบว่า การติดต่อสื่อสารและการประสานงานและด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน 3. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อายุงาน ชั้นยศ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และการเข้ารับการอบรมที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ 1. การติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ผู้บังคับบัญชาควรอธิบายแผนงานที่สั่งการไปยังเจ้าหน้าที่ตำรวจ ถึงวัตถุประสงค์ วิธีการ ผลลัพธ์ที่ต้องการ ตลอดจนรับฟังความคิดเห็น และให้โอกาสเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ซักถาม เพื่อให้เจ้าหน้าที่ตำรวจได้
ทำงานด้วยความเข้าใจ มีการติดต่อ ประสานงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการป้องกันปราบปรามยาเสพติด ในรูปแบบการทำงานแบบบูรณาการร่วมกัน 2. การฝึกอบรม ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้ทราบวัตถุประสงค์กระบวนการการทำงาน เป็นแนวทางให้แก่ผู้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ด้านการใช้เทคโนโลยี ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว สามารถดูข้อมูลย้อนหลังได้ และมีความเป็นระบบมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26526 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591691 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591709 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available