From this page you can:
Home |
Search results
5 result(s) search for keyword(s) 'โรคเข่าเสื่อม.การรับรู้มโนภาพความเจ็บป่วย.ภาวะสุขภาพ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ปัจจัยคัดสรรในการทำนายภาวะสุขภาพของผูู้ที่มีอาการโรคเข่าเสื่อม / สุภาพ อารีเอื้อ in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/09/2016])
[article]
Title : ปัจจัยคัดสรรในการทำนายภาวะสุขภาพของผูู้ที่มีอาการโรคเข่าเสื่อม Original title : Selected factors predicting health status among persons with knee osteoarthitis Material Type: printed text Authors: สุภาพ อารีเอื้อ, Author ; สมหมาย วนะวนานต์, Author ; อินทิรา รูปสว่าง, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.28-46 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/09/2016] . - p.28-46Keywords: โรคเข่าเสื่อม.การรับรู้มโนภาพความเจ็บป่วย.ภาวะสุขภาพ. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25596 [article] ปัจจัยคัดสรรในการทำนายภาวะสุขภาพของผูู้ที่มีอาการโรคเข่าเสื่อม = Selected factors predicting health status among persons with knee osteoarthitis [printed text] / สุภาพ อารีเอื้อ, Author ; สมหมาย วนะวนานต์, Author ; อินทิรา รูปสว่าง, Author . - 2016 . - p.28-46.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบในการเผชิญปัญหากับภาวะสุขภาพจิตของ / เจนจิรา เกียรติสินทรัพย์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([06/20/2016])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบในการเผชิญปัญหากับภาวะสุขภาพจิตของ : นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในเขต เมือง จังหวัดนนทบุรี Material Type: printed text Authors: เจนจิรา เกียรติสินทรัพย์, Author ; สาริณี โต๊ะทอง, Author ; วรารัตน์ ประทานวรปัญญา, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.61-72 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 [06/20/2016] . - p.61-72Keywords: รูปแบบการเผชิญปัญหา.ภาวะสุขภาพจิต.นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นจังหวัดนนทบุรี. Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25552 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบในการเผชิญปัญหากับภาวะสุขภาพจิตของ : นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในเขต เมือง จังหวัดนนทบุรี [printed text] / เจนจิรา เกียรติสินทรัพย์, Author ; สาริณี โต๊ะทอง, Author ; วรารัตน์ ประทานวรปัญญา, Author . - 2016 . - p.61-72.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปัจจัยทำนายภาวะสุขภาพของผู้ป่วยภายหลังได้รับการผ่าตัดเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ / ทีปทัศน์ ชินตาปัญญากุล in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 ([11/16/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายภาวะสุขภาพของผู้ป่วยภายหลังได้รับการผ่าตัดเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ Original title : Predicting factors of health status among patients after coronary artery bypass graft surgery Material Type: printed text Authors: ทีปทัศน์ ชินตาปัญญากุล, Author ; นรลักขณ์ เอื้อกิจ, Author ; สุชาต ไชยโรจน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.96-110 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.96-110Keywords: ผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ.ภาวะสุขภาพ.ปัจจัยทำนาย. Abstract: การวิจัยเชิงทำนายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพ ความสัมพันธ์และอำนาจการทำนายของปัจจัยทำนายได้แก่ อายุ ระดับสมรรถภาพของหัวใจก่อนผ่าตัด ค่าการบีบตัวของหัวใจ โรคร่วม ความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัด และพฤติกรรมการดูแลตนเองที่มีต่อภาวะสุขภาพของผู้ป่วยผ่าตัดเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ
กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจทั้งเพศชายและหญิงที่มีอายุ 18-59 ปี จำนวน 123 คน ที่มารับบริการ ณ แผนกผู้ป่วยนอกศัลยกรรม โรงพยาบาลรามาธิบดี และโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกโรคร่วม แบบสอบถามความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัด แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเอง และแบบสอบถามภาวะสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีภาวะสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี (Mean = 58.03, S.D. = 3.90) พฤติกรรมการดูแลตนเอง ค่าการบีบตัวของหัวใจและความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง (r = .678, r = .583 และ r = .549 ตามลำดับ) โรคร่วม อายุและระดับสมรรถภาพของหัวใจก่อนผ่าตัดมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง (r = -.565, r = -.554 และ r = -.537 ตามลำดับ) พฤติกรรมการดูแลตนเอง โรคร่วม ระดับสมรรถภาพของหัวใจก่อนผ่าตัด อายุ ค่าการบีบตัวของหัวใจและความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัดสามารถร่วมทำนายภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างได้ร้อยละ 74
ผลการศึกษานี้ทำให้เกิดความเข้าใจในการพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องโรค พฤติกรรมการดูแลตนเองให้กับผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27501 [article] ปัจจัยทำนายภาวะสุขภาพของผู้ป่วยภายหลังได้รับการผ่าตัดเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ = Predicting factors of health status among patients after coronary artery bypass graft surgery [printed text] / ทีปทัศน์ ชินตาปัญญากุล, Author ; นรลักขณ์ เอื้อกิจ, Author ; สุชาต ไชยโรจน์, Author . - 2017 . - p.96-110.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.96-110Keywords: ผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ.ภาวะสุขภาพ.ปัจจัยทำนาย. Abstract: การวิจัยเชิงทำนายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพ ความสัมพันธ์และอำนาจการทำนายของปัจจัยทำนายได้แก่ อายุ ระดับสมรรถภาพของหัวใจก่อนผ่าตัด ค่าการบีบตัวของหัวใจ โรคร่วม ความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัด และพฤติกรรมการดูแลตนเองที่มีต่อภาวะสุขภาพของผู้ป่วยผ่าตัดเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ
กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจทั้งเพศชายและหญิงที่มีอายุ 18-59 ปี จำนวน 123 คน ที่มารับบริการ ณ แผนกผู้ป่วยนอกศัลยกรรม โรงพยาบาลรามาธิบดี และโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกโรคร่วม แบบสอบถามความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัด แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเอง และแบบสอบถามภาวะสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีภาวะสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี (Mean = 58.03, S.D. = 3.90) พฤติกรรมการดูแลตนเอง ค่าการบีบตัวของหัวใจและความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง (r = .678, r = .583 และ r = .549 ตามลำดับ) โรคร่วม อายุและระดับสมรรถภาพของหัวใจก่อนผ่าตัดมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง (r = -.565, r = -.554 และ r = -.537 ตามลำดับ) พฤติกรรมการดูแลตนเอง โรคร่วม ระดับสมรรถภาพของหัวใจก่อนผ่าตัด อายุ ค่าการบีบตัวของหัวใจและความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัดสามารถร่วมทำนายภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างได้ร้อยละ 74
ผลการศึกษานี้ทำให้เกิดความเข้าใจในการพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องโรค พฤติกรรมการดูแลตนเองให้กับผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27501 ผลของโปรแกรมการรับรู้ความสามารถของผู้ดูแลในการตอบสนองความต้องการพื้นฐานทารก / วนิสา ทะยีเซะ in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 ([05/24/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการรับรู้ความสามารถของผู้ดูแลในการตอบสนองความต้องการพื้นฐานทารก : ต่อภาวะสุขภาพทารกแรกเกิดก่อนกำหนดมุสลิมในจังหวัดนราธิวาส Original title : Effects of a perceived self-efficacy promption program for caregivers responding to the basic needs of healthy muslim preterm infants in Naradiwas province Material Type: printed text Authors: วนิสา ทะยีเซะ, Author ; ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, Author ; ศิราคริน พิชัยสงคราม, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.60-74 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 [05/24/2017] . - p.60-74Keywords: การรับรู้ความสามารถตนเอง.การตอบสนองความต้องการพื้นฐาน.ภาวะสุขภาพ.ทารกเกิดก่อนกำหนด.มุสลิมจังหวัดนราธิวาส. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26763 [article] ผลของโปรแกรมการรับรู้ความสามารถของผู้ดูแลในการตอบสนองความต้องการพื้นฐานทารก = Effects of a perceived self-efficacy promption program for caregivers responding to the basic needs of healthy muslim preterm infants in Naradiwas province : ต่อภาวะสุขภาพทารกแรกเกิดก่อนกำหนดมุสลิมในจังหวัดนราธิวาส [printed text] / วนิสา ทะยีเซะ, Author ; ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, Author ; ศิราคริน พิชัยสงคราม, Author . - 2017 . - p.60-74.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ภาวะสุขภาพและการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชน in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ภาวะสุขภาพและการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชน : กลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด กรณีศึกษา: ตำบลคูบางหลวง จังหวัดปทุมธานี Material Type: printed text Publication Date: 2015 Article on page: pp.29-43 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.29-43Keywords: ภาวะสุขภาพ.การเข้าถึงบริการสุขภาพ.กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลิอดหัวใจ. Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพิื่อประเมินภาวะสุขภาพและประสบการณ์การเข้าถึงบริการสุขภาพโรคหัวใจและหลอดเลือด คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ multi-stage random sampling ในกลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จำนวน 214 ราย ที่ตำบลคูบางหลวง จังหวัดปทุมธานี เก็บข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงหลอดเลือดหัวใจและแบบสัมภาษณ์คำถามปลายเปิด เกี่ยวกับการใช้บริการสุขภาพโรคหัวใจและหลอดเลือด วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติบรรยาย วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis)ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 71.03 ประกอบร้อยละ 40 เป็นผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างทั้งหญิง และชายมีภาวะสุขภาพคล้ายคลึงกัน เช่น เคยมีอาการเจ็บหน้าอก และบุคคลในครอบครัว (สายตรง) เป็นโรคหัวใจ ส่วนใหญ่มีดัชนีมวลกายอยู่ในระดับน้ำหนักเกินและอ้วน และผลการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจของกลุ่มเพศหญิงผิดปกติมากกว่ากลุ่มเพศชาย กลุ่มตัวอย่างทั้งหญิงและชาย ร้อยละ 30.4 มีคะแนนความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดใน 10 ปีข้างหน้าในระดับรุนแรง กลุ่มตัวอย่างที่เป็นโรคเรื้อรังเพียงร้อยละ 53.7 ที่เคยมีอาการเจ็บหน้าอกเคยไปใช้บริการสุขภาพที่โรงพยาบาลทั่วไปในการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ กลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยร้อยละ 28.01 เคยไปช้บริการตรวจคัดกรองโรคหัวจหลอดเลิือดที่โรงพยาบาลส่เสริมสุขภาพตำบล ส่วนปัจจัยที่เป็นอุปสรรคในการไปใช้บริการด้านการรักษาโรคหัวใจและหลอดลเลือด ได้แก่ ขาดอุปกรณ์ที่ทันสมัย ให้บริการล่าช้า ไม่ได้รับข้อมูลว่ามีบริการตรวจคัดกรองโรคหัวใจและหลอดเลือด และผู้สูงอายุมีข้อจำกัดความสามารถในการเดินทางไปใช้บริการ จากการศึกษานี้ให้เห็นหลักฐานเชิงประจักษ์ว่า ประชาชนผู้สูงอายุในชุมชนมีความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจในระดับรุนแรง จึงเป็นโอกาสที่บุคลากรทางด้านสุขภาพสามารถจัดโปรแกรมเพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชนในชุมชนให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมทั้งควรประเมิน และค้นหาความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจในโรค NCD เพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจอย่างสม่ำเสมอ.
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24997 [article] ภาวะสุขภาพและการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชน : กลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด กรณีศึกษา: ตำบลคูบางหลวง จังหวัดปทุมธานี [printed text] . - 2015 . - pp.29-43.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.29-43Keywords: ภาวะสุขภาพ.การเข้าถึงบริการสุขภาพ.กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลิอดหัวใจ. Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพิื่อประเมินภาวะสุขภาพและประสบการณ์การเข้าถึงบริการสุขภาพโรคหัวใจและหลอดเลือด คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ multi-stage random sampling ในกลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จำนวน 214 ราย ที่ตำบลคูบางหลวง จังหวัดปทุมธานี เก็บข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงหลอดเลือดหัวใจและแบบสัมภาษณ์คำถามปลายเปิด เกี่ยวกับการใช้บริการสุขภาพโรคหัวใจและหลอดเลือด วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติบรรยาย วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis)ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 71.03 ประกอบร้อยละ 40 เป็นผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างทั้งหญิง และชายมีภาวะสุขภาพคล้ายคลึงกัน เช่น เคยมีอาการเจ็บหน้าอก และบุคคลในครอบครัว (สายตรง) เป็นโรคหัวใจ ส่วนใหญ่มีดัชนีมวลกายอยู่ในระดับน้ำหนักเกินและอ้วน และผลการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจของกลุ่มเพศหญิงผิดปกติมากกว่ากลุ่มเพศชาย กลุ่มตัวอย่างทั้งหญิงและชาย ร้อยละ 30.4 มีคะแนนความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดใน 10 ปีข้างหน้าในระดับรุนแรง กลุ่มตัวอย่างที่เป็นโรคเรื้อรังเพียงร้อยละ 53.7 ที่เคยมีอาการเจ็บหน้าอกเคยไปใช้บริการสุขภาพที่โรงพยาบาลทั่วไปในการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ กลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยร้อยละ 28.01 เคยไปช้บริการตรวจคัดกรองโรคหัวจหลอดเลิือดที่โรงพยาบาลส่เสริมสุขภาพตำบล ส่วนปัจจัยที่เป็นอุปสรรคในการไปใช้บริการด้านการรักษาโรคหัวใจและหลอดลเลือด ได้แก่ ขาดอุปกรณ์ที่ทันสมัย ให้บริการล่าช้า ไม่ได้รับข้อมูลว่ามีบริการตรวจคัดกรองโรคหัวใจและหลอดเลือด และผู้สูงอายุมีข้อจำกัดความสามารถในการเดินทางไปใช้บริการ จากการศึกษานี้ให้เห็นหลักฐานเชิงประจักษ์ว่า ประชาชนผู้สูงอายุในชุมชนมีความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจในระดับรุนแรง จึงเป็นโอกาสที่บุคลากรทางด้านสุขภาพสามารถจัดโปรแกรมเพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชนในชุมชนให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมทั้งควรประเมิน และค้นหาความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจในโรค NCD เพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจอย่างสม่ำเสมอ.
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24997