From this page you can:
Home |
Search results
20 result(s) search for keyword(s) 'ทัศนคติ, หาบเร่แผงลอย, นโยบาย'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU IS-T. ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอย บริเวณแยกราชประสงค์ / สุกัญญา สุขะเต / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอย บริเวณแยกราชประสงค์ Original title : Attitudes of People towards Policy in Arranging Hawkers and Street Vendors at the Ratchaprasong Intersection Material Type: printed text Authors: สุกัญญา สุขะเต, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 84 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-05
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดระเบียบชุมชน
[LCSH]ประชากร -- ทัศนคติ -- หาบเร่แผงลอยKeywords: ทัศนคติ,
หาบเร่แผงลอย,
นโยบายAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ และเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนผู้ใช้เส้นทางบริเวณแยกราชประสงค์ จำนวน 300 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ ทั้ง 5 ด้าน ในภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก เมื่อแยกเป็นรายด้าน อันดับแรกคือ ด้านความเข้าใจ รองลงมาคือ ด้านการจัดสภาพแวดล้อม ด้านนโยบาย ด้านพฤติกรรม และด้านความรู้สึก เป็นอันดับสุดท้าย ผลการทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ พบว่า ประชาชนที่มีเพศ และรายได้ต่างกัน มีทัศนคติต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ ไม่แตกต่างกัน ส่วนประชาชนที่มีอายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน มีทัศนคติต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณราชประสงค์ แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26728 SIU IS-T. ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอย บริเวณแยกราชประสงค์ = Attitudes of People towards Policy in Arranging Hawkers and Street Vendors at the Ratchaprasong Intersection [printed text] / สุกัญญา สุขะเต, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 84 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-05
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดระเบียบชุมชน
[LCSH]ประชากร -- ทัศนคติ -- หาบเร่แผงลอยKeywords: ทัศนคติ,
หาบเร่แผงลอย,
นโยบายAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ และเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนผู้ใช้เส้นทางบริเวณแยกราชประสงค์ จำนวน 300 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ ทั้ง 5 ด้าน ในภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก เมื่อแยกเป็นรายด้าน อันดับแรกคือ ด้านความเข้าใจ รองลงมาคือ ด้านการจัดสภาพแวดล้อม ด้านนโยบาย ด้านพฤติกรรม และด้านความรู้สึก เป็นอันดับสุดท้าย ผลการทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ พบว่า ประชาชนที่มีเพศ และรายได้ต่างกัน มีทัศนคติต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ ไม่แตกต่างกัน ส่วนประชาชนที่มีอายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน มีทัศนคติต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณราชประสงค์ แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26728 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593341 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-05 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593317 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-05 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available Old book collection. สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง / มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม / 2557
Collection Title: Old book collection Title : สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง : สู่การปฏิรูปประเทศจากฐานราก Material Type: printed text Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, Author Publication Date: 2557 Pagination: 120 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 29 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-279457-5 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการชุมชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย
[LCSH]ข้าว -- นโยบายของรัฐ
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ชุมชน -- การแก้ปัญหาKeywords: การพัฒนาชุมชน.
การจัดการชุมชน.
ข้าว.
นโยบายของรัฐ.Class number: WA100 ส743 2557 Contents note: 11 ตัวชี้วัด โรคอ้วน. -- 10 สถานการณ์เด่นทางสุขภาพ.-- 4 ผลงานดี ๆ เพื่อสุขภาพคนไทย.-- เรื่องพิเศษประจำฉบับ ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง สู่การปฎิรูปประเทศจากฐานราก.-- Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23813 Old book collection. สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง : สู่การปฏิรูปประเทศจากฐานราก [printed text] / มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, Author . - 2557 . - 120 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.
ISBN : 978-6-16-279457-5 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการชุมชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย
[LCSH]ข้าว -- นโยบายของรัฐ
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ชุมชน -- การแก้ปัญหาKeywords: การพัฒนาชุมชน.
การจัดการชุมชน.
ข้าว.
นโยบายของรัฐ.Class number: WA100 ส743 2557 Contents note: 11 ตัวชี้วัด โรคอ้วน. -- 10 สถานการณ์เด่นทางสุขภาพ.-- 4 ผลงานดี ๆ เพื่อสุขภาพคนไทย.-- เรื่องพิเศษประจำฉบับ ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง สู่การปฎิรูปประเทศจากฐานราก.-- Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23813 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000399061 WA100 ส743 2557 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000399053 WA100 ส743 2557 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available SIU IS-T. การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ / ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ Original title : The Policy Implementation of Cash Allowance for the Elderly in Wangpong Subdistric Administration Organization, Pran Buri District, Prachuap Khiri Khan Province Material Type: printed text Authors: ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: v, 75 น. Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ประจวบคีรีขันธ์ -- ปราณบุรี -- -- วังก์พง
[LCSH]เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุKeywords: นโยบาย,
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาเรื่องการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบล ศึกษาปัญหาและอุปสรรค และศึกษาแนวทางแก้ไขปรับปรุงการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากร เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จำนวน 9 คนใช้การวิจัยแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) โดยคำถามเป็นแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า วิธีการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติมีกระบวนการดำเนินงานคือ 1. ทำการศึกษารายละเอียดระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 2.ทำการประชุม วางแผน มอบหมายหน้าที่ 3. ทำการประชาสัมพันธ์ 4. รับขึ้นทะเบียนผู้สูงอายุ ด้านขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงานตามนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงว่ามีความเหมาะสม ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่ามีปัญหาจากนโยบายระเบียบและแนวทางการปฏิบัติ ไม่สอดคล้องกับพื้นที่การปฏิบัติงานของบุคลากรและความต้องการของประชาชน ปัญหาการประสานงานร่วมมือกับหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ปัญหาด้านการประชาสัมพันธ์ และปัญหาเรื่องการจ่ายเงินให้ผู้สูงอายุที่เสียชีวิตแล้ว ส่วนปัจจัยที่ทำให้การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติเกิดผลสำเร็จหรือเกิดความล้มเหลว ได้แก่ ตัวของนโยบาย ผู้ที่คิดนโยบาย ผู้นำนโยบายไปปฏิบัติและผู้สูงอายุ ผลการวิจัยด้านการปรับปรุง พัฒนาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติให้ดีขึ้นพบว่า สิ่งที่ควรปรับปรุง คือ บุคลากรหรือพนักงานที่เกี่ยวข้องควรศึกษานโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้ละเอียดและเข้าใจ รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ผู้สูงอายุเข้าใจหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพ เพื่อความเข้าใจและสะดวกรวดเร็ว นอกจากนี้ ควรมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการย้ายเข้า ย้ายออกของผู้สูงอายุกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และควรเปลี่ยนหลักเกณฑ์จากการจ่ายเบี้ยยังชีพให้เป็นแบบจำนวนที่เท่ากันและควรเพิ่มจำนวนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอื่นๆให้มากขึ้นด้วยCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26893 SIU IS-T. การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ = The Policy Implementation of Cash Allowance for the Elderly in Wangpong Subdistric Administration Organization, Pran Buri District, Prachuap Khiri Khan Province [printed text] / ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - v, 75 น. ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ประจวบคีรีขันธ์ -- ปราณบุรี -- -- วังก์พง
[LCSH]เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุKeywords: นโยบาย,
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาเรื่องการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบล ศึกษาปัญหาและอุปสรรค และศึกษาแนวทางแก้ไขปรับปรุงการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากร เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จำนวน 9 คนใช้การวิจัยแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) โดยคำถามเป็นแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า วิธีการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติมีกระบวนการดำเนินงานคือ 1. ทำการศึกษารายละเอียดระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 2.ทำการประชุม วางแผน มอบหมายหน้าที่ 3. ทำการประชาสัมพันธ์ 4. รับขึ้นทะเบียนผู้สูงอายุ ด้านขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงานตามนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงว่ามีความเหมาะสม ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่ามีปัญหาจากนโยบายระเบียบและแนวทางการปฏิบัติ ไม่สอดคล้องกับพื้นที่การปฏิบัติงานของบุคลากรและความต้องการของประชาชน ปัญหาการประสานงานร่วมมือกับหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ปัญหาด้านการประชาสัมพันธ์ และปัญหาเรื่องการจ่ายเงินให้ผู้สูงอายุที่เสียชีวิตแล้ว ส่วนปัจจัยที่ทำให้การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติเกิดผลสำเร็จหรือเกิดความล้มเหลว ได้แก่ ตัวของนโยบาย ผู้ที่คิดนโยบาย ผู้นำนโยบายไปปฏิบัติและผู้สูงอายุ ผลการวิจัยด้านการปรับปรุง พัฒนาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติให้ดีขึ้นพบว่า สิ่งที่ควรปรับปรุง คือ บุคลากรหรือพนักงานที่เกี่ยวข้องควรศึกษานโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้ละเอียดและเข้าใจ รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ผู้สูงอายุเข้าใจหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพ เพื่อความเข้าใจและสะดวกรวดเร็ว นอกจากนี้ ควรมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการย้ายเข้า ย้ายออกของผู้สูงอายุกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และควรเปลี่ยนหลักเกณฑ์จากการจ่ายเบี้ยยังชีพให้เป็นแบบจำนวนที่เท่ากันและควรเพิ่มจำนวนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอื่นๆให้มากขึ้นด้วยCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26893 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593713 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593721 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก / อารีวรรณ สว่างธรรมขจร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก Original title : The Evaluation of First Car Policy Material Type: printed text Authors: อารีวรรณ สว่างธรรมขจร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 95 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นโยบายเศรษฐกิจ
[LCSH]รถยนต์ -- การซื้อKeywords: การประเมินผล,
นโยบาย,
รถยนต์คันแรกAbstract: การศึกษาเรื่องการประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายรถยนต์คันแรกมาปฏิบัติ และ ประเมินปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่ได้ซื้อรถยนต์คันแรก และได้รับสิทธิ์คืนภาษีรถยนต์คันแรก ในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ประชาชนผู้ใช้สิทธิ์ซื้อรถยนต์คันแรก 4 คน ผู้ประกอบกิจการรถยนต์ 2 คน และ บุคคลที่เกี่ยวข้อง 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) ลักษณะคำถามแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ประกอบกิจการรถยนต์และบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นเพศหญิง 7 คน และเพศชาย 1 คน ผลกระทบหลักของนโยบายรถยนต์คันแรก คือ ทำให้เศรษฐกิจดีขึ้นเป็นกระตุ้นรายได้ของภาคอุตสาหกรรมรถยนต์และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้อย่างมาก ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในด้านการคมนาคม กระบวนการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ขั้นตอนในการบริหารชัดเจน และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างมีระบบ ส่วนผลกระทบของนโยบายรถยนต์คันแรก ได้แก่ ทำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดเพิ่มมากขึ้น มีมลภาวะทางอากาศเพิ่มขึ้น เพิ่มภาระหนี้ให้กับประชาชน เพราะไม่ได้วางแผนในการใช้เงินอย่างเป็นระบบ ส่วนปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติ พบปัญหาด้านการจราจรที่ติดขัด เนื่องจากระบบคมนาคมไม่พร้อมในการรองรับรถยนต์คันแรกที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีที่จอดรถไม่เพียงพอ เนื่องจากนโยบายรถยนต์คันแรกของรัฐบาลเป็นนโยบายเร่งด่วน ปัญหาด้านการบริหารจัดการนโยบาย พบว่า ผู้รับสิทธิ์ได้รับเงินคืนภาษีล่าช้า การคืนเงินให้ไม่ตรงตามกำหนดระยะเวลาที่แจ้งไว้ และหลักเกณฑ์ที่รัฐบาลกำหนดไม่ตรงกับกับเงื่อนไขบางประเภท และปัญหาด้านการสิ้นเปลืองพลังงาน เมื่อมีการใช้รถยนต์มากขึ้นก็จะทำให้สูญเสียพลังงานมากขึ้นเช่นกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26894 SIU IS-T. การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก = The Evaluation of First Car Policy [printed text] / อารีวรรณ สว่างธรรมขจร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 95 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นโยบายเศรษฐกิจ
[LCSH]รถยนต์ -- การซื้อKeywords: การประเมินผล,
นโยบาย,
รถยนต์คันแรกAbstract: การศึกษาเรื่องการประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายรถยนต์คันแรกมาปฏิบัติ และ ประเมินปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่ได้ซื้อรถยนต์คันแรก และได้รับสิทธิ์คืนภาษีรถยนต์คันแรก ในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ประชาชนผู้ใช้สิทธิ์ซื้อรถยนต์คันแรก 4 คน ผู้ประกอบกิจการรถยนต์ 2 คน และ บุคคลที่เกี่ยวข้อง 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) ลักษณะคำถามแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ประกอบกิจการรถยนต์และบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นเพศหญิง 7 คน และเพศชาย 1 คน ผลกระทบหลักของนโยบายรถยนต์คันแรก คือ ทำให้เศรษฐกิจดีขึ้นเป็นกระตุ้นรายได้ของภาคอุตสาหกรรมรถยนต์และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้อย่างมาก ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในด้านการคมนาคม กระบวนการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ขั้นตอนในการบริหารชัดเจน และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างมีระบบ ส่วนผลกระทบของนโยบายรถยนต์คันแรก ได้แก่ ทำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดเพิ่มมากขึ้น มีมลภาวะทางอากาศเพิ่มขึ้น เพิ่มภาระหนี้ให้กับประชาชน เพราะไม่ได้วางแผนในการใช้เงินอย่างเป็นระบบ ส่วนปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติ พบปัญหาด้านการจราจรที่ติดขัด เนื่องจากระบบคมนาคมไม่พร้อมในการรองรับรถยนต์คันแรกที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีที่จอดรถไม่เพียงพอ เนื่องจากนโยบายรถยนต์คันแรกของรัฐบาลเป็นนโยบายเร่งด่วน ปัญหาด้านการบริหารจัดการนโยบาย พบว่า ผู้รับสิทธิ์ได้รับเงินคืนภาษีล่าช้า การคืนเงินให้ไม่ตรงตามกำหนดระยะเวลาที่แจ้งไว้ และหลักเกณฑ์ที่รัฐบาลกำหนดไม่ตรงกับกับเงื่อนไขบางประเภท และปัญหาด้านการสิ้นเปลืองพลังงาน เมื่อมีการใช้รถยนต์มากขึ้นก็จะทำให้สูญเสียพลังงานมากขึ้นเช่นกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26894 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593739 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593747 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การศึกษาการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน / วุฒิชัย ธรรมมิยะ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน Original title : A Study of Implementation of Land Transportation Accident Prevention Policy Practice at Bang Chan Metropolitan Police Station Material Type: printed text Authors: วุฒิชัย ธรรมมิยะ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vi, 70 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-39
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]อุบัติเหตุ -- การป้องกัน Keywords: นโยบาย,
การป้องกัน,
อุบัติเหตุAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน เป็นการในเชิงคุณภาพ (qualitative research) เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากตำรวจที่ทำงานที่สถานีตำรวจบางรักด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลจากการศึกษา พบว่า นโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติเป็นนโยบายที่มาจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จึงมีแนวทางการปฏิบัติตามนโยบายจึงมีส่วนคล้ายกันทั่วประเทศ ยกเว้นเขตสถานีตำรวจไหนที่มีความเสี่ยงมากก็จะมีโครงการต่างๆ เพิ่มขึ้น ซึ่งทางสำนักงานตำรวจแห่งชาติให้อำนาจแก่สถานีตำรวจต่างๆ อยู่แล้ว การดำเนินตามนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน ได้ปฏิบัติตามนโยบายของสำนักงานตำรวจแห่งชาติอย่างเคร่งครัดโดยมีโครงการต่างๆ ทั้งโครงการที่มาจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติและโครงการที่สถานีตำรวจนครบาลบางชันจัดขึ้น ส่วนอุปสรรคในการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ส่วนใหญ่เกิดจากงบประมาณมีน้อย การจัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ไม่ได้มาตรฐาน เพราะอุปกรณ์พวกนี้ทางสถานีไม่ได้จัดซื้อเอง เจ้าหน้าที่ขาดทักษะในการ ใช้งาน ขาดการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ได้มาใหม่ นอกจากนี้แนวทางในการแก้ไขปัญหาการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน พบว่าควรมีการจัดป้ายประชาสัมพันธ์ เพื่อลดอุบัติเหตุ ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทราบทุกวัน การอบรมเรื่องวินัยจราจร ตามโรงเรียนต่างๆ จะชวยแก้ปัญหาได้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27266 SIU IS-T. การศึกษาการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน = A Study of Implementation of Land Transportation Accident Prevention Policy Practice at Bang Chan Metropolitan Police Station [printed text] / วุฒิชัย ธรรมมิยะ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vi, 70 น. : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-39
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]อุบัติเหตุ -- การป้องกัน Keywords: นโยบาย,
การป้องกัน,
อุบัติเหตุAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน เป็นการในเชิงคุณภาพ (qualitative research) เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากตำรวจที่ทำงานที่สถานีตำรวจบางรักด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลจากการศึกษา พบว่า นโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติเป็นนโยบายที่มาจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จึงมีแนวทางการปฏิบัติตามนโยบายจึงมีส่วนคล้ายกันทั่วประเทศ ยกเว้นเขตสถานีตำรวจไหนที่มีความเสี่ยงมากก็จะมีโครงการต่างๆ เพิ่มขึ้น ซึ่งทางสำนักงานตำรวจแห่งชาติให้อำนาจแก่สถานีตำรวจต่างๆ อยู่แล้ว การดำเนินตามนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน ได้ปฏิบัติตามนโยบายของสำนักงานตำรวจแห่งชาติอย่างเคร่งครัดโดยมีโครงการต่างๆ ทั้งโครงการที่มาจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติและโครงการที่สถานีตำรวจนครบาลบางชันจัดขึ้น ส่วนอุปสรรคในการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ส่วนใหญ่เกิดจากงบประมาณมีน้อย การจัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ไม่ได้มาตรฐาน เพราะอุปกรณ์พวกนี้ทางสถานีไม่ได้จัดซื้อเอง เจ้าหน้าที่ขาดทักษะในการ ใช้งาน ขาดการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ได้มาใหม่ นอกจากนี้แนวทางในการแก้ไขปัญหาการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน พบว่าควรมีการจัดป้ายประชาสัมพันธ์ เพื่อลดอุบัติเหตุ ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทราบทุกวัน การอบรมเรื่องวินัยจราจร ตามโรงเรียนต่างๆ จะชวยแก้ปัญหาได้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27266 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594851 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-39 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594869 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-39 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี ที่มีผลอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของกองบังคับการตำรวจจราจรกองบัญชาการตำรวจนครบาล / อนุสรณ์ พิมพ์สว่าง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี ที่มีผลอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของกองบังคับการตำรวจจราจรกองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : The Study of Attitudes and Behaviors of Vehicle Drivers using the Elevated Borommaratchachonnani Road Resulted from Traffic Congestion Solutions of Traffic Police Division, Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: อนุสรณ์ พิมพ์สว่าง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vi, 81 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-18
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบังคับการตำราวจจราจร
[LCSH]จราจรKeywords: ทัศนคติและพฤติกรรม,
การจราจร,
ผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีที่มีผลอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของกองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีที่มีผลอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของ กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล การศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 400 ตัวอย่างโดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบร้อยละ ในการสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราช เป็นการแจกแจงจำนวน (ความถี่) และร้อยละ จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจากข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีเป็นข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 26-35 ปี สถานภาพสมรสแล้วมีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพการทำงานเป็นพนักงานบริษัทเอกชน และรายได้อยู่ระหว่าง 20,001 - 30,000 บาท ในการสรุปผลการวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยที่สำคัญ 6 ด้าน ประกอบด้วย ด้านความบกพร่องทางด้านร่างกาย จิตใจและอารมณ์ ด้านความรู้ความชำนาญ และประสบการณ์ในการใช้ถนน ด้านปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือข้อบังคับ ด้านความระมัดระวัง หรือความไม่ประมาท ด้านสภาพสิ่งแวดล้อมด้านการบริหารและการจัดการที่ส่งผลต่อทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีที่มีผลอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของกองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยมีรายละเอียดดังนี้ ด้านความรู้ความชำนาญ และประสบการณ์ในการใช้ถนน ด้านความระมัดระวัง หรือความไม่ประมาท ด้านสภาพสิ่งแวดล้อม ด้านการบริหารและการจัดการ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีระดับพฤติกรรมของปัจจัยที่ส่งผลต่อผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของ กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือข้อบังคับ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีระดับพฤติกรรมของปัจจัยที่ส่งผลต่อผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของ กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีข้อเสนอแนะคือควรมีการศึกษาพฤติกรรมป้องกันอุบัติเหตุในการขับขี่รถยนต์ โดยศึกษาปัจจัยด้านอื่นๆ ที่มีผลต่อพฤติกรรมป้องกันอุบัติเหตุ ควรศึกษาพฤติกรรมการขับขี่ของผู้ขับขี่รถยนต์ ในเชิงคุณภาพให้มากขึ้น เพื่อนำสู่การแก้ไขปัญหาการเกิดอุบัติเหตุจราจรได้ Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26902 SIU IS-T. การศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี ที่มีผลอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของกองบังคับการตำรวจจราจรกองบัญชาการตำรวจนครบาล = The Study of Attitudes and Behaviors of Vehicle Drivers using the Elevated Borommaratchachonnani Road Resulted from Traffic Congestion Solutions of Traffic Police Division, Metropolitan Police Bureau [printed text] / อนุสรณ์ พิมพ์สว่าง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vi, 81 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-18
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบังคับการตำราวจจราจร
[LCSH]จราจรKeywords: ทัศนคติและพฤติกรรม,
การจราจร,
ผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีที่มีผลอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของกองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีที่มีผลอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของ กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล การศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 400 ตัวอย่างโดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบร้อยละ ในการสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราช เป็นการแจกแจงจำนวน (ความถี่) และร้อยละ จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจากข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีเป็นข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 26-35 ปี สถานภาพสมรสแล้วมีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพการทำงานเป็นพนักงานบริษัทเอกชน และรายได้อยู่ระหว่าง 20,001 - 30,000 บาท ในการสรุปผลการวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยที่สำคัญ 6 ด้าน ประกอบด้วย ด้านความบกพร่องทางด้านร่างกาย จิตใจและอารมณ์ ด้านความรู้ความชำนาญ และประสบการณ์ในการใช้ถนน ด้านปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือข้อบังคับ ด้านความระมัดระวัง หรือความไม่ประมาท ด้านสภาพสิ่งแวดล้อมด้านการบริหารและการจัดการที่ส่งผลต่อทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีที่มีผลอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของกองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยมีรายละเอียดดังนี้ ด้านความรู้ความชำนาญ และประสบการณ์ในการใช้ถนน ด้านความระมัดระวัง หรือความไม่ประมาท ด้านสภาพสิ่งแวดล้อม ด้านการบริหารและการจัดการ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีระดับพฤติกรรมของปัจจัยที่ส่งผลต่อผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของ กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือข้อบังคับ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีระดับพฤติกรรมของปัจจัยที่ส่งผลต่อผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของ กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีข้อเสนอแนะคือควรมีการศึกษาพฤติกรรมป้องกันอุบัติเหตุในการขับขี่รถยนต์ โดยศึกษาปัจจัยด้านอื่นๆ ที่มีผลต่อพฤติกรรมป้องกันอุบัติเหตุ ควรศึกษาพฤติกรรมการขับขี่ของผู้ขับขี่รถยนต์ ในเชิงคุณภาพให้มากขึ้น เพื่อนำสู่การแก้ไขปัญหาการเกิดอุบัติเหตุจราจรได้ Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26902 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593903 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-18 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593879 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-18 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี / ณัฐพงศ์ ขอจุลซ้วน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Resident’s Attitudes toward Services from Traffic Police in Ta-Chana District, Surattani Province Material Type: printed text Authors: ณัฐพงศ์ ขอจุลซ้วน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2015 Pagination: x, 100 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- สุราษฎร์ธานี -- ท่าชนะ
[LCSH]ตำรวจจราจร
[LCSH]ประชาชน -- ทัศนคติ -- ตำรวจKeywords: ทัศนคติ,
การบริการ,
ตำรวจจราจรAbstract: การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และศึกษาข้อเสนอแนะของประชาชน เพื่อปรับปรุงการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจร ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากประชาชนในเขตอำเภอท่าชนะ จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t-test, F-test
ผลการวิจัยพบว่า การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านความเชื่อมั่นไว้วางใจได้ ด้านการให้ความมั่นใจ ด้านการเข้าใจและรู้จัก ด้านความเป็นรูปธรรม และด้านการตอบสนอง ตามลำดับการเปรียบเทียบการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ สถานภาพ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน ข้อเสนอแนะของประชาชนในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน พบว่า สัญญาณไฟจราจรควรเป็นแบบตัวเลข จัดทำป้ายหรือเครื่องหมายจราจรให้ชัดเจน ตำรวจจราจรปฏิบัติหน้าที่อย่างเสมอภาคและมีความซื่อสัตย์สุจริต ในการปฏิบัติหน้าที่รับฟังความคิดเห็นของประชาชน แสดงกิริยามารยาทที่ดีต่อประชาชน และไปถึงที่เกิดเหตุให้รวดเร็ว ควรจัดหาวิธีที่ทำให้ประชาชนมีความรู้สึกปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และควบคุมการจราจรอย่างสม่ำเสมอCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26660 SIU IS-T. การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี = Resident’s Attitudes toward Services from Traffic Police in Ta-Chana District, Surattani Province [printed text] / ณัฐพงศ์ ขอจุลซ้วน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015 . - x, 100 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- สุราษฎร์ธานี -- ท่าชนะ
[LCSH]ตำรวจจราจร
[LCSH]ประชาชน -- ทัศนคติ -- ตำรวจKeywords: ทัศนคติ,
การบริการ,
ตำรวจจราจรAbstract: การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และศึกษาข้อเสนอแนะของประชาชน เพื่อปรับปรุงการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจร ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากประชาชนในเขตอำเภอท่าชนะ จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t-test, F-test
ผลการวิจัยพบว่า การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านความเชื่อมั่นไว้วางใจได้ ด้านการให้ความมั่นใจ ด้านการเข้าใจและรู้จัก ด้านความเป็นรูปธรรม และด้านการตอบสนอง ตามลำดับการเปรียบเทียบการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ สถานภาพ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน ข้อเสนอแนะของประชาชนในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน พบว่า สัญญาณไฟจราจรควรเป็นแบบตัวเลข จัดทำป้ายหรือเครื่องหมายจราจรให้ชัดเจน ตำรวจจราจรปฏิบัติหน้าที่อย่างเสมอภาคและมีความซื่อสัตย์สุจริต ในการปฏิบัติหน้าที่รับฟังความคิดเห็นของประชาชน แสดงกิริยามารยาทที่ดีต่อประชาชน และไปถึงที่เกิดเหตุให้รวดเร็ว ควรจัดหาวิธีที่ทำให้ประชาชนมีความรู้สึกปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และควบคุมการจราจรอย่างสม่ำเสมอCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26660 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593168 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-06 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593135 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-06 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ทัศนคติของประชาชนต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล กรณีศึกษา : เทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี / สุภาพร แย้มกลิ่น / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU IS-T Title : ทัศนคติของประชาชนต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล กรณีศึกษา : เทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี : People’s Attitudes toward Governance Administration : A Case of Nonthaburi Municipal, Nonthaburi Province Material Type: printed text Authors: สุภาพร แย้มกลิ่น, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: viii, 85 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2018-01
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ทัศนคติ
[LCSH]ธรรมาภิบาลKeywords: ทัศนคติ, การบริหาร, ธรรมภิบาล Abstract: วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาระดับทัศนคติและเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล กรณีศึกษาเทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จากผู้ใช้บริการที่เทศบาลนครนนทบุรี จำนวน 400 คน วิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และทดสอบตัวแปรและสมมติฐานโดยใช้สถิติ
t – test, F – test ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง มีอายุอยู่ระหว่าง 41 - 50 ปี มีสถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพเป็นพนักงานบริษัท รายได้เฉลี่ยต่อเดือนสูงกว่า 15,000 บาท ผลวิจัยยังพบว่าประชาชนผู้ใช้บริการมีทัศนคติต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลเทศบาลนครนนทบุรีจังหวัดนนทบุรีอยู่ในระดับดี โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ มีหลักนิติธรรม หลักความคุ้มค่า หลักความรับผิดชอบ หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม และหลักคุณธรรม ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีผลต่อทัศนคติต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลเทศบาลนครนนทบุรีจังหวัดนนทบุรีแตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27773 SIU IS-T. ทัศนคติของประชาชนต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล กรณีศึกษา : เทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี : People’s Attitudes toward Governance Administration : A Case of Nonthaburi Municipal, Nonthaburi Province [printed text] / สุภาพร แย้มกลิ่น, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - viii, 85 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2018-01
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ทัศนคติ
[LCSH]ธรรมาภิบาลKeywords: ทัศนคติ, การบริหาร, ธรรมภิบาล Abstract: วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาระดับทัศนคติและเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล กรณีศึกษาเทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จากผู้ใช้บริการที่เทศบาลนครนนทบุรี จำนวน 400 คน วิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และทดสอบตัวแปรและสมมติฐานโดยใช้สถิติ
t – test, F – test ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง มีอายุอยู่ระหว่าง 41 - 50 ปี มีสถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพเป็นพนักงานบริษัท รายได้เฉลี่ยต่อเดือนสูงกว่า 15,000 บาท ผลวิจัยยังพบว่าประชาชนผู้ใช้บริการมีทัศนคติต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลเทศบาลนครนนทบุรีจังหวัดนนทบุรีอยู่ในระดับดี โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ มีหลักนิติธรรม หลักความคุ้มค่า หลักความรับผิดชอบ หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม และหลักคุณธรรม ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีผลต่อทัศนคติต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลเทศบาลนครนนทบุรีจังหวัดนนทบุรีแตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27773 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597821 SIU IS-T: IPAG-MPA-2018-01 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Due for return by 06/22/2024 32002000597797 SIU IS-T: IPAG-MPA-2018-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / ปิติทัต กงทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Factors that Effected for Preventing and Suppressing of Prostitution of Police Sub-Division 4 ATI-Human Trafficking Division, Central Investigation Bureau, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ปิติทัต กงทอง, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 88 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันKeywords: การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
ความผูกพันกับองค์การ
ทัศนคติของผู้บังคับบัญชา
ความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่
การสื่อสารAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับปัจจัยด้านการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ มีผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36-45 ปีขึ้นไป ได้มีการสมรสแล้วเป็นส่วนใหญ่และส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี และมีรายได้ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 10,001 – 20,000 บาท โดยส่วนใหญ่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี และจากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สรุปผลการวิจัยแต่ละปัจจัยหลักมีลำดับความสำคัญดังนี้คือ ลำดับแรก ได้แก่ ด้านความผูกพันสัมพันธ์กับองค์การมีความสำคัญ ลำดับที่สอง ได้แก่ ด้านความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ลำดับที่สาม ได้แก่ ด้านทัศนคติของผู้บังคับบัญชา ลำดับที่สี่ ด้านการสื่อสาร วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ โดยทั้งสี่ลำดับนี้ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบอบถามให้ความสำคัญอยู่ระดับมาก ลำดับที่สี่ ได้แก่ ด้านอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ และลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านการจัดสรรงบประมาณ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาค้นคว้าไปใช้ คือ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน โดยการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมให้มีความพร้อมในเรื่องการสร้างประสบการณ์ในการทำงานด้านการป้องกันและการปราบปรามการค้าประเวณี การเสริมรายได้ไปพร้อม ๆ กับการวางแผนการใช้จ่ายต่อเดือน ส่งเสริมให้ลาศึกษาต่อและฝึกอบรมในด้านที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนให้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เหมาะสม และส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินงานใน ปัจจัยต่าง ๆ คือ ปัจจัยทางด้านนโยบาย ด้านมาตรการการปฏิบัติ
ด้านกฎหมาย ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ และด้านบุคลากร ได้แก่ การทบทวนนโยบาย มาตรการ การจัดระบบขั้นตอนที่เกี่ยวข้องให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี การให้รางวัลและการคุ้มครองเป็นพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ของภาครัฐและประชาชนที่ให้ความร่วมมือในการปราบปรามการค้าประเวณี การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีและการแสวงหาแนวร่วมภาคประชาชน ในการป้องกันปราบปรามการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีให้มากขึ้น โดยการสร้างความร่วมมือกับองค์การ ภาคีต่าง ๆ ทั้ง ภาครัฐ ประชาชน ชุมชน และภาคเอกชน การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทั้งจำนวนที่เหมาะสมและการพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการดำเนินงาน ตลอดจนมีความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26537 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Factors that Effected for Preventing and Suppressing of Prostitution of Police Sub-Division 4 ATI-Human Trafficking Division, Central Investigation Bureau, Royal Thai Police [printed text] / ปิติทัต กงทอง, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 88 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันKeywords: การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
ความผูกพันกับองค์การ
ทัศนคติของผู้บังคับบัญชา
ความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่
การสื่อสารAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับปัจจัยด้านการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ มีผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36-45 ปีขึ้นไป ได้มีการสมรสแล้วเป็นส่วนใหญ่และส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี และมีรายได้ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 10,001 – 20,000 บาท โดยส่วนใหญ่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี และจากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สรุปผลการวิจัยแต่ละปัจจัยหลักมีลำดับความสำคัญดังนี้คือ ลำดับแรก ได้แก่ ด้านความผูกพันสัมพันธ์กับองค์การมีความสำคัญ ลำดับที่สอง ได้แก่ ด้านความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ลำดับที่สาม ได้แก่ ด้านทัศนคติของผู้บังคับบัญชา ลำดับที่สี่ ด้านการสื่อสาร วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ โดยทั้งสี่ลำดับนี้ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบอบถามให้ความสำคัญอยู่ระดับมาก ลำดับที่สี่ ได้แก่ ด้านอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ และลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านการจัดสรรงบประมาณ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาค้นคว้าไปใช้ คือ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน โดยการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมให้มีความพร้อมในเรื่องการสร้างประสบการณ์ในการทำงานด้านการป้องกันและการปราบปรามการค้าประเวณี การเสริมรายได้ไปพร้อม ๆ กับการวางแผนการใช้จ่ายต่อเดือน ส่งเสริมให้ลาศึกษาต่อและฝึกอบรมในด้านที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนให้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เหมาะสม และส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินงานใน ปัจจัยต่าง ๆ คือ ปัจจัยทางด้านนโยบาย ด้านมาตรการการปฏิบัติ
ด้านกฎหมาย ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ และด้านบุคลากร ได้แก่ การทบทวนนโยบาย มาตรการ การจัดระบบขั้นตอนที่เกี่ยวข้องให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี การให้รางวัลและการคุ้มครองเป็นพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ของภาครัฐและประชาชนที่ให้ความร่วมมือในการปราบปรามการค้าประเวณี การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีและการแสวงหาแนวร่วมภาคประชาชน ในการป้องกันปราบปรามการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีให้มากขึ้น โดยการสร้างความร่วมมือกับองค์การ ภาคีต่าง ๆ ทั้ง ภาครัฐ ประชาชน ชุมชน และภาคเอกชน การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทั้งจำนวนที่เหมาะสมและการพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการดำเนินงาน ตลอดจนมีความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26537 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591790 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591808 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปราม ของข้าราชการตำรวจน้ำ สถานีตำรวจน้ำ 1 กองกำกับการ 12 กองบังคับการตำรวจน้ำจังหวัดเชียงราย / เชี่ยววิทย์ ศรีวิเชียร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปราม ของข้าราชการตำรวจน้ำ สถานีตำรวจน้ำ 1 กองกำกับการ 12 กองบังคับการตำรวจน้ำจังหวัดเชียงราย Original title : Factors that Affected Motivation in job for Preventing and Suppressing of Marine Police Station 1 Marine Police Division 12 district Chiang Rai Province Material Type: printed text Authors: เชี่ยววิทย์ ศรีวิเชียร, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 89 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-15
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจูงใจในการทำงาน -- เชียงราย
[LCSH]ข้าราชการตำรวจน้ำ -- การปฏิบัติหน้าที่Keywords: แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ความรับผิดชอบและความสำเร็จของงาน
ความก้าวหน้าและความมั่นคง
นโยบายและการบริหารงาน
สภาพแวดล้อมในการทำงานAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปรามของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับตำรวจน้ำจังหวัดเชียงราย 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปรามของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับตำรวจน้ำจังหวัดเชียงราย 3)เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปรามของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับตำรวจน้ำจังหวัดเชียงรายการศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 129 ตัวอย่าง ในการสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับการตำรวจน้ำ จังหวัดเชียงรายเป็นข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ 1. เพศ 2. อายุ 3. สถานภาพสมรส 4. การศึกษา 5.ประสบการณ์การทำงาน และ 6.รายได้เป็นการแจกแจงจำนวน (ความถี่) และร้อยละ จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจากข้อมูลส่วนบุคคลของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับการตำรวจน้ำ จังหวัดเชียงรายเป็นข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 36-45 ปี สถานภาพสมรสแล้ว มีการศึกษาระดับปริญญาตรีมีประสบการณ์การทำงาน ระหว่าง 16-20 ปี และรายได้อยู่ระหว่าง10,001 – 20,000 บาทในการสรุปผลการวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยที่สำคัญ 7 ด้าน ประกอบด้วย ด้านความรับผิดชอบ และความสำเร็จของงานด้านความก้าวหน้าและความมั่นคง ด้านการยอมรับนับถือด้านความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นด้านนโยบายและการบริหารงาน ด้านเงินเดือนและสวัสดิการ ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปรามของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับการตำรวจน้ำ จังหวัดเชียงราย โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีข้อเสนอแนะของการศึกษาค้นคว้าควรจัดให้มีองค์ประกอบด้านการกระตุ้นเกี่ยวกับงานซึ่งอาจทำได้หลายลักษณะด้วยกัน วิธีที่ยอมรับกันมากวิธีหนึ่งคือ การกระจายงานได้แก่ลดการเข้มงวดและเปิดโอกาสให้มีการใช้เหตุผลและความรับผิดชอบในงานให้มากขึ้น จัดให้เจ้าหน้าที่ตำรวจน้ำทำงานร่วมกันเป็นหน่วยเดียวที่มีความสมบูรณ์ในตัวมากกว่าที่จะแยกกันทำงานตามลำพังเป็นส่วน ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ตำรวจน้ำมากขึ้นในการตัดสินใจและการปฏิบัติและให้มีอิสระบ้างในการดำเนินงาน จัดให้มีการประชาสัมพันธ์รายงานผลผลิตต่อผู้ปฏิบัติโดยตรงอย่างสม่ำเสมอและบ่อย ๆมากขึ้น กระตุ้นให้เจ้าหน้าที่ตำรวจน้ำลองทำงานใหม่ ๆและงานที่มีความยากมากขึ้น ซึ่งจะสร้างแรงจูงใจให้พยายามและก้าวหน้ามากขึ้น และมีการมอบงานพิเศษให้ทำเพื่อเจ้าหน้าที่ตำรวจน้ำจะได้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะอย่าง อาจเป็นด้านปฏิบัติหรือกระบวนการทำงานหรือการพัฒนาการคิดของพนักงานแต่ละคน Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26545 SIU IS-T. ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปราม ของข้าราชการตำรวจน้ำ สถานีตำรวจน้ำ 1 กองกำกับการ 12 กองบังคับการตำรวจน้ำจังหวัดเชียงราย = Factors that Affected Motivation in job for Preventing and Suppressing of Marine Police Station 1 Marine Police Division 12 district Chiang Rai Province [printed text] / เชี่ยววิทย์ ศรีวิเชียร, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 89 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-15
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจูงใจในการทำงาน -- เชียงราย
[LCSH]ข้าราชการตำรวจน้ำ -- การปฏิบัติหน้าที่Keywords: แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ความรับผิดชอบและความสำเร็จของงาน
ความก้าวหน้าและความมั่นคง
นโยบายและการบริหารงาน
สภาพแวดล้อมในการทำงานAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปรามของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับตำรวจน้ำจังหวัดเชียงราย 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปรามของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับตำรวจน้ำจังหวัดเชียงราย 3)เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปรามของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับตำรวจน้ำจังหวัดเชียงรายการศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 129 ตัวอย่าง ในการสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับการตำรวจน้ำ จังหวัดเชียงรายเป็นข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ 1. เพศ 2. อายุ 3. สถานภาพสมรส 4. การศึกษา 5.ประสบการณ์การทำงาน และ 6.รายได้เป็นการแจกแจงจำนวน (ความถี่) และร้อยละ จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจากข้อมูลส่วนบุคคลของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับการตำรวจน้ำ จังหวัดเชียงรายเป็นข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 36-45 ปี สถานภาพสมรสแล้ว มีการศึกษาระดับปริญญาตรีมีประสบการณ์การทำงาน ระหว่าง 16-20 ปี และรายได้อยู่ระหว่าง10,001 – 20,000 บาทในการสรุปผลการวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยที่สำคัญ 7 ด้าน ประกอบด้วย ด้านความรับผิดชอบ และความสำเร็จของงานด้านความก้าวหน้าและความมั่นคง ด้านการยอมรับนับถือด้านความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นด้านนโยบายและการบริหารงาน ด้านเงินเดือนและสวัสดิการ ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ป้องกันปราบปรามของข้าราชการตำรวจน้ำ กองกำกับการ 12 กองบังคับการตำรวจน้ำ จังหวัดเชียงราย โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีข้อเสนอแนะของการศึกษาค้นคว้าควรจัดให้มีองค์ประกอบด้านการกระตุ้นเกี่ยวกับงานซึ่งอาจทำได้หลายลักษณะด้วยกัน วิธีที่ยอมรับกันมากวิธีหนึ่งคือ การกระจายงานได้แก่ลดการเข้มงวดและเปิดโอกาสให้มีการใช้เหตุผลและความรับผิดชอบในงานให้มากขึ้น จัดให้เจ้าหน้าที่ตำรวจน้ำทำงานร่วมกันเป็นหน่วยเดียวที่มีความสมบูรณ์ในตัวมากกว่าที่จะแยกกันทำงานตามลำพังเป็นส่วน ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ตำรวจน้ำมากขึ้นในการตัดสินใจและการปฏิบัติและให้มีอิสระบ้างในการดำเนินงาน จัดให้มีการประชาสัมพันธ์รายงานผลผลิตต่อผู้ปฏิบัติโดยตรงอย่างสม่ำเสมอและบ่อย ๆมากขึ้น กระตุ้นให้เจ้าหน้าที่ตำรวจน้ำลองทำงานใหม่ ๆและงานที่มีความยากมากขึ้น ซึ่งจะสร้างแรงจูงใจให้พยายามและก้าวหน้ามากขึ้น และมีการมอบงานพิเศษให้ทำเพื่อเจ้าหน้าที่ตำรวจน้ำจะได้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะอย่าง อาจเป็นด้านปฏิบัติหรือกระบวนการทำงานหรือการพัฒนาการคิดของพนักงานแต่ละคน Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26545 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591857 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-15 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591865 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-15 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล / ไตรรัตน์ ธนะประกอบกรณ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล Original title : The Influence of Artificial Intelligence on Customers of Thai Commercial Banks: A Case Study of Customers in Bangkok Metropolitan Area Material Type: printed text Authors: ไตรรัตน์ ธนะประกอบกรณ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xxvii, 312 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2019-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ธนาคารพาณิชย์ -- ไทย -- กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
[LCSH]ปัญญาประดิษฐ์ -- ผลกระทบ
[LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภคKeywords: ทัศนคติ, พฤติกรรมการใช้บริการ, คุณภาพบริการ, ผลิตภัณฑ์/บริการ,
ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์Abstract: การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ ปัจจัยคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์/บริการ และผลกระทบของการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการทางด้านการเงินกับผู้ใช้บริการ 2) เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบของปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ ปัจจัยคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์/บริการที่มีต่อการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการทางด้านการเงินกับผู้ใช้บริการ โดยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์ไทยเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 405 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน คือ การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ (Multiple Linear Regression Analysis) เพื่อทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์ไทยเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31-40 ปี ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ปริญญาโท อาชีพส่วนใหญ่เป็นเจ้าของกิจการ/ธุรกิจส่วนตัว ระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนส่วนใหญ่ 30,001-40,000 บาท ธนาคารพาณิชย์ไทยที่ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) และประเภทของบริการทางด้านการเงินที่ใช้บริการ ส่วนใหญ่โอนเงินระหว่างบัญชี นอกเหนือจากการใช้บริการที่เคาน์เตอร์ธนาคาร ช่องทางการให้บริการทางด้านการเงินอื่นที่ท่านใช้บริการ ส่วนใหญ่ผ่านช่องทางเครื่องเอทีเอ็ม รองลงมาโทรศัพท์เคลื่อนที่
ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยด้านทัศนคติ 2) ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ3) ปัจจัยคุณภาพบริการ และ 4) ปัจจัยผลิตภัณฑ์/บริการมีอิทธิพลต่อผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ที่มีต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ดังนั้นสถาบันการเงินสามารถนำผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการพิจารณาวางแผนแก้ไข และพัฒนาการออกแบบกลยุทธ์ทางการตลาดที่เป็นการขยายช่องทางการให้บริการทางการเงินที่สามารถตอบสนองความพึงพอใจให้กับลูกค้าผู้ใช้บริการได้อย่างทั่วถึงและสอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้อย่างยั่งยืนCurricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27933 SIU THE-T. ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล = The Influence of Artificial Intelligence on Customers of Thai Commercial Banks: A Case Study of Customers in Bangkok Metropolitan Area [printed text] / ไตรรัตน์ ธนะประกอบกรณ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xxvii, 312 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2019-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ธนาคารพาณิชย์ -- ไทย -- กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
[LCSH]ปัญญาประดิษฐ์ -- ผลกระทบ
[LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภคKeywords: ทัศนคติ, พฤติกรรมการใช้บริการ, คุณภาพบริการ, ผลิตภัณฑ์/บริการ,
ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์Abstract: การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ ปัจจัยคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์/บริการ และผลกระทบของการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการทางด้านการเงินกับผู้ใช้บริการ 2) เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบของปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ ปัจจัยคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์/บริการที่มีต่อการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการทางด้านการเงินกับผู้ใช้บริการ โดยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์ไทยเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 405 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน คือ การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ (Multiple Linear Regression Analysis) เพื่อทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์ไทยเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31-40 ปี ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ปริญญาโท อาชีพส่วนใหญ่เป็นเจ้าของกิจการ/ธุรกิจส่วนตัว ระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนส่วนใหญ่ 30,001-40,000 บาท ธนาคารพาณิชย์ไทยที่ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) และประเภทของบริการทางด้านการเงินที่ใช้บริการ ส่วนใหญ่โอนเงินระหว่างบัญชี นอกเหนือจากการใช้บริการที่เคาน์เตอร์ธนาคาร ช่องทางการให้บริการทางด้านการเงินอื่นที่ท่านใช้บริการ ส่วนใหญ่ผ่านช่องทางเครื่องเอทีเอ็ม รองลงมาโทรศัพท์เคลื่อนที่
ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยด้านทัศนคติ 2) ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ3) ปัจจัยคุณภาพบริการ และ 4) ปัจจัยผลิตภัณฑ์/บริการมีอิทธิพลต่อผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ที่มีต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ดังนั้นสถาบันการเงินสามารถนำผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการพิจารณาวางแผนแก้ไข และพัฒนาการออกแบบกลยุทธ์ทางการตลาดที่เป็นการขยายช่องทางการให้บริการทางการเงินที่สามารถตอบสนองความพึงพอใจให้กับลูกค้าผู้ใช้บริการได้อย่างทั่วถึงและสอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้อย่างยั่งยืนCurricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27933 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607978 SIU THE-T: SOM-DBA-2019-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607977 SIU THE-T: SOM-DBA-2019-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. แนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ตตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 / อุราพร เดชเกิด / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : แนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ตตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 Original title : Guideline for Administration of Phuket Municipal Conforming Thailand 4.0 Policy Material Type: printed text Authors: อุราพร เดชเกิด, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: x, 224 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 cm. General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2564Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการองค์การ
[LCSH]เทศบาลนครภูเก็ต -- การบริหารKeywords: แนวทางการบริหารจัดการ,
เทศบาลนครภูเก็ด,
นโยบายไทยแลนด์ 4.0Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอกตามแนวทางการบริหารการจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 2) ศึกษาการบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพของเทศบาลภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 และ 3) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 ใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (mix methods research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างการวิจัยเชิงคุณภาพคือ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 10 คน ได้แก่ ผู้บริหารเทศบาลนครภูเก็ต 1 คน สมาชิกสภาเทศบาล 5 คน และข้าราชการประจำ จำนวน 4 คน ประชากรเชิงปริมาณ คือ ประชาชนทั่วไปที่เข้ามาติดต่อประสานงานและอาศัยในเขตบริการเทศบาลจำนวน 79,086 คน คำนวนขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของ Yamane (1997) ได้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพด้านการขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอก 3 ประการย่อย พบว่า (1) การยกระดับนวัตกรรม ควรมีศูนย์แสดงสินค้าทางนวัตกรรม ให้การสนับสนุนผู้ประกอบการหน้าใหม่ และ มีศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเพื่อศึกษาดูงาน (2) การสร้างสังคมที่มีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ คือ การทำธุรกิจที่ไม่ได้มุ่งเน้นผลด้านกำไรเพียงอย่างเดียว แต่ต้องคำนึงถึงสังคมที่ต้องอาศัยเกื้อกูลกันอย่างยั่งยืน ควรเน้นการตลาดเพื่อสังคม ที่ถือเป็นแนวคิดใหม่ ที่ต้องคำนึงถึงปัญหาของสังคมเป็นหลัก การเป็นผู้ประกอบการหน้าใหม่ จะคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภคก่อนเป็นอันดับแรก (3) การสร้างความเข้มแข้งของชุมชน และเครือข่าย ผู้นำต้องมีภาวะความเป็นผู้นำอย่างสูง ต้องมีการเรียนรู้บนพื้นฐานวัฒนธรรม และมีความจริงใจต่อกัน มีการแบ่งปันข้อมูลที่เป็นจริงในการแลกเปลี่ยน
สำหรับด้านการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ พบว่า ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม ส่งเสริมการเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชน มุ่งเน้นการบริหารจัดการแบบมืออาชีพ เพื่อประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก ต้องมีระบบการทำงานที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีระบบฐานข้อมูลในการสนับสนุนการทำงาน มีระบบข้อมูลย้อนกลับสำหรับการถอดบทเรียน เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขได้ มีการนำเทคโนโลยี และนวัตกรรมมาช่วยในการบริหารจัดการ บุคลากรต้องมีความรู้ ความสามารถในการใช้นวัตกรรมที่ช่วยการบริหารจัดการและบริการ ต้องลดขั้นตอนในการปฏิบัติงานให้มีความเหมาะสม และ ควรมีค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมกับบุคลากร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ นอกจากนี้ผลการวิจัยด้าน แนวทางการบริหารจัดการ พบว่า ด้านการบริหารจัดการ องค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ และพร้อมในการดำเนินการเพื่อประโยชน์ของประชาชน ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา องค์กรมีการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างความโปร่งใสในการปราบปรามการทุจริตในทุกรูปแบบ เน้นการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารโดยยึดหลักการ เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น มีการติดตามนวัตกรรมท้องถิ่น ที่เน้นให้ความสำคัญในเรื่องของการหาแนวทางการทำงานใหม่ ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น รวมถึงความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ
ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า 1) การขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอกตามแนวทางการบริหารการจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาตามองค์ประกอบพบว่า ด้านการยกระดับนวัตกรรม มากที่สุด รองลงมา ด้านการสร้างสังคมที่มีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ และด้านการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเครือข่าย 2) การบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพของเทศบาลภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 มีภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านทักษะ มากที่สุด รองลงมา ด้านค่านิยมร่วม ด้านระบบ และด้านรูปแบบ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดตามลำดับ 3) แนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงตามลำดับคือ ด้านการบริหารจัดการ รองลงมาคือ ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา และด้านการบริการสาธาณะ เป็นด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1) การขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอก ที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 มี 2 ประการ คือ ด้านการสร้างสังคมที่มีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ และด้านการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเครือข่าย ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 ร้อยละ 35.10 (R=35.10, R2= 0.351) 2) การบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ ที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 มี 2 ประการ คือ ด้านยุทธศาสตร์ และด้านค่านิยมร่วม ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 ร้อยละ 56.200 (R=56.00, R2= 0.560)Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28050 SIU THE-T. แนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ตตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 = Guideline for Administration of Phuket Municipal Conforming Thailand 4.0 Policy [printed text] / อุราพร เดชเกิด, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - x, 224 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 cm.
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2564
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการองค์การ
[LCSH]เทศบาลนครภูเก็ต -- การบริหารKeywords: แนวทางการบริหารจัดการ,
เทศบาลนครภูเก็ด,
นโยบายไทยแลนด์ 4.0Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอกตามแนวทางการบริหารการจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 2) ศึกษาการบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพของเทศบาลภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 และ 3) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 ใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (mix methods research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างการวิจัยเชิงคุณภาพคือ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 10 คน ได้แก่ ผู้บริหารเทศบาลนครภูเก็ต 1 คน สมาชิกสภาเทศบาล 5 คน และข้าราชการประจำ จำนวน 4 คน ประชากรเชิงปริมาณ คือ ประชาชนทั่วไปที่เข้ามาติดต่อประสานงานและอาศัยในเขตบริการเทศบาลจำนวน 79,086 คน คำนวนขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของ Yamane (1997) ได้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพด้านการขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอก 3 ประการย่อย พบว่า (1) การยกระดับนวัตกรรม ควรมีศูนย์แสดงสินค้าทางนวัตกรรม ให้การสนับสนุนผู้ประกอบการหน้าใหม่ และ มีศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเพื่อศึกษาดูงาน (2) การสร้างสังคมที่มีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ คือ การทำธุรกิจที่ไม่ได้มุ่งเน้นผลด้านกำไรเพียงอย่างเดียว แต่ต้องคำนึงถึงสังคมที่ต้องอาศัยเกื้อกูลกันอย่างยั่งยืน ควรเน้นการตลาดเพื่อสังคม ที่ถือเป็นแนวคิดใหม่ ที่ต้องคำนึงถึงปัญหาของสังคมเป็นหลัก การเป็นผู้ประกอบการหน้าใหม่ จะคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภคก่อนเป็นอันดับแรก (3) การสร้างความเข้มแข้งของชุมชน และเครือข่าย ผู้นำต้องมีภาวะความเป็นผู้นำอย่างสูง ต้องมีการเรียนรู้บนพื้นฐานวัฒนธรรม และมีความจริงใจต่อกัน มีการแบ่งปันข้อมูลที่เป็นจริงในการแลกเปลี่ยน
สำหรับด้านการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ พบว่า ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม ส่งเสริมการเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชน มุ่งเน้นการบริหารจัดการแบบมืออาชีพ เพื่อประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก ต้องมีระบบการทำงานที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีระบบฐานข้อมูลในการสนับสนุนการทำงาน มีระบบข้อมูลย้อนกลับสำหรับการถอดบทเรียน เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขได้ มีการนำเทคโนโลยี และนวัตกรรมมาช่วยในการบริหารจัดการ บุคลากรต้องมีความรู้ ความสามารถในการใช้นวัตกรรมที่ช่วยการบริหารจัดการและบริการ ต้องลดขั้นตอนในการปฏิบัติงานให้มีความเหมาะสม และ ควรมีค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมกับบุคลากร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ นอกจากนี้ผลการวิจัยด้าน แนวทางการบริหารจัดการ พบว่า ด้านการบริหารจัดการ องค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ และพร้อมในการดำเนินการเพื่อประโยชน์ของประชาชน ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา องค์กรมีการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างความโปร่งใสในการปราบปรามการทุจริตในทุกรูปแบบ เน้นการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารโดยยึดหลักการ เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น มีการติดตามนวัตกรรมท้องถิ่น ที่เน้นให้ความสำคัญในเรื่องของการหาแนวทางการทำงานใหม่ ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น รวมถึงความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ
ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า 1) การขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอกตามแนวทางการบริหารการจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาตามองค์ประกอบพบว่า ด้านการยกระดับนวัตกรรม มากที่สุด รองลงมา ด้านการสร้างสังคมที่มีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ และด้านการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเครือข่าย 2) การบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพของเทศบาลภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 มีภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านทักษะ มากที่สุด รองลงมา ด้านค่านิยมร่วม ด้านระบบ และด้านรูปแบบ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดตามลำดับ 3) แนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงตามลำดับคือ ด้านการบริหารจัดการ รองลงมาคือ ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา และด้านการบริการสาธาณะ เป็นด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1) การขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอก ที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 มี 2 ประการ คือ ด้านการสร้างสังคมที่มีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ และด้านการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเครือข่าย ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 ร้อยละ 35.10 (R=35.10, R2= 0.351) 2) การบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ ที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 มี 2 ประการ คือ ด้านยุทธศาสตร์ และด้านค่านิยมร่วม ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 ร้อยละ 56.200 (R=56.00, R2= 0.560)Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28050 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607375 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607373 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน / รัชนี มิตกิตติ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน : บทบาทที่ท้าทายของพยาบาลชุมชน Original title : Community-Engaged Implementation of Public Healthcare Policies: A Challenging Role of Community Nurses Material Type: printed text Authors: รัชนี มิตกิตติ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.26-36 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.26-36Keywords: นโยบายสาธารณะ. การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ. การมีส่วนร่วมของชุมชน. Abstract: บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ
เพื่อสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในบทบาทที่ท้าทายของพยาบาลชุมชนให้นำาไป
ประยุกต์ใช้ในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชนอย่างยั่งยืน โดยมีกระบวนการ
วิเคราะห์ทางเลือกไปสู่การสร้างนโยบายของชุมชนบนฐานข้อมูลและความรู้ที่เกี่ยวกับ
สุขภาพชุมชน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน โดยผ่านเวทีประชาคมให้ตัดสินใจร่วมกัน
นำาไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมมีปฏิทินการทำางานและติดตามประเมินผลร่วมกับภาคี
เครือข่ายสุขภาพชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และภาควิชาการในพื้นที่มาร่วมกันลงความคิดเห็น
สร้างข้อตกลงกำาหนดมาตรการให้คนในชุมชนทราบและยอมรับนำาไปสู่ปฏิบัติร่วมกันLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27041 [article] การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน = Community-Engaged Implementation of Public Healthcare Policies: A Challenging Role of Community Nurses : บทบาทที่ท้าทายของพยาบาลชุมชน [printed text] / รัชนี มิตกิตติ, Author . - 2016 . - p.26-36.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.26-36Keywords: นโยบายสาธารณะ. การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ. การมีส่วนร่วมของชุมชน. Abstract: บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ
เพื่อสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในบทบาทที่ท้าทายของพยาบาลชุมชนให้นำาไป
ประยุกต์ใช้ในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชนอย่างยั่งยืน โดยมีกระบวนการ
วิเคราะห์ทางเลือกไปสู่การสร้างนโยบายของชุมชนบนฐานข้อมูลและความรู้ที่เกี่ยวกับ
สุขภาพชุมชน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน โดยผ่านเวทีประชาคมให้ตัดสินใจร่วมกัน
นำาไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมมีปฏิทินการทำางานและติดตามประเมินผลร่วมกับภาคี
เครือข่ายสุขภาพชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และภาควิชาการในพื้นที่มาร่วมกันลงความคิดเห็น
สร้างข้อตกลงกำาหนดมาตรการให้คนในชุมชนทราบและยอมรับนำาไปสู่ปฏิบัติร่วมกันLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27041 การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม / สาคร เหล็กแย้ม in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม : การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ Material Type: printed text Authors: สาคร เหล็กแย้ม, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, Author ; ผจงจิต ไกรถาวร, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.126-137 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.126-137Keywords: ความรู้. ทัศนคติ. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร. ภาวะน้ำหนักเกิน. โปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ. Abstract: วัตถุประสงค์: ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชน
สัมพันธ์ในระยะ 3 เดือน และเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ของผู้ที่มีน้ำหนักเกิน ก่อนและหลัง
เข้าร่วมโปรแกรมในระยะ 3 เดือน 6 เดือน และ1 ปี
การออกแบบวิจัย : การวิจัยเชิงพรรณนาติดตามระยะยาว
การดำเนินการวิจัย : ตัวอย่างจำนวน 79 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจง และได้รับโปรแกรม
ให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการ
ประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง
ผลการวิจัย: ผลการทดสอบทีคู่พบว่าหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน ค่าเฉลี่ยของความรู้
ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของตัวอย่างดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < .001) ผลสถิติ
วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำภาวะโภชนาการหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี
ดีกว่า พบว่าค่าเฉลี่ยของดัชนีมวลกาย ( p <.001) ค่าเฉลี่ยของเส้นรอบเอว ( p< .001) ค่าเฉลี่ยของ
ระดับน้ำตาลในเลือด (p<.001) และค่าเฉลี่ยปริมาณไขมันสะสมในร่างกาย ( p< .001) น้อยกว่าก่อน
เข้าร่วมโปรแกรม
ข้อเสนอแนะ : พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนควรปรับใช้โปรแกรมการให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ
และชุมชนสัมพันธ์ ในการประเมินและส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชนในชุมชน
ที่มีน้ำหนักเกิน รวมทั้งวางแผน หาแนวทางที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละชุมชน ติดตาม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลต่อภาวะ
โภชนาการที่เหมาะสมและยั่งยืน
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27360 [article] การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม : การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ [printed text] / สาคร เหล็กแย้ม, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, Author ; ผจงจิต ไกรถาวร, Author . - 2017 . - p.126-137.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.126-137Keywords: ความรู้. ทัศนคติ. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร. ภาวะน้ำหนักเกิน. โปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ. Abstract: วัตถุประสงค์: ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชน
สัมพันธ์ในระยะ 3 เดือน และเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ของผู้ที่มีน้ำหนักเกิน ก่อนและหลัง
เข้าร่วมโปรแกรมในระยะ 3 เดือน 6 เดือน และ1 ปี
การออกแบบวิจัย : การวิจัยเชิงพรรณนาติดตามระยะยาว
การดำเนินการวิจัย : ตัวอย่างจำนวน 79 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจง และได้รับโปรแกรม
ให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการ
ประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง
ผลการวิจัย: ผลการทดสอบทีคู่พบว่าหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน ค่าเฉลี่ยของความรู้
ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของตัวอย่างดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < .001) ผลสถิติ
วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำภาวะโภชนาการหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี
ดีกว่า พบว่าค่าเฉลี่ยของดัชนีมวลกาย ( p <.001) ค่าเฉลี่ยของเส้นรอบเอว ( p< .001) ค่าเฉลี่ยของ
ระดับน้ำตาลในเลือด (p<.001) และค่าเฉลี่ยปริมาณไขมันสะสมในร่างกาย ( p< .001) น้อยกว่าก่อน
เข้าร่วมโปรแกรม
ข้อเสนอแนะ : พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนควรปรับใช้โปรแกรมการให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ
และชุมชนสัมพันธ์ ในการประเมินและส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชนในชุมชน
ที่มีน้ำหนักเกิน รวมทั้งวางแผน หาแนวทางที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละชุมชน ติดตาม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลต่อภาวะ
โภชนาการที่เหมาะสมและยั่งยืน
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27360 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติต่อวิชาชีพ รูปแบบการใช้ชีวิตของนักศึกษา / ยุคลธร แจ่มฤทธิ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติต่อวิชาชีพ รูปแบบการใช้ชีวิตของนักศึกษา : การดูแลนักศึกษาของอาจารย์ และบรรยากาศการเรียนรู้ กับการใฝ่รู้ของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : Relationships between personal factors professional attitudes nursing students : life styles instructor's caring behavior and learning climates with inquiry of nursing students nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: ยุคลธร แจ่มฤทธิ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ฎ, 165 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-170-201-9 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การพยาบาลศึกษา]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]การเรียนรู้
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: วิชาชีพพยาบาล.
ทัศนคติ.
วิทยานิพนธ์.Class number: WY125 ย641 2544 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23119 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติต่อวิชาชีพ รูปแบบการใช้ชีวิตของนักศึกษา = Relationships between personal factors professional attitudes nursing students : life styles instructor's caring behavior and learning climates with inquiry of nursing students nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health : การดูแลนักศึกษาของอาจารย์ และบรรยากาศการเรียนรู้ กับการใฝ่รู้ของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข [printed text] / ยุคลธร แจ่มฤทธิ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ฎ, 165 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-170-201-9 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การพยาบาลศึกษา]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]การเรียนรู้
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: วิชาชีพพยาบาล.
ทัศนคติ.
วิทยานิพนธ์.Class number: WY125 ย641 2544 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23119 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354454 WY125 ย641 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available