From this page you can:
Home |
Search results
5 result(s) search for keyword(s) 'เฮโรอีน. การเสพยา.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
กระบวนการติดเฮโรอีน / รักซ้อน รัตน์วิจิตต์เวช / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ - 2538
Title : กระบวนการติดเฮโรอีน Original title : The processes of heroin addiction Material Type: printed text Authors: รักซ้อน รัตน์วิจิตต์เวช, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Publication Date: 2538 Pagination: 201 หน้า. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: ปริญญานิพนธ์ (ศศ.ด (พัฒนศึกษาศาสตร์))-- มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2538 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่สังคม
[LCSH]การติดเฮโรอีน
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชนKeywords: เฮโรอีน.
การเสพยา.Class number: WM270 ร711 2538 Abstract: การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการใช้การสัมภาษณ์ระดับลึก รายละเอียดประวัติชีวิตของกลุ่มผู้ติดยาเสพติดเกี่ยวกับประสบการณ์ชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเข้าสู่กระบวนการติดเฮโรอีนและทัศนะของพวกเขาเกี่ยวกับเงื่อนไขที่เกิดขึ้นในชีวิตที่ทำให้เขาเป็นผู้ติดเฮโรอีน กลุ่มตัวอย่างได้จากการเลือกแบบเชิงทฤษฎีจากเยาวชนผู้ติดเฮโรอีนที่มารับบริการบำบัดรักษาที่คลินิคยาเสพติด โดยการถอนพิษยด้วยเมทาโดน เพศชาย อายุระหว่าง 15-25 ปี จำนวนทั้งหมด 32 ราย
ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการติดเฮโรอีนของเยาวชนประกอบด้วยขั้นตอนต่อเนื่องดังนี้
1.ขั้นเริ่มต้นเสพ เงื่อนไขที่ทำให้เยาวชนเข้าสู่ขั้นเริ่มต้นเสพ ได้แก่ เงื่อนไขด้านบุคคล เงื่อนไขด้านเพื่อน เงื่อนไขด้านครอบครัว เงื่อนไขด้านโรงเรียน เงื่อนไขเีกี่ยวกับเฮโรอีน และเงื่อนไขเสพด้วยความไม่รู้
2. ขั้นเสพต่อเนื่อง เงื่อนไขที่ทำให้เยาวชนเมื่อผ่านขั้นเริ่มต้นเสพแล้วมีการเสพต่อเนื่อง ได้แก่ ความรู้สึกเคลิบเคลิ้มสุขสบาย การประเมินความรู้สึกตนเอง การอธิบายเหตุผล การปฎิสังสรรค์กับเพื่อนที่เสพเฮโรอีน การหลีกเลี่ยงกลุ่มอาการเนื่องจากการหยุดยา และติดใจรสชาดของเฮโรอีน
ผลการวิจัยพบว่า มีเงื่อนไขที่ทำให้กระบวนการติดเฮโรอีนถูกชะลอให้ช้าออกไป ได้แก่ การให้ความหมายในเชิงลบ การไม่รู้วิธีเสพที่ถูกต้อง และเงื่อนไขด้านสถานการณ์ที่ไม่เอื้อต่อการเสพเฮโรอีนต่อ
นอกจากนั้น การธำรงการเป็นผู้ติดเฮโรอีนขึ้นอยู่กับการยอมรับและให้นิยามตนเอง เครือข่ายสัมพันธ์ ลักษณะความสัมพันธ์ การถูกประทับตรา และการมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนแบบซ่อนเร้นด้วยการแสดงตัวเหมือนคนอื่น ๆ เป็นต้น
ผลการวิจัยนี้ นำไปสู่ข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การป้องกันและให้การศึกษาเกี่ยวกับการใช้ยาเสพติด การบำบัดรักษา การฟื้นฟูสมรรถภาพ การติดตามผล และการดูแลภายหลังการบำบัดรักษา ผลการวิจัยนี่จะเป็นประโยชน์ต่อพ่อ แม่ ครู อาจารย์ นักเรียน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาเสพติดCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23292 กระบวนการติดเฮโรอีน = The processes of heroin addiction [printed text] / รักซ้อน รัตน์วิจิตต์เวช, Author . - กรุงเทพ ฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2538 . - 201 หน้า. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
ปริญญานิพนธ์ (ศศ.ด (พัฒนศึกษาศาสตร์))-- มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2538
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่สังคม
[LCSH]การติดเฮโรอีน
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชนKeywords: เฮโรอีน.
การเสพยา.Class number: WM270 ร711 2538 Abstract: การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการใช้การสัมภาษณ์ระดับลึก รายละเอียดประวัติชีวิตของกลุ่มผู้ติดยาเสพติดเกี่ยวกับประสบการณ์ชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเข้าสู่กระบวนการติดเฮโรอีนและทัศนะของพวกเขาเกี่ยวกับเงื่อนไขที่เกิดขึ้นในชีวิตที่ทำให้เขาเป็นผู้ติดเฮโรอีน กลุ่มตัวอย่างได้จากการเลือกแบบเชิงทฤษฎีจากเยาวชนผู้ติดเฮโรอีนที่มารับบริการบำบัดรักษาที่คลินิคยาเสพติด โดยการถอนพิษยด้วยเมทาโดน เพศชาย อายุระหว่าง 15-25 ปี จำนวนทั้งหมด 32 ราย
ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการติดเฮโรอีนของเยาวชนประกอบด้วยขั้นตอนต่อเนื่องดังนี้
1.ขั้นเริ่มต้นเสพ เงื่อนไขที่ทำให้เยาวชนเข้าสู่ขั้นเริ่มต้นเสพ ได้แก่ เงื่อนไขด้านบุคคล เงื่อนไขด้านเพื่อน เงื่อนไขด้านครอบครัว เงื่อนไขด้านโรงเรียน เงื่อนไขเีกี่ยวกับเฮโรอีน และเงื่อนไขเสพด้วยความไม่รู้
2. ขั้นเสพต่อเนื่อง เงื่อนไขที่ทำให้เยาวชนเมื่อผ่านขั้นเริ่มต้นเสพแล้วมีการเสพต่อเนื่อง ได้แก่ ความรู้สึกเคลิบเคลิ้มสุขสบาย การประเมินความรู้สึกตนเอง การอธิบายเหตุผล การปฎิสังสรรค์กับเพื่อนที่เสพเฮโรอีน การหลีกเลี่ยงกลุ่มอาการเนื่องจากการหยุดยา และติดใจรสชาดของเฮโรอีน
ผลการวิจัยพบว่า มีเงื่อนไขที่ทำให้กระบวนการติดเฮโรอีนถูกชะลอให้ช้าออกไป ได้แก่ การให้ความหมายในเชิงลบ การไม่รู้วิธีเสพที่ถูกต้อง และเงื่อนไขด้านสถานการณ์ที่ไม่เอื้อต่อการเสพเฮโรอีนต่อ
นอกจากนั้น การธำรงการเป็นผู้ติดเฮโรอีนขึ้นอยู่กับการยอมรับและให้นิยามตนเอง เครือข่ายสัมพันธ์ ลักษณะความสัมพันธ์ การถูกประทับตรา และการมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนแบบซ่อนเร้นด้วยการแสดงตัวเหมือนคนอื่น ๆ เป็นต้น
ผลการวิจัยนี้ นำไปสู่ข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การป้องกันและให้การศึกษาเกี่ยวกับการใช้ยาเสพติด การบำบัดรักษา การฟื้นฟูสมรรถภาพ การติดตามผล และการดูแลภายหลังการบำบัดรักษา ผลการวิจัยนี่จะเป็นประโยชน์ต่อพ่อ แม่ ครู อาจารย์ นักเรียน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาเสพติดCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23292 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357044 THE WM270 ร711 2538 Book Main Library General Shelf Available SIU IS-T. ปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 / จามร รัตนพงศ์บวร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 Original title : (Factors Leading to Drug Usage by Persons Committed for Identification Detained at the Facility for Identification of Area 13, Klong Prem Central Prison) Material Type: printed text Authors: จามร รัตนพงศ์บวร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 66 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-12
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ยาเสพติด
[LCSH]เรือนจำกลางคลองเปรมKeywords: ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์,
สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์,
การเสพยาเสพติดAbstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการ
ตรวจพิสูจน์ เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 ซึ่งจะได้นำมาเป็นแนวทางในการปรับปรุงนโยบาย
ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยใช้วิธีการวิจัยสนาม ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะจง
ในลักษณะตัวต่อตัว ซึ่งใช้คำถามแบบเดียวกันกับผู้ถูกสัมภาษณ์ทุกคน ทั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์ เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์ เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 เกิดจากการปัจจัยที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1. ตัวผู้เสพยาเสพติด 2. สถาบันครอบครัว 3. สังคมและสิ่งแวดล้อม และ 4. ภาครัฐ
จากการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเสพยาเสพยาติด คือ ทุกภาคส่วนต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเสพยาเสพติด เช่น การให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของยาเสพติดและบทลงโทษของกฎหมาย การให้โอกาสผู้เสพยาเสพติดกลับตัวกลับใจเลิกเสพยาเสพติด ตลอดจนภาครัฐควรจัดให้มีหน่วยงานในการบำบัดรักษาผู้เสพ/ติดยาเสพติดเป็นการเฉพาะ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบำบัดรักษาผู้เสพยาเสพติดอย่างแท้จริงCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26892 SIU IS-T. ปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 = (Factors Leading to Drug Usage by Persons Committed for Identification Detained at the Facility for Identification of Area 13, Klong Prem Central Prison) [printed text] / จามร รัตนพงศ์บวร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 66 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-12
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ยาเสพติด
[LCSH]เรือนจำกลางคลองเปรมKeywords: ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์,
สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์,
การเสพยาเสพติดAbstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการ
ตรวจพิสูจน์ เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 ซึ่งจะได้นำมาเป็นแนวทางในการปรับปรุงนโยบาย
ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยใช้วิธีการวิจัยสนาม ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะจง
ในลักษณะตัวต่อตัว ซึ่งใช้คำถามแบบเดียวกันกับผู้ถูกสัมภาษณ์ทุกคน ทั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์ เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์ เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 เกิดจากการปัจจัยที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1. ตัวผู้เสพยาเสพติด 2. สถาบันครอบครัว 3. สังคมและสิ่งแวดล้อม และ 4. ภาครัฐ
จากการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเสพยาเสพยาติด คือ ทุกภาคส่วนต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเสพยาเสพติด เช่น การให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของยาเสพติดและบทลงโทษของกฎหมาย การให้โอกาสผู้เสพยาเสพติดกลับตัวกลับใจเลิกเสพยาเสพติด ตลอดจนภาครัฐควรจัดให้มีหน่วยงานในการบำบัดรักษาผู้เสพ/ติดยาเสพติดเป็นการเฉพาะ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบำบัดรักษาผู้เสพยาเสพติดอย่างแท้จริงCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26892 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593697 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-12 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593705 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-12 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า / วันเพ็ญ ใจปทุม / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า Material Type: printed text Authors: วันเพ็ญ ใจปทุม, Author ; สุภาริณีย์ สายแสงทอง, Author ; ศศลักษณ์ กล้าไพรี, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 63 หน้า. Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-028-1 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: การรับรู้.
วัยรุ่นชาย.
การเสพยา.Class number: HV5840 ว715 2544 Abstract: เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือพ่อ แม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า อายุระหว่าง 15-19 ปี ตึกโกเมน โรงพยาบาลธัญญารักษ์ จำนวน 20 คน โดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งโครงสร้าง เป็นรายบุคคลโดยการสัมภาษณ์พร้อมกับทั้งพ่อและแม่ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นจริงและการใช้คำถามเดียวกันทั้งพ่อแม่ที่บ่งบอกถึงการรับรู้ การให้ความหมายเกี่ยวกับยาบ้าและพฤติกรรมการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่แตกต่างกันออกไป ข้อมูลที่ได้จ้ากการสัมภาษณ์นำมาประมวล และวิเคราะห์เพื่อหาคำอธิบายพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
ผลจากการศึกษาพบว่า การรับรู้ของพ่อแม่เกี่ยวกับความหมายของยาบ้า พ่อ แม่ให้ความหมายของยาบ้าในทางที่ไม่ดี คือ ยาบ้าเมื่อเสพเข้าไปแล้วทำให้เกิดผลกระทบทั้งต่อร่างกายและจิตใจ พฤติกรรมทำให้สังคมไม่ยอมนับ ส่วนความหมายของยาบ้าในทางที่ดี คือ ใช้แล้วขยันทำงาน ไม่หลับ ร่างกายกระปรี้ กระเปร่า ซึ่งพ่อบางคนรับรู้โดยประสบการณ์ตรง คือ การทดลองใช้ และมีแม่บางรายไม่สามารถบอกความหมายของยาบ้าได้ เนื่องจากไม่ทราบ หรือรู้จักมาก่อน
การรับรู้ว่าลูกติดยาบ้าของพ่อแม่ รับรู้โดยการสังเกตจาก อาการทางร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรม มีผู้อื่นมาบอก เช่น ครู และเพื่อนบ้าน จึงทราบว่าลูกเสพยาบ้า
ความรู้สึกของพ่อแม่เมื่อรู้ว่าลูกติดยา ความรู้สึกแรกที่พบ คือ รู้สึกเสียใจมาก บางรายโกรธถึงขั้นทุบตีลูก โทษตนเองว่าดูแลลูกไม่ดี น้อยใจที่ลูกไม่เชื่อฟัง รู้สึกท้อแท้กลัวลูกจะรักษาไมาหาย อายกลัวเสียชื่อเสียง
การค้นหาสาเหตุ จากการศึกษาพบว่า สาเหตุที่ทำให้ลูกติดยาคือ การคบเพื่อนที่ติดยาเสพติด และพฤติกรรมเกเร มีสมาชิกในครอบครัวที่ติดยาบ้า จึงมีพฤติกรรมที่เลียนแบบ ติดจาการมีโรคประจำตัว มีปมด้อย เช่น หอบหืด ชัก พ่อแม่ไม่เข้าใจลูกไม่ฟังเหตุผล พ่อแม่ไม่มีเวลาดูลูก ให้เงินลูกมากเกินไป อุปนิสัยของลูกชอบประชด พ่อแม่ตามใจ หรือบีบบังคับมากเกินไปCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23300 รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า [printed text] / วันเพ็ญ ใจปทุม, Author ; สุภาริณีย์ สายแสงทอง, Author ; ศศลักษณ์ กล้าไพรี, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 63 หน้า. : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-028-1 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: การรับรู้.
วัยรุ่นชาย.
การเสพยา.Class number: HV5840 ว715 2544 Abstract: เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือพ่อ แม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า อายุระหว่าง 15-19 ปี ตึกโกเมน โรงพยาบาลธัญญารักษ์ จำนวน 20 คน โดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งโครงสร้าง เป็นรายบุคคลโดยการสัมภาษณ์พร้อมกับทั้งพ่อและแม่ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นจริงและการใช้คำถามเดียวกันทั้งพ่อแม่ที่บ่งบอกถึงการรับรู้ การให้ความหมายเกี่ยวกับยาบ้าและพฤติกรรมการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่แตกต่างกันออกไป ข้อมูลที่ได้จ้ากการสัมภาษณ์นำมาประมวล และวิเคราะห์เพื่อหาคำอธิบายพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
ผลจากการศึกษาพบว่า การรับรู้ของพ่อแม่เกี่ยวกับความหมายของยาบ้า พ่อ แม่ให้ความหมายของยาบ้าในทางที่ไม่ดี คือ ยาบ้าเมื่อเสพเข้าไปแล้วทำให้เกิดผลกระทบทั้งต่อร่างกายและจิตใจ พฤติกรรมทำให้สังคมไม่ยอมนับ ส่วนความหมายของยาบ้าในทางที่ดี คือ ใช้แล้วขยันทำงาน ไม่หลับ ร่างกายกระปรี้ กระเปร่า ซึ่งพ่อบางคนรับรู้โดยประสบการณ์ตรง คือ การทดลองใช้ และมีแม่บางรายไม่สามารถบอกความหมายของยาบ้าได้ เนื่องจากไม่ทราบ หรือรู้จักมาก่อน
การรับรู้ว่าลูกติดยาบ้าของพ่อแม่ รับรู้โดยการสังเกตจาก อาการทางร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรม มีผู้อื่นมาบอก เช่น ครู และเพื่อนบ้าน จึงทราบว่าลูกเสพยาบ้า
ความรู้สึกของพ่อแม่เมื่อรู้ว่าลูกติดยา ความรู้สึกแรกที่พบ คือ รู้สึกเสียใจมาก บางรายโกรธถึงขั้นทุบตีลูก โทษตนเองว่าดูแลลูกไม่ดี น้อยใจที่ลูกไม่เชื่อฟัง รู้สึกท้อแท้กลัวลูกจะรักษาไมาหาย อายกลัวเสียชื่อเสียง
การค้นหาสาเหตุ จากการศึกษาพบว่า สาเหตุที่ทำให้ลูกติดยาคือ การคบเพื่อนที่ติดยาเสพติด และพฤติกรรมเกเร มีสมาชิกในครอบครัวที่ติดยาบ้า จึงมีพฤติกรรมที่เลียนแบบ ติดจาการมีโรคประจำตัว มีปมด้อย เช่น หอบหืด ชัก พ่อแม่ไม่เข้าใจลูกไม่ฟังเหตุผล พ่อแม่ไม่มีเวลาดูลูก ให้เงินลูกมากเกินไป อุปนิสัยของลูกชอบประชด พ่อแม่ตามใจ หรือบีบบังคับมากเกินไปCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23300 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354892 HV5840 ว715 2544 Book Main Library General Shelf Available รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการสนับสนุนของสมาชิกในครอบครัวให้ผู้เสพติดยาบ้า / อุไรวรรณ วงศ์พรประทีป / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการสนับสนุนของสมาชิกในครอบครัวให้ผู้เสพติดยาบ้า : สมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ Material Type: printed text Authors: อุไรวรรณ วงศ์พรประทีป, Author ; อัมพร วิเศษชาติ, Author ; ราตรี หุ่นดี, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 48 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-018-4 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
การเสพยา.
การบำบัด
การรักษา.Class number: WM270 อ949 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฎการณ์วิทยา โดยแบ่งการศึกษาออกเป็นการศึกษาค้นคว้าวิจัยจากเอกสารและงานวิจัย ผู้ศึกษาได้ออกแบบสอบถามให้ครอบคลุมเนื้อหา และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา ตลอดจนได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยการจัดกลุ่ม และอภิปรายผลโดยการให้การพรรณาความประกอบ
ผลการศึกษาพบว่า ผู้เสพยาบ้าส่สนใหญ่ไม่ได้อาศัยอยู่บ้านเดียวกับผู้นำเข้ารัีบการบำบัดรักษา แสดงให้เห็นว่าการรับรู้ของบุคคลในครอบครัวที่มิใช่บิดา มารดา มีการแสดงออกของการรับรู้ การยอมรับในตัวผู้เสพยา และให้ความช่วยเหลือนำผู้เสพติดยาบ้าเข้ารับการบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจดีกว่าบิดา มารดา ในกรณีที่ผู้เสพติดมีปัญหาทางด้านสัมพันธภาพในครอบครัว และการใช้สถานการณ์ที่สำคัญที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เสพเป็นเครื่องมือในการนำไปสู่การตรวจหาสารเสพติดเพื่อยืนยันว่าผู้เสพมีการเสพยาเสพติด ทำให้ผู้เสพยายอมรับว่าเสพยาและสมาชิกในครอบครัวที่การนำผู้เสพยาบ้าสมัครใจเข้ารับการบำบัดส่วนใหญ่เป็นน้า ร้อยละ 50 และเป็นเพศหญิงร้อยละ 70
จากการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึุกษาได้ให้ข้อเสนอแนะว่า ควรมีการนำเอาสมาชิกในครอบครัวมาร่วมกันและเปลี่ยนแนวคิดในการที่จะะนำผู้เสพยาบ้าเข้าบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจและช่วยประชาสัมพันธ์แก่ครอบครัวผู้เสพติดรายอื่นCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23302 รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการสนับสนุนของสมาชิกในครอบครัวให้ผู้เสพติดยาบ้า : สมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ [printed text] / อุไรวรรณ วงศ์พรประทีป, Author ; อัมพร วิเศษชาติ, Author ; ราตรี หุ่นดี, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 48 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-018-4 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
การเสพยา.
การบำบัด
การรักษา.Class number: WM270 อ949 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฎการณ์วิทยา โดยแบ่งการศึกษาออกเป็นการศึกษาค้นคว้าวิจัยจากเอกสารและงานวิจัย ผู้ศึกษาได้ออกแบบสอบถามให้ครอบคลุมเนื้อหา และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา ตลอดจนได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยการจัดกลุ่ม และอภิปรายผลโดยการให้การพรรณาความประกอบ
ผลการศึกษาพบว่า ผู้เสพยาบ้าส่สนใหญ่ไม่ได้อาศัยอยู่บ้านเดียวกับผู้นำเข้ารัีบการบำบัดรักษา แสดงให้เห็นว่าการรับรู้ของบุคคลในครอบครัวที่มิใช่บิดา มารดา มีการแสดงออกของการรับรู้ การยอมรับในตัวผู้เสพยา และให้ความช่วยเหลือนำผู้เสพติดยาบ้าเข้ารับการบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจดีกว่าบิดา มารดา ในกรณีที่ผู้เสพติดมีปัญหาทางด้านสัมพันธภาพในครอบครัว และการใช้สถานการณ์ที่สำคัญที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เสพเป็นเครื่องมือในการนำไปสู่การตรวจหาสารเสพติดเพื่อยืนยันว่าผู้เสพมีการเสพยาเสพติด ทำให้ผู้เสพยายอมรับว่าเสพยาและสมาชิกในครอบครัวที่การนำผู้เสพยาบ้าสมัครใจเข้ารับการบำบัดส่วนใหญ่เป็นน้า ร้อยละ 50 และเป็นเพศหญิงร้อยละ 70
จากการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึุกษาได้ให้ข้อเสนอแนะว่า ควรมีการนำเอาสมาชิกในครอบครัวมาร่วมกันและเปลี่ยนแนวคิดในการที่จะะนำผู้เสพยาบ้าเข้าบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจและช่วยประชาสัมพันธ์แก่ครอบครัวผู้เสพติดรายอื่นCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23302 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355204 THE WM270 อ949 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available เหตุผลของการเปลี่ยนจาการเสพเฮดรอีนเป็นยาบ้าในผู้ป่วยเสพติด / วัชรี มีศิลป์ / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : เหตุผลของการเปลี่ยนจาการเสพเฮดรอีนเป็นยาบ้าในผู้ป่วยเสพติด : รายงานการวิจัย Material Type: printed text Authors: วัชรี มีศิลป์, Author ; ลัดดา ขอบทอง, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: ค, 51 แผ่น Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-773-998-4 Price: บริจาค Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]ยาบ้า
[LCSH]เฮโรอีน
[LCSH]โรงพยาบาลธัญญารักษ์Keywords: เฮโรอีน.
ผู้ป่วย.
ยาบ้า.Class number: WM100 ว712 2544 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาการรับรู้เกี่ยวกับเฮโรอีน ยาบ้า และเหตุผลการเปลี่ยนจากการเสพเฮโรอีนมาเป็นยาบ้า โดยศึกษาในกลุ่มผู้ติดเสพติดที่เข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ด้วยการติดยาบ้า และมีประวัติการเสพติดเฮโรอีนมาก่อนจำนวนทั้งสิ้น 14 คน การเก็บข้อมูลเป็นการเก็บข้อมูลเชิงลึก ตั้งแต่วันที่ 18 เมษายน - 17 พฤษภาคม 2544 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เสพติดรับรู้เกี่ยวกับเฮโรอีนใน 2 ลักษณะคือ รู้ประโยชน์ของเฮโรอีนว่าเป็นสารแห่งความสุข และลดความเจ็บป่วย และรู้เกี่ยวกับโทษของเฮโรอีนว่าทำให้สุขภาพทรุดโทรม มีความทุกข์ทรมานมากเมื่อขาดเฮดรอีน มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในทางลบ ทำลายอนาคต และมีความรู้สึกทางเพศลดลง ส่วนการรับรู้เกี่ยวกับยาบ้ามี 2 ลักษณะ เช่นกันคือ รับรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของยาบ้าว่า เป็นสารกระตุ้นประสาทที่ทำให้ร่างกายกระชุ่มกระชวย กล้าคิดกล้าทำ เป็นยาที่ทดแืทนเฮโรอีน ลดความเจ็บป่วยทางกาย และทำให้มีความต้องการทางเพศมากขึ้น ส่วนโทษของยาบ้า พบว่าทำให้บุคลิกกภาพเปลี่ยนไปในทางลงคือ ก้าวร้าวและหยาบคายมากขึ้น สุขภาพเสื่อมโทรมจากการขาดสารอาหาร หรือรับประทานอาหารไม่เป็นเวลา
ส่วนเหตุผลของการหันมาเสพยาบ้า คือ ในระยะเริ่มต้นเสพเกิดจากคำแนะนำจากกลุ่มเพือ่น และต้องการทดลอง ในระยะต่อมาผู้เสพติดตัดสินใจเสพยาบ้าด้วยเหตุผลที่ว่าเฮโรอีนหายากและแพงกว่ายาบ้า สามารถทดแทนอาการขาดเฮโรอีนได้ มีความพึงพอมจต่อฤทธิ์ของยาบ้า หาซื้อได้ง่าย เลิกเสพง่าย ต้องการการยอมรับจากกลุ่มเพื่อนที่เสพติด จากสมาชิกในครอบครัวว่ายาบ้ามีความรุนแรงน้อยกว่าเฮโรอีน และการได้รับการกระตุ้นจากสื่อโฆษณาต่าง ๆ
ข้อเสนอแนะ ด้านการป้องกัน เนื่องจากยาบ้ามีการวางขายกันมาก แม้ในที่สาธารณะ เช่น ตลาดนัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเข้าไปกวดขันในสถานที่ต่าง ๆ ให้มากขึ้น ให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาบ้าแก่เยาวชน และประชาชนทั่วไป ด้านสื่อ ควรระมัดระวังในการให้ข้อมูลทางสื่อโฆษณาต่าง ๆ ให้มากขึ้นเนื่องจากการเสนอภาพยาบ้า หรือยาสเพติดในการจับกุมเอเยนต์ หรือผู้ขายอย่างชัดเจนเป็นการกระตุ้น หรือยั่วยุให้ผู้เสพติด หรือผู้เคยเสพมีความต้องการในการเสพได้ ในสถานบำบัดรักษายาเสพติดควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เสพติดในทางบวก วิธีการที่ถูกต้องในการสร้างความสุขให้ตนเองและมีระบบการส่งต่อ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้มีการอบรมหลักสูตรทางจิตเวชแก่บุคลากรต่าง ๆ เพิ่มขึ้นCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23264 เหตุผลของการเปลี่ยนจาการเสพเฮดรอีนเป็นยาบ้าในผู้ป่วยเสพติด : รายงานการวิจัย [printed text] / วัชรี มีศิลป์, Author ; ลัดดา ขอบทอง, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - ค, 51 แผ่น ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-773-998-4 : บริจาค
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]ยาบ้า
[LCSH]เฮโรอีน
[LCSH]โรงพยาบาลธัญญารักษ์Keywords: เฮโรอีน.
ผู้ป่วย.
ยาบ้า.Class number: WM100 ว712 2544 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาการรับรู้เกี่ยวกับเฮโรอีน ยาบ้า และเหตุผลการเปลี่ยนจากการเสพเฮโรอีนมาเป็นยาบ้า โดยศึกษาในกลุ่มผู้ติดเสพติดที่เข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ด้วยการติดยาบ้า และมีประวัติการเสพติดเฮโรอีนมาก่อนจำนวนทั้งสิ้น 14 คน การเก็บข้อมูลเป็นการเก็บข้อมูลเชิงลึก ตั้งแต่วันที่ 18 เมษายน - 17 พฤษภาคม 2544 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เสพติดรับรู้เกี่ยวกับเฮโรอีนใน 2 ลักษณะคือ รู้ประโยชน์ของเฮโรอีนว่าเป็นสารแห่งความสุข และลดความเจ็บป่วย และรู้เกี่ยวกับโทษของเฮโรอีนว่าทำให้สุขภาพทรุดโทรม มีความทุกข์ทรมานมากเมื่อขาดเฮดรอีน มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในทางลบ ทำลายอนาคต และมีความรู้สึกทางเพศลดลง ส่วนการรับรู้เกี่ยวกับยาบ้ามี 2 ลักษณะ เช่นกันคือ รับรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของยาบ้าว่า เป็นสารกระตุ้นประสาทที่ทำให้ร่างกายกระชุ่มกระชวย กล้าคิดกล้าทำ เป็นยาที่ทดแืทนเฮโรอีน ลดความเจ็บป่วยทางกาย และทำให้มีความต้องการทางเพศมากขึ้น ส่วนโทษของยาบ้า พบว่าทำให้บุคลิกกภาพเปลี่ยนไปในทางลงคือ ก้าวร้าวและหยาบคายมากขึ้น สุขภาพเสื่อมโทรมจากการขาดสารอาหาร หรือรับประทานอาหารไม่เป็นเวลา
ส่วนเหตุผลของการหันมาเสพยาบ้า คือ ในระยะเริ่มต้นเสพเกิดจากคำแนะนำจากกลุ่มเพือ่น และต้องการทดลอง ในระยะต่อมาผู้เสพติดตัดสินใจเสพยาบ้าด้วยเหตุผลที่ว่าเฮโรอีนหายากและแพงกว่ายาบ้า สามารถทดแทนอาการขาดเฮโรอีนได้ มีความพึงพอมจต่อฤทธิ์ของยาบ้า หาซื้อได้ง่าย เลิกเสพง่าย ต้องการการยอมรับจากกลุ่มเพื่อนที่เสพติด จากสมาชิกในครอบครัวว่ายาบ้ามีความรุนแรงน้อยกว่าเฮโรอีน และการได้รับการกระตุ้นจากสื่อโฆษณาต่าง ๆ
ข้อเสนอแนะ ด้านการป้องกัน เนื่องจากยาบ้ามีการวางขายกันมาก แม้ในที่สาธารณะ เช่น ตลาดนัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเข้าไปกวดขันในสถานที่ต่าง ๆ ให้มากขึ้น ให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาบ้าแก่เยาวชน และประชาชนทั่วไป ด้านสื่อ ควรระมัดระวังในการให้ข้อมูลทางสื่อโฆษณาต่าง ๆ ให้มากขึ้นเนื่องจากการเสนอภาพยาบ้า หรือยาสเพติดในการจับกุมเอเยนต์ หรือผู้ขายอย่างชัดเจนเป็นการกระตุ้น หรือยั่วยุให้ผู้เสพติด หรือผู้เคยเสพมีความต้องการในการเสพได้ ในสถานบำบัดรักษายาเสพติดควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เสพติดในทางบวก วิธีการที่ถูกต้องในการสร้างความสุขให้ตนเองและมีระบบการส่งต่อ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้มีการอบรมหลักสูตรทางจิตเวชแก่บุคลากรต่าง ๆ เพิ่มขึ้นCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23264 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355170 THE WM100 ว712 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available