From this page you can:
Home |
Search results
42 result(s) search for keyword(s) 'นโยบาย, การป้องกัน, อุบัติเหตุ'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU IS-T. การศึกษาการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน / วุฒิชัย ธรรมมิยะ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน Original title : A Study of Implementation of Land Transportation Accident Prevention Policy Practice at Bang Chan Metropolitan Police Station Material Type: printed text Authors: วุฒิชัย ธรรมมิยะ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vi, 70 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-39
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]อุบัติเหตุ -- การป้องกัน Keywords: นโยบาย,
การป้องกัน,
อุบัติเหตุAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน เป็นการในเชิงคุณภาพ (qualitative research) เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากตำรวจที่ทำงานที่สถานีตำรวจบางรักด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลจากการศึกษา พบว่า นโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติเป็นนโยบายที่มาจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จึงมีแนวทางการปฏิบัติตามนโยบายจึงมีส่วนคล้ายกันทั่วประเทศ ยกเว้นเขตสถานีตำรวจไหนที่มีความเสี่ยงมากก็จะมีโครงการต่างๆ เพิ่มขึ้น ซึ่งทางสำนักงานตำรวจแห่งชาติให้อำนาจแก่สถานีตำรวจต่างๆ อยู่แล้ว การดำเนินตามนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน ได้ปฏิบัติตามนโยบายของสำนักงานตำรวจแห่งชาติอย่างเคร่งครัดโดยมีโครงการต่างๆ ทั้งโครงการที่มาจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติและโครงการที่สถานีตำรวจนครบาลบางชันจัดขึ้น ส่วนอุปสรรคในการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ส่วนใหญ่เกิดจากงบประมาณมีน้อย การจัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ไม่ได้มาตรฐาน เพราะอุปกรณ์พวกนี้ทางสถานีไม่ได้จัดซื้อเอง เจ้าหน้าที่ขาดทักษะในการ ใช้งาน ขาดการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ได้มาใหม่ นอกจากนี้แนวทางในการแก้ไขปัญหาการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน พบว่าควรมีการจัดป้ายประชาสัมพันธ์ เพื่อลดอุบัติเหตุ ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทราบทุกวัน การอบรมเรื่องวินัยจราจร ตามโรงเรียนต่างๆ จะชวยแก้ปัญหาได้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27266 SIU IS-T. การศึกษาการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน = A Study of Implementation of Land Transportation Accident Prevention Policy Practice at Bang Chan Metropolitan Police Station [printed text] / วุฒิชัย ธรรมมิยะ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vi, 70 น. : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-39
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]อุบัติเหตุ -- การป้องกัน Keywords: นโยบาย,
การป้องกัน,
อุบัติเหตุAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน เป็นการในเชิงคุณภาพ (qualitative research) เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากตำรวจที่ทำงานที่สถานีตำรวจบางรักด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลจากการศึกษา พบว่า นโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติเป็นนโยบายที่มาจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จึงมีแนวทางการปฏิบัติตามนโยบายจึงมีส่วนคล้ายกันทั่วประเทศ ยกเว้นเขตสถานีตำรวจไหนที่มีความเสี่ยงมากก็จะมีโครงการต่างๆ เพิ่มขึ้น ซึ่งทางสำนักงานตำรวจแห่งชาติให้อำนาจแก่สถานีตำรวจต่างๆ อยู่แล้ว การดำเนินตามนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน ได้ปฏิบัติตามนโยบายของสำนักงานตำรวจแห่งชาติอย่างเคร่งครัดโดยมีโครงการต่างๆ ทั้งโครงการที่มาจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติและโครงการที่สถานีตำรวจนครบาลบางชันจัดขึ้น ส่วนอุปสรรคในการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ส่วนใหญ่เกิดจากงบประมาณมีน้อย การจัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ไม่ได้มาตรฐาน เพราะอุปกรณ์พวกนี้ทางสถานีไม่ได้จัดซื้อเอง เจ้าหน้าที่ขาดทักษะในการ ใช้งาน ขาดการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ได้มาใหม่ นอกจากนี้แนวทางในการแก้ไขปัญหาการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน พบว่าควรมีการจัดป้ายประชาสัมพันธ์ เพื่อลดอุบัติเหตุ ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทราบทุกวัน การอบรมเรื่องวินัยจราจร ตามโรงเรียนต่างๆ จะชวยแก้ปัญหาได้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27266 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594851 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-39 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594869 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-39 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available Old book collection. สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง / มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม / 2557
Collection Title: Old book collection Title : สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง : สู่การปฏิรูปประเทศจากฐานราก Material Type: printed text Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, Author Publication Date: 2557 Pagination: 120 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 29 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-279457-5 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการชุมชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย
[LCSH]ข้าว -- นโยบายของรัฐ
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ชุมชน -- การแก้ปัญหาKeywords: การพัฒนาชุมชน.
การจัดการชุมชน.
ข้าว.
นโยบายของรัฐ.Class number: WA100 ส743 2557 Contents note: 11 ตัวชี้วัด โรคอ้วน. -- 10 สถานการณ์เด่นทางสุขภาพ.-- 4 ผลงานดี ๆ เพื่อสุขภาพคนไทย.-- เรื่องพิเศษประจำฉบับ ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง สู่การปฎิรูปประเทศจากฐานราก.-- Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23813 Old book collection. สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง : สู่การปฏิรูปประเทศจากฐานราก [printed text] / มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, Author . - 2557 . - 120 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.
ISBN : 978-6-16-279457-5 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการชุมชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย
[LCSH]ข้าว -- นโยบายของรัฐ
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ชุมชน -- การแก้ปัญหาKeywords: การพัฒนาชุมชน.
การจัดการชุมชน.
ข้าว.
นโยบายของรัฐ.Class number: WA100 ส743 2557 Contents note: 11 ตัวชี้วัด โรคอ้วน. -- 10 สถานการณ์เด่นทางสุขภาพ.-- 4 ผลงานดี ๆ เพื่อสุขภาพคนไทย.-- เรื่องพิเศษประจำฉบับ ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง สู่การปฎิรูปประเทศจากฐานราก.-- Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23813 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000399061 WA100 ส743 2557 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000399053 WA100 ส743 2557 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available SET Collection. หลักการลงทุนและป้องกันความเสี่ยงด้วย / อาณัติ ลีมัคเดช / กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - 2556
Collection Title: SET Collection Title : หลักการลงทุนและป้องกันความเสี่ยงด้วย : ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน Material Type: printed text Authors: อาณัติ ลีมัคเดช, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2. Publisher: กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย Publication Date: 2556 Pagination: 500 หน้า Layout: ภาพประกอบ. Size: 25 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-722761-0 Price: บริจาค. (590.00) Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การลงทุน
[LCSH]การลงทุน -- การวิเคราะห์
[LCSH]สัญญาสิทธิ
[LCSH]อนุพันธ์ทางการเงินKeywords: อนุพันธ์ทางการเงิน.
สัญญาสิทธิ.
การป้องกันความเสี่ยง.
การลงทุนClass number: HG6024.A3 อ624ห 2556 Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23857 SET Collection. หลักการลงทุนและป้องกันความเสี่ยงด้วย : ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน [printed text] / อาณัติ ลีมัคเดช, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2. . - กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, 2556 . - 500 หน้า : ภาพประกอบ. ; 25 ซม.
ISBN : 978-6-16-722761-0 : บริจาค. (590.00)
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การลงทุน
[LCSH]การลงทุน -- การวิเคราะห์
[LCSH]สัญญาสิทธิ
[LCSH]อนุพันธ์ทางการเงินKeywords: อนุพันธ์ทางการเงิน.
สัญญาสิทธิ.
การป้องกันความเสี่ยง.
การลงทุนClass number: HG6024.A3 อ624ห 2556 Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23857 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000397487 HG6024.A3 อ624ห 2556 Book Main Library SET Corner Available SIU RS-T. แนวทางการป้องกันอุบัติเหตุ จากการปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมพลาสติก / ศิรินาถ วิจิตขะจี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : แนวทางการป้องกันอุบัติเหตุ จากการปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมพลาสติก Original title : Guideline to Prevention of Occupational Accidents Inplastic Production Industrial Facilities Material Type: printed text Authors: ศิรินาถ วิจิตขะจี, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 35 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-13
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความปลอดภัยในการทำงาน
[LCSH]อุบัติเหตุ -- การป้องกัน
[LCSH]โรงงาน -- อุบัติเหตุKeywords: อุบัติเหตุจากการปฏิบัติงาน
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
โรงงานอุตสาหกรรมAbstract: การศึกษาเรื่องแนวทางการป้องกันอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมพลาสติก มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมและเพื่อเสนอแนะแนวทางป้องกันการเกิดอุบัติเหตุอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานในโรงงาน การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงเอกสารโดยค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งสำคัญ ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐซึ่งรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน กฏหมายที่เกี่ยวข้องอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน สถิติการเกิดอุบัติเหตุและความสูญเสียในงานอุตสาหกรรม เพื่อวิเคราะห์แนวโน้ม สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ และสรุปแนวทางมาตรการป้องกันอุบัติเหตุ ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานอุตสาหกรรมเกิดความรู้ความเข้าใจถึงปัจจัยเสี่ยงซึ่งนำไปสู่อุบัติเหตุ และความสูญเสียดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ผลการศึกษาจะช่วยเป็นแนวทางในการเลี่ยง หรือลดความเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานอุตสาหกรรม ดังนั้นสถานประกอบการที่มีผู้ปฏิบัติงานทุกแห่ง จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ความคุ้มครอง ดูแล ส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนมีจิตสานึกในความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีความสุขอยู่ในสังคมและสิ่งแวดล้อมร่วมกันได้อย่างสันติโดยปราศจากอันตรายใดๆ Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26600 SIU RS-T. แนวทางการป้องกันอุบัติเหตุ จากการปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมพลาสติก = Guideline to Prevention of Occupational Accidents Inplastic Production Industrial Facilities [printed text] / ศิรินาถ วิจิตขะจี, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 35 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-13
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความปลอดภัยในการทำงาน
[LCSH]อุบัติเหตุ -- การป้องกัน
[LCSH]โรงงาน -- อุบัติเหตุKeywords: อุบัติเหตุจากการปฏิบัติงาน
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
โรงงานอุตสาหกรรมAbstract: การศึกษาเรื่องแนวทางการป้องกันอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมพลาสติก มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมและเพื่อเสนอแนะแนวทางป้องกันการเกิดอุบัติเหตุอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานในโรงงาน การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงเอกสารโดยค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งสำคัญ ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐซึ่งรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน กฏหมายที่เกี่ยวข้องอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน สถิติการเกิดอุบัติเหตุและความสูญเสียในงานอุตสาหกรรม เพื่อวิเคราะห์แนวโน้ม สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ และสรุปแนวทางมาตรการป้องกันอุบัติเหตุ ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานอุตสาหกรรมเกิดความรู้ความเข้าใจถึงปัจจัยเสี่ยงซึ่งนำไปสู่อุบัติเหตุ และความสูญเสียดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ผลการศึกษาจะช่วยเป็นแนวทางในการเลี่ยง หรือลดความเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานอุตสาหกรรม ดังนั้นสถานประกอบการที่มีผู้ปฏิบัติงานทุกแห่ง จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ความคุ้มครอง ดูแล ส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนมีจิตสานึกในความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีความสุขอยู่ในสังคมและสิ่งแวดล้อมร่วมกันได้อย่างสันติโดยปราศจากอันตรายใดๆ Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26600 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592434 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-13 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592459 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-13 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU IS-T. การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ / ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ Original title : The Policy Implementation of Cash Allowance for the Elderly in Wangpong Subdistric Administration Organization, Pran Buri District, Prachuap Khiri Khan Province Material Type: printed text Authors: ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: v, 75 น. Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ประจวบคีรีขันธ์ -- ปราณบุรี -- -- วังก์พง
[LCSH]เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุKeywords: นโยบาย,
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาเรื่องการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบล ศึกษาปัญหาและอุปสรรค และศึกษาแนวทางแก้ไขปรับปรุงการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากร เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จำนวน 9 คนใช้การวิจัยแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) โดยคำถามเป็นแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า วิธีการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติมีกระบวนการดำเนินงานคือ 1. ทำการศึกษารายละเอียดระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 2.ทำการประชุม วางแผน มอบหมายหน้าที่ 3. ทำการประชาสัมพันธ์ 4. รับขึ้นทะเบียนผู้สูงอายุ ด้านขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงานตามนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงว่ามีความเหมาะสม ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่ามีปัญหาจากนโยบายระเบียบและแนวทางการปฏิบัติ ไม่สอดคล้องกับพื้นที่การปฏิบัติงานของบุคลากรและความต้องการของประชาชน ปัญหาการประสานงานร่วมมือกับหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ปัญหาด้านการประชาสัมพันธ์ และปัญหาเรื่องการจ่ายเงินให้ผู้สูงอายุที่เสียชีวิตแล้ว ส่วนปัจจัยที่ทำให้การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติเกิดผลสำเร็จหรือเกิดความล้มเหลว ได้แก่ ตัวของนโยบาย ผู้ที่คิดนโยบาย ผู้นำนโยบายไปปฏิบัติและผู้สูงอายุ ผลการวิจัยด้านการปรับปรุง พัฒนาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติให้ดีขึ้นพบว่า สิ่งที่ควรปรับปรุง คือ บุคลากรหรือพนักงานที่เกี่ยวข้องควรศึกษานโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้ละเอียดและเข้าใจ รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ผู้สูงอายุเข้าใจหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพ เพื่อความเข้าใจและสะดวกรวดเร็ว นอกจากนี้ ควรมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการย้ายเข้า ย้ายออกของผู้สูงอายุกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และควรเปลี่ยนหลักเกณฑ์จากการจ่ายเบี้ยยังชีพให้เป็นแบบจำนวนที่เท่ากันและควรเพิ่มจำนวนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอื่นๆให้มากขึ้นด้วยCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26893 SIU IS-T. การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ = The Policy Implementation of Cash Allowance for the Elderly in Wangpong Subdistric Administration Organization, Pran Buri District, Prachuap Khiri Khan Province [printed text] / ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - v, 75 น. ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ประจวบคีรีขันธ์ -- ปราณบุรี -- -- วังก์พง
[LCSH]เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุKeywords: นโยบาย,
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาเรื่องการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบล ศึกษาปัญหาและอุปสรรค และศึกษาแนวทางแก้ไขปรับปรุงการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากร เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จำนวน 9 คนใช้การวิจัยแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) โดยคำถามเป็นแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า วิธีการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติมีกระบวนการดำเนินงานคือ 1. ทำการศึกษารายละเอียดระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 2.ทำการประชุม วางแผน มอบหมายหน้าที่ 3. ทำการประชาสัมพันธ์ 4. รับขึ้นทะเบียนผู้สูงอายุ ด้านขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงานตามนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงว่ามีความเหมาะสม ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่ามีปัญหาจากนโยบายระเบียบและแนวทางการปฏิบัติ ไม่สอดคล้องกับพื้นที่การปฏิบัติงานของบุคลากรและความต้องการของประชาชน ปัญหาการประสานงานร่วมมือกับหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ปัญหาด้านการประชาสัมพันธ์ และปัญหาเรื่องการจ่ายเงินให้ผู้สูงอายุที่เสียชีวิตแล้ว ส่วนปัจจัยที่ทำให้การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติเกิดผลสำเร็จหรือเกิดความล้มเหลว ได้แก่ ตัวของนโยบาย ผู้ที่คิดนโยบาย ผู้นำนโยบายไปปฏิบัติและผู้สูงอายุ ผลการวิจัยด้านการปรับปรุง พัฒนาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติให้ดีขึ้นพบว่า สิ่งที่ควรปรับปรุง คือ บุคลากรหรือพนักงานที่เกี่ยวข้องควรศึกษานโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้ละเอียดและเข้าใจ รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ผู้สูงอายุเข้าใจหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพ เพื่อความเข้าใจและสะดวกรวดเร็ว นอกจากนี้ ควรมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการย้ายเข้า ย้ายออกของผู้สูงอายุกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และควรเปลี่ยนหลักเกณฑ์จากการจ่ายเบี้ยยังชีพให้เป็นแบบจำนวนที่เท่ากันและควรเพิ่มจำนวนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอื่นๆให้มากขึ้นด้วยCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26893 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593713 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593721 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 / วิศิษฎ์ แดนโพธิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 Original title : Police Administration in Prevention and Suppression of Human Trafficking of Provincial Police Region 5 Material Type: printed text Authors: วิศิษฎ์ แดนโพธิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: ix, 137 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันและควบคุม -- วิจัย
[LCSH]การบริหารงานตำรวจKeywords: การบริหารงานตำรวจ,
การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษ (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (4) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การที่มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) ประชาการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 จำนวน 16,234 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน และ (2) ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 รวม 16 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกอง บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.39, SD = 0.49) (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับมาก ( = 3.79, SD = 0.50) (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.19, SD = 0.48) (4) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การ มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้ร้อยละ 53.6 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้แก่ 1) การขาดแคลนงบประมาณและกำลังพลที่ไม่เพียงพอ 2) เจ้าหน้าที่ตำรวจขาดความรู้ ความเข้าใจในข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์
3) ขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงและขาดการประสานงานหรือความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ และ 4) ปัญหาในการสื่อสารโดยใช้ภาษาสากลเนื่องจากการค้ามนุษย์มักจะเป็นการกระทำความผิดเกี่ยวเนื่องระหว่างประเทศCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27941 SIU THE-T. การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 = Police Administration in Prevention and Suppression of Human Trafficking of Provincial Police Region 5 [printed text] / วิศิษฎ์ แดนโพธิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - ix, 137 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันและควบคุม -- วิจัย
[LCSH]การบริหารงานตำรวจKeywords: การบริหารงานตำรวจ,
การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษ (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (4) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การที่มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) ประชาการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 จำนวน 16,234 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน และ (2) ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 รวม 16 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกอง บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.39, SD = 0.49) (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับมาก ( = 3.79, SD = 0.50) (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.19, SD = 0.48) (4) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การ มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้ร้อยละ 53.6 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้แก่ 1) การขาดแคลนงบประมาณและกำลังพลที่ไม่เพียงพอ 2) เจ้าหน้าที่ตำรวจขาดความรู้ ความเข้าใจในข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์
3) ขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงและขาดการประสานงานหรือความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ และ 4) ปัญหาในการสื่อสารโดยใช้ภาษาสากลเนื่องจากการค้ามนุษย์มักจะเป็นการกระทำความผิดเกี่ยวเนื่องระหว่างประเทศCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27941 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607994 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก / อารีวรรณ สว่างธรรมขจร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก Original title : The Evaluation of First Car Policy Material Type: printed text Authors: อารีวรรณ สว่างธรรมขจร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 95 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นโยบายเศรษฐกิจ
[LCSH]รถยนต์ -- การซื้อKeywords: การประเมินผล,
นโยบาย,
รถยนต์คันแรกAbstract: การศึกษาเรื่องการประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายรถยนต์คันแรกมาปฏิบัติ และ ประเมินปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่ได้ซื้อรถยนต์คันแรก และได้รับสิทธิ์คืนภาษีรถยนต์คันแรก ในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ประชาชนผู้ใช้สิทธิ์ซื้อรถยนต์คันแรก 4 คน ผู้ประกอบกิจการรถยนต์ 2 คน และ บุคคลที่เกี่ยวข้อง 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) ลักษณะคำถามแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ประกอบกิจการรถยนต์และบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นเพศหญิง 7 คน และเพศชาย 1 คน ผลกระทบหลักของนโยบายรถยนต์คันแรก คือ ทำให้เศรษฐกิจดีขึ้นเป็นกระตุ้นรายได้ของภาคอุตสาหกรรมรถยนต์และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้อย่างมาก ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในด้านการคมนาคม กระบวนการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ขั้นตอนในการบริหารชัดเจน และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างมีระบบ ส่วนผลกระทบของนโยบายรถยนต์คันแรก ได้แก่ ทำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดเพิ่มมากขึ้น มีมลภาวะทางอากาศเพิ่มขึ้น เพิ่มภาระหนี้ให้กับประชาชน เพราะไม่ได้วางแผนในการใช้เงินอย่างเป็นระบบ ส่วนปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติ พบปัญหาด้านการจราจรที่ติดขัด เนื่องจากระบบคมนาคมไม่พร้อมในการรองรับรถยนต์คันแรกที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีที่จอดรถไม่เพียงพอ เนื่องจากนโยบายรถยนต์คันแรกของรัฐบาลเป็นนโยบายเร่งด่วน ปัญหาด้านการบริหารจัดการนโยบาย พบว่า ผู้รับสิทธิ์ได้รับเงินคืนภาษีล่าช้า การคืนเงินให้ไม่ตรงตามกำหนดระยะเวลาที่แจ้งไว้ และหลักเกณฑ์ที่รัฐบาลกำหนดไม่ตรงกับกับเงื่อนไขบางประเภท และปัญหาด้านการสิ้นเปลืองพลังงาน เมื่อมีการใช้รถยนต์มากขึ้นก็จะทำให้สูญเสียพลังงานมากขึ้นเช่นกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26894 SIU IS-T. การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก = The Evaluation of First Car Policy [printed text] / อารีวรรณ สว่างธรรมขจร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 95 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นโยบายเศรษฐกิจ
[LCSH]รถยนต์ -- การซื้อKeywords: การประเมินผล,
นโยบาย,
รถยนต์คันแรกAbstract: การศึกษาเรื่องการประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายรถยนต์คันแรกมาปฏิบัติ และ ประเมินปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่ได้ซื้อรถยนต์คันแรก และได้รับสิทธิ์คืนภาษีรถยนต์คันแรก ในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ประชาชนผู้ใช้สิทธิ์ซื้อรถยนต์คันแรก 4 คน ผู้ประกอบกิจการรถยนต์ 2 คน และ บุคคลที่เกี่ยวข้อง 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) ลักษณะคำถามแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ประกอบกิจการรถยนต์และบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นเพศหญิง 7 คน และเพศชาย 1 คน ผลกระทบหลักของนโยบายรถยนต์คันแรก คือ ทำให้เศรษฐกิจดีขึ้นเป็นกระตุ้นรายได้ของภาคอุตสาหกรรมรถยนต์และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้อย่างมาก ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในด้านการคมนาคม กระบวนการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ขั้นตอนในการบริหารชัดเจน และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างมีระบบ ส่วนผลกระทบของนโยบายรถยนต์คันแรก ได้แก่ ทำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดเพิ่มมากขึ้น มีมลภาวะทางอากาศเพิ่มขึ้น เพิ่มภาระหนี้ให้กับประชาชน เพราะไม่ได้วางแผนในการใช้เงินอย่างเป็นระบบ ส่วนปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติ พบปัญหาด้านการจราจรที่ติดขัด เนื่องจากระบบคมนาคมไม่พร้อมในการรองรับรถยนต์คันแรกที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีที่จอดรถไม่เพียงพอ เนื่องจากนโยบายรถยนต์คันแรกของรัฐบาลเป็นนโยบายเร่งด่วน ปัญหาด้านการบริหารจัดการนโยบาย พบว่า ผู้รับสิทธิ์ได้รับเงินคืนภาษีล่าช้า การคืนเงินให้ไม่ตรงตามกำหนดระยะเวลาที่แจ้งไว้ และหลักเกณฑ์ที่รัฐบาลกำหนดไม่ตรงกับกับเงื่อนไขบางประเภท และปัญหาด้านการสิ้นเปลืองพลังงาน เมื่อมีการใช้รถยนต์มากขึ้นก็จะทำให้สูญเสียพลังงานมากขึ้นเช่นกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26894 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593739 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593747 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมเชิงรุกในเขตพื้นที่สถานีภูธรห้วยกระเจา อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี / พันธุ์ไทย ปรัชญาวงศ์ชัย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมเชิงรุกในเขตพื้นที่สถานีภูธรห้วยกระเจา อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี Original title : The Participation of the Public in Crime Prevention, Proactive in the Area of Police Station Huay Krajao Huay Krajao District, Kanchanaburi Provice Material Type: printed text Authors: พันธุ์ไทย ปรัชญาวงศ์ชัย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: x, 76 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กาญจนบุรี -- ประชากร
[LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- การมีส่วนร่วมของประชาชน -- กาญจนบุรี
[LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกันKeywords: การมีส่วนร่วมของประชาชน,
การป้องกันอาชญากรรมเชิงรุก,
สถานีตำรวจภูธรห้วยกระเจา,
จังหวัดกาญจนบุรีCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26623 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมเชิงรุกในเขตพื้นที่สถานีภูธรห้วยกระเจา อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี = The Participation of the Public in Crime Prevention, Proactive in the Area of Police Station Huay Krajao Huay Krajao District, Kanchanaburi Provice [printed text] / พันธุ์ไทย ปรัชญาวงศ์ชัย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - x, 76 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กาญจนบุรี -- ประชากร
[LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- การมีส่วนร่วมของประชาชน -- กาญจนบุรี
[LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกันKeywords: การมีส่วนร่วมของประชาชน,
การป้องกันอาชญากรรมเชิงรุก,
สถานีตำรวจภูธรห้วยกระเจา,
จังหวัดกาญจนบุรีCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26623 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592723 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-27 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592699 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-27 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรม กรณีศึกษา พื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ / ไพรริน โมศิริ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรม กรณีศึกษา พื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ Original title : People Participation in Police’s Community Relations and Crime Prevention Jobs: A Case of Ratanatibet Provincial Police Station Material Type: printed text Authors: ไพรริน โมศิริ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 57 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-32
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- นนทบุรี -- รัตนาธิเบศร์
[LCSH]ตำรวจชุมชน
[LCSH]พลเมือง -- การมีส่วนร่วมKeywords: การมีส่วนร่วม,
ชุมชน,
การป้องกัน,
ตำรวจAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับ ปัญหา และอุปสรรค ในการมีส่วนร่วมของประชาชน และศึกษาแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ ในการป้องกันปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในตำบลบางกระสอ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี เขตพื้นที่ของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลและใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุตั้งแต่ 31 - 40 ปี สถานภาพโสด มีระดับการศึกษาในปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ย 15,000 ถึง 20,000 บาท ต่อเดือน พักอาศัยอยู่ในชุมชน 6 - 10 ปี พักอาศัยเป็นแฟลตหรืออพาร์ทเมนต์ โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยมีประสบการณ์การตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการมีส่วนร่วมของประชาชนยัง พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วมโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ประชาชนผู้ตอบแบบสอบถามมีส่วนร่วมสูงที่สุดตามค่าเฉลี่ย คือ ด้านการวางแผนซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง รองลงมาคือการมีส่วนร่วมด้านการปฏิบัติงาน และการมีส่วนร่วมด้านการประเมินผล เลียงตามลำดับ ส่วนด้านปัญหาและอุปสรรคในการมีส่วนร่วมของประชาชนงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์พบว่าอยู่ในระดับปานกลางCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27276 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรม กรณีศึกษา พื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ = People Participation in Police’s Community Relations and Crime Prevention Jobs: A Case of Ratanatibet Provincial Police Station [printed text] / ไพรริน โมศิริ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 57 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-32
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- นนทบุรี -- รัตนาธิเบศร์
[LCSH]ตำรวจชุมชน
[LCSH]พลเมือง -- การมีส่วนร่วมKeywords: การมีส่วนร่วม,
ชุมชน,
การป้องกัน,
ตำรวจAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับ ปัญหา และอุปสรรค ในการมีส่วนร่วมของประชาชน และศึกษาแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ ในการป้องกันปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในตำบลบางกระสอ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี เขตพื้นที่ของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลและใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุตั้งแต่ 31 - 40 ปี สถานภาพโสด มีระดับการศึกษาในปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ย 15,000 ถึง 20,000 บาท ต่อเดือน พักอาศัยอยู่ในชุมชน 6 - 10 ปี พักอาศัยเป็นแฟลตหรืออพาร์ทเมนต์ โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยมีประสบการณ์การตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการมีส่วนร่วมของประชาชนยัง พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วมโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ประชาชนผู้ตอบแบบสอบถามมีส่วนร่วมสูงที่สุดตามค่าเฉลี่ย คือ ด้านการวางแผนซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง รองลงมาคือการมีส่วนร่วมด้านการปฏิบัติงาน และการมีส่วนร่วมด้านการประเมินผล เลียงตามลำดับ ส่วนด้านปัญหาและอุปสรรคในการมีส่วนร่วมของประชาชนงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์พบว่าอยู่ในระดับปานกลางCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27276 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595056 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-32 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595064 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-32 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฎร์ธานี / ศราวุฒิ ดีทองอ่อน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฎร์ธานี Original title : Community Volunteer Police’s Participation in Crime Suppression: The Case of Mueang Surat Thani Police Station Material Type: printed text Authors: ศราวุฒิ ดีทองอ่อน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 78 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-33
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การมีส่วนร่วม
[LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกันKeywords: การมีส่วนร่วม,
การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม,
อาสาสมัครตำรวจบ้านAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วม และเพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม : กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฏร์ธานี จำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา และระยะเวลาในการเป็นอาสาสมัครตำรวจบ้าน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ อาสาสมัครตำรวจบ้านทั้งหมดของสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฏร์ธานีจำนวน 360 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การทดสอบค่า F-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัย พบว่า การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า การปฏิบัติงานตามแผนที่กำหนดมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือการมีส่วนร่วม การประเมินผลการปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแผนการทำงาน และการวางแผนการปฏิบัติงาน ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมจำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา และระยะเวลาในการเป็นอาสาสมัครตำรวจบ้าน พบว่า โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26949 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฎร์ธานี = Community Volunteer Police’s Participation in Crime Suppression: The Case of Mueang Surat Thani Police Station [printed text] / ศราวุฒิ ดีทองอ่อน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 78 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-33
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การมีส่วนร่วม
[LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกันKeywords: การมีส่วนร่วม,
การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม,
อาสาสมัครตำรวจบ้านAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วม และเพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม : กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฏร์ธานี จำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา และระยะเวลาในการเป็นอาสาสมัครตำรวจบ้าน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ อาสาสมัครตำรวจบ้านทั้งหมดของสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฏร์ธานีจำนวน 360 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การทดสอบค่า F-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัย พบว่า การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า การปฏิบัติงานตามแผนที่กำหนดมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือการมีส่วนร่วม การประเมินผลการปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแผนการทำงาน และการวางแผนการปฏิบัติงาน ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมจำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา และระยะเวลาในการเป็นอาสาสมัครตำรวจบ้าน พบว่า โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26949 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594273 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-33 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594265 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-33 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดเทศบาลธาตุทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี / กำพล ถนอมศักดิ์ดำรง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดเทศบาลธาตุทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี Original title : A Comparative Study of Community Participation in Preventing and Solving the Narcotics Problem in Thad Tong Municipal District, Bo Thong District, Chon Buri Province Material Type: printed text Authors: กำพล ถนอมศักดิ์ดำรง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 95 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-25
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Narcotics, Control of -- Thailand -- Chon Buri -- Thad Tong
[LCSH]Participation
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วม
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกันและการแก้ปัญหาKeywords: การเปรียบเทียบ
การมีส่วนร่วม
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
ยาเสพติด
จังหวัดชลบุรีAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพย์ติด Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26106 SIU IS-T. การศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดเทศบาลธาตุทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี = A Comparative Study of Community Participation in Preventing and Solving the Narcotics Problem in Thad Tong Municipal District, Bo Thong District, Chon Buri Province [printed text] / กำพล ถนอมศักดิ์ดำรง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 95 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-25
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Narcotics, Control of -- Thailand -- Chon Buri -- Thad Tong
[LCSH]Participation
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วม
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกันและการแก้ปัญหาKeywords: การเปรียบเทียบ
การมีส่วนร่วม
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
ยาเสพติด
จังหวัดชลบุรีAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพย์ติด Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26106 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590289 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-25 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000590255 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-25 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590628 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-25 c.3 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000591477 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-25 c.4 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอย บริเวณแยกราชประสงค์ / สุกัญญา สุขะเต / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอย บริเวณแยกราชประสงค์ Original title : Attitudes of People towards Policy in Arranging Hawkers and Street Vendors at the Ratchaprasong Intersection Material Type: printed text Authors: สุกัญญา สุขะเต, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 84 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-05
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดระเบียบชุมชน
[LCSH]ประชากร -- ทัศนคติ -- หาบเร่แผงลอยKeywords: ทัศนคติ,
หาบเร่แผงลอย,
นโยบายAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ และเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนผู้ใช้เส้นทางบริเวณแยกราชประสงค์ จำนวน 300 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ ทั้ง 5 ด้าน ในภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก เมื่อแยกเป็นรายด้าน อันดับแรกคือ ด้านความเข้าใจ รองลงมาคือ ด้านการจัดสภาพแวดล้อม ด้านนโยบาย ด้านพฤติกรรม และด้านความรู้สึก เป็นอันดับสุดท้าย ผลการทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ พบว่า ประชาชนที่มีเพศ และรายได้ต่างกัน มีทัศนคติต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ ไม่แตกต่างกัน ส่วนประชาชนที่มีอายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน มีทัศนคติต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณราชประสงค์ แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26728 SIU IS-T. ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอย บริเวณแยกราชประสงค์ = Attitudes of People towards Policy in Arranging Hawkers and Street Vendors at the Ratchaprasong Intersection [printed text] / สุกัญญา สุขะเต, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 84 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-05
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดระเบียบชุมชน
[LCSH]ประชากร -- ทัศนคติ -- หาบเร่แผงลอยKeywords: ทัศนคติ,
หาบเร่แผงลอย,
นโยบายAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ และเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนผู้ใช้เส้นทางบริเวณแยกราชประสงค์ จำนวน 300 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ ทั้ง 5 ด้าน ในภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก เมื่อแยกเป็นรายด้าน อันดับแรกคือ ด้านความเข้าใจ รองลงมาคือ ด้านการจัดสภาพแวดล้อม ด้านนโยบาย ด้านพฤติกรรม และด้านความรู้สึก เป็นอันดับสุดท้าย ผลการทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ พบว่า ประชาชนที่มีเพศ และรายได้ต่างกัน มีทัศนคติต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ ไม่แตกต่างกัน ส่วนประชาชนที่มีอายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน มีทัศนคติต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณราชประสงค์ แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26728 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593341 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-05 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593317 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-05 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. บทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพร / บุญเกื้อ พูลชัย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : บทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพร Original title : The Roles in Drug Prevention and Suppression of Police Officers in Chumphon Material Type: printed text Authors: บุญเกื้อ พูลชัย, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 77 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-35
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความร่วมมือ
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกัน -- ชุมพรKeywords: การจัดระบบสายตรวจ,
การประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชน,
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด,
ความร่วมมือจากประชาชนAbstract: การวิจัยครั้งนี้ศึกษาและเปรียบเทียบบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลกลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือข้าราชการตำรวจในสถานีตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรจำนวน 171 คนใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูลประชากรศาสตร์และพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถาม และใช้สถิติเชิงอนุมานโดยการทดสอบค่าที (t-test) และค่า F-test ในการวิเคราะห์ตัวแปรและทดสอบสมมติฐาน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัยพบว่าบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรอยู่ในระดับปานกลางที่ค่าเฉลี่ย (x̄ = 3.20) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านของบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจการจัดระบบสายตรวจพบว่าการแสวงหาความร่วมมือมีมากสุด ตามด้วยการประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชนการสืบสวนจับกุมและการสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานตามลำดับ ผลการเปรียบเทียบบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันมีบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27145 SIU IS-T. บทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพร = The Roles in Drug Prevention and Suppression of Police Officers in Chumphon [printed text] / บุญเกื้อ พูลชัย, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 77 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-35
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความร่วมมือ
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกัน -- ชุมพรKeywords: การจัดระบบสายตรวจ,
การประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชน,
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด,
ความร่วมมือจากประชาชนAbstract: การวิจัยครั้งนี้ศึกษาและเปรียบเทียบบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลกลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือข้าราชการตำรวจในสถานีตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรจำนวน 171 คนใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูลประชากรศาสตร์และพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถาม และใช้สถิติเชิงอนุมานโดยการทดสอบค่าที (t-test) และค่า F-test ในการวิเคราะห์ตัวแปรและทดสอบสมมติฐาน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัยพบว่าบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรอยู่ในระดับปานกลางที่ค่าเฉลี่ย (x̄ = 3.20) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านของบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจการจัดระบบสายตรวจพบว่าการแสวงหาความร่วมมือมีมากสุด ตามด้วยการประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชนการสืบสวนจับกุมและการสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานตามลำดับ ผลการเปรียบเทียบบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันมีบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27145 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594307 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-35 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594315 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-35 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ปัจจัยการป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล / สัมฤทธิ์ กระสังข์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยการป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Vehicle Theft Prevention Factors Responsible Area Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: สัมฤทธิ์ กระสังข์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xi, 139 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]โจรกรรมรถยนต์ -- การป้องกัน Keywords: การป้องกัน,
การโจรกรรมรถยนต์,
การปฏิบัติตามยุทธศาสตร์,
ปัจจัยการป้องกันAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับปัจจัยแวดล้อมปัจเจกบุคคล ปัจจัยภายในองค์การ และปัจจัยเชิงนโยบายของการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล 2) ศึกษาความสัมระหว่างปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล ปัจจัยภายในองค์การ และปัจจัยเชิงนโยบายในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล 3) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล ใช้ระเบียบวิจัยแบบผสานวิธี คือการวิจัยเชิงปริมาณ และวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจจากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 รวมทั้งหมด 26,750 คน คำนวนกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของ Yamane (1997) ได้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 9 คน ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก และทำการวิเคราะห์เนื้อหา สถิติเชิงพรรณาที่ใช้คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน
ผลการวิจัย พบว่า
1) ระดับปัจจัยโดยภาพรวมมีค่าในระดับมากทั้ง 3 ปัจจัย คือ ปัจจัยเชิงนโยบาย มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.67 รองลงมาคือ ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.55 และปัจจัยภายในองค์การ มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.46
2) ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านครอบครัว และสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านเศรษฐกิจ มีค่า (r=0.67, r=0.52 และ r=0.40) ตามลำดับ ปัจจัยภายในองค์การ ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านการให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน (r=0.90) และตัวแปรค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำสุด คือ ด้านวัฒนธรรมองค์การ (r=0.019) ปัจจัยเชิงนโยบาย ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านการวางแผนและการควบคุม (r=0.80) และตัวแปรมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำสุด คือ ด้านระบบการวัดผล (r=0.80)
3) ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคลตัวแปรที่ส่งผล คือ ด้านครอบครัว และสังคม ปัจจัยภายในองค์การตัวแปรที่ส่งผลคือ ด้านการประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ข้อมูล และปัจจัยเชิงนโยบายมีตัว 5 ตัวแปรที่ส่งผล ได้แก่ ด้านการวางแผนและการควบคุม ด้านการกำหนดภารกิจ และมอบหมายงาน ด้านวัตถุประสงค์ของนโยบาย ด้านมาตรฐานการให้คุณ-โทษ และด้านมาตรฐานการปฏิบัติงานCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28107 SIU THE-T. ปัจจัยการป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล = Vehicle Theft Prevention Factors Responsible Area Metropolitan Police Bureau [printed text] / สัมฤทธิ์ กระสังข์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 139 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]โจรกรรมรถยนต์ -- การป้องกัน Keywords: การป้องกัน,
การโจรกรรมรถยนต์,
การปฏิบัติตามยุทธศาสตร์,
ปัจจัยการป้องกันAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับปัจจัยแวดล้อมปัจเจกบุคคล ปัจจัยภายในองค์การ และปัจจัยเชิงนโยบายของการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล 2) ศึกษาความสัมระหว่างปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล ปัจจัยภายในองค์การ และปัจจัยเชิงนโยบายในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล 3) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล ใช้ระเบียบวิจัยแบบผสานวิธี คือการวิจัยเชิงปริมาณ และวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจจากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 รวมทั้งหมด 26,750 คน คำนวนกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของ Yamane (1997) ได้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 9 คน ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก และทำการวิเคราะห์เนื้อหา สถิติเชิงพรรณาที่ใช้คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน
ผลการวิจัย พบว่า
1) ระดับปัจจัยโดยภาพรวมมีค่าในระดับมากทั้ง 3 ปัจจัย คือ ปัจจัยเชิงนโยบาย มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.67 รองลงมาคือ ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.55 และปัจจัยภายในองค์การ มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.46
2) ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านครอบครัว และสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านเศรษฐกิจ มีค่า (r=0.67, r=0.52 และ r=0.40) ตามลำดับ ปัจจัยภายในองค์การ ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านการให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน (r=0.90) และตัวแปรค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำสุด คือ ด้านวัฒนธรรมองค์การ (r=0.019) ปัจจัยเชิงนโยบาย ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านการวางแผนและการควบคุม (r=0.80) และตัวแปรมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำสุด คือ ด้านระบบการวัดผล (r=0.80)
3) ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคลตัวแปรที่ส่งผล คือ ด้านครอบครัว และสังคม ปัจจัยภายในองค์การตัวแปรที่ส่งผลคือ ด้านการประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ข้อมูล และปัจจัยเชิงนโยบายมีตัว 5 ตัวแปรที่ส่งผล ได้แก่ ด้านการวางแผนและการควบคุม ด้านการกำหนดภารกิจ และมอบหมายงาน ด้านวัตถุประสงค์ของนโยบาย ด้านมาตรฐานการให้คุณ-โทษ และด้านมาตรฐานการปฏิบัติงานCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28107 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607327 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-09 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607330 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-09 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรในพื้นที่จังหวัดราชบุรี / พงษ์รวี ค้าทวี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรในพื้นที่จังหวัดราชบุรี Original title : Factors Affecting to Performance in Eliminating Narcotics Consumption by the Police Narcotics Ad Hoc Provincial Police in Ratchaburi Province Material Type: printed text Authors: พงษ์รวี ค้าทวี, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 89 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ยาเสพติด -- ราชบุรี -- การป้องกันและควบคุมKeywords: ปัจจัย
ผลกระทบ
การปฏิบัติงาน
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 2) วิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาการดำเนินงาน 3) ศึกษาหาวิธีการแก้ไขสาเหตุของปัจจัยในการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ชุดป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของสถานีตำรวจภูธรในจังหวัดราชบุรี เพศชาย จำนวน 167 นาย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม 2 กลุ่มด้วย t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี LSD
ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานเรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน ด้านสมรรถนะของบุคลากร และด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน ด้านการยอมรับในอำนาจหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน และด้านเวลาและการจัดสรรทรัพยากร ตามลำดับ 2. สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาในการทำงานมากที่สุด พบว่า การติดต่อสื่อสารและการประสานงานและด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน 3. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อายุงาน ชั้นยศ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และการเข้ารับการอบรมที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ 1. การติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ผู้บังคับบัญชาควรอธิบายแผนงานที่สั่งการไปยังเจ้าหน้าที่ตำรวจ ถึงวัตถุประสงค์ วิธีการ ผลลัพธ์ที่ต้องการ ตลอดจนรับฟังความคิดเห็น และให้โอกาสเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ซักถาม เพื่อให้เจ้าหน้าที่ตำรวจได้
ทำงานด้วยความเข้าใจ มีการติดต่อ ประสานงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการป้องกันปราบปรามยาเสพติด ในรูปแบบการทำงานแบบบูรณาการร่วมกัน 2. การฝึกอบรม ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้ทราบวัตถุประสงค์กระบวนการการทำงาน เป็นแนวทางให้แก่ผู้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ด้านการใช้เทคโนโลยี ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว สามารถดูข้อมูลย้อนหลังได้ และมีความเป็นระบบมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26526 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรในพื้นที่จังหวัดราชบุรี = Factors Affecting to Performance in Eliminating Narcotics Consumption by the Police Narcotics Ad Hoc Provincial Police in Ratchaburi Province [printed text] / พงษ์รวี ค้าทวี, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 89 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ยาเสพติด -- ราชบุรี -- การป้องกันและควบคุมKeywords: ปัจจัย
ผลกระทบ
การปฏิบัติงาน
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 2) วิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาการดำเนินงาน 3) ศึกษาหาวิธีการแก้ไขสาเหตุของปัจจัยในการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ชุดป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของสถานีตำรวจภูธรในจังหวัดราชบุรี เพศชาย จำนวน 167 นาย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม 2 กลุ่มด้วย t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี LSD
ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานเรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน ด้านสมรรถนะของบุคลากร และด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน ด้านการยอมรับในอำนาจหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน และด้านเวลาและการจัดสรรทรัพยากร ตามลำดับ 2. สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาในการทำงานมากที่สุด พบว่า การติดต่อสื่อสารและการประสานงานและด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน 3. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อายุงาน ชั้นยศ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และการเข้ารับการอบรมที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ 1. การติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ผู้บังคับบัญชาควรอธิบายแผนงานที่สั่งการไปยังเจ้าหน้าที่ตำรวจ ถึงวัตถุประสงค์ วิธีการ ผลลัพธ์ที่ต้องการ ตลอดจนรับฟังความคิดเห็น และให้โอกาสเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ซักถาม เพื่อให้เจ้าหน้าที่ตำรวจได้
ทำงานด้วยความเข้าใจ มีการติดต่อ ประสานงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการป้องกันปราบปรามยาเสพติด ในรูปแบบการทำงานแบบบูรณาการร่วมกัน 2. การฝึกอบรม ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้ทราบวัตถุประสงค์กระบวนการการทำงาน เป็นแนวทางให้แก่ผู้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ด้านการใช้เทคโนโลยี ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว สามารถดูข้อมูลย้อนหลังได้ และมีความเป็นระบบมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26526 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591691 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591709 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available