From this page you can:
Home |
Search results
6 result(s) search for keyword(s) 'การรับรู้เหตุการณ์เครียด.การสนับสนุนทางสังคม.ผลกระทบทางจิตใจ.หญิงที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้เหตุการณ์เครียด การสนับสนุนทางสังคม และผลกระทบทางจิตใจหญิงที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([06/20/2016])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้เหตุการณ์เครียด การสนับสนุนทางสังคม และผลกระทบทางจิตใจหญิงที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ Original title : The correlation between perceived stress events social support and the psychological impact of sexuality assaulted women Material Type: printed text Publication Date: 2016 Article on page: p.73-84 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 [06/20/2016] . - p.73-84Keywords: การรับรู้เหตุการณ์เครียด.การสนับสนุนทางสังคม.ผลกระทบทางจิตใจ.หญิงที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ. Abstract:
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25553 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้เหตุการณ์เครียด การสนับสนุนทางสังคม และผลกระทบทางจิตใจหญิงที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ = The correlation between perceived stress events social support and the psychological impact of sexuality assaulted women [printed text] . - 2016 . - p.73-84.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การศึกษาพฤติกรรมแสวงหาการดูแลสุขภาพ แหล่งสนับสนุนและการสนับสนุนทางสังคม / ภรณี อนุสนธิ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : การศึกษาพฤติกรรมแสวงหาการดูแลสุขภาพ แหล่งสนับสนุนและการสนับสนุนทางสังคม : ของผู้ดูแลที่มีเด็กเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อเฉียบพลันในระบบทางเดินหายใจวัย 1-5 ปี Material Type: printed text Authors: ภรณี อนุสนธิ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.132-140 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.132-140Keywords: พฤติกรรมแสวงหา.การดูแลสุขภาพ.แหล่งสนับสนุน.การสนับสนุนทางสังคม.ผู้ดูแลเด็กเจ็บป่วย.โรคติดเชื้อเฉียบพลัน Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25570 [article] การศึกษาพฤติกรรมแสวงหาการดูแลสุขภาพ แหล่งสนับสนุนและการสนับสนุนทางสังคม : ของผู้ดูแลที่มีเด็กเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อเฉียบพลันในระบบทางเดินหายใจวัย 1-5 ปี [printed text] / ภรณี อนุสนธิ, Author . - 2016 . - p.132-140.
Languages : Thai (tha)ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 / กมลพร สิริคุตจตุพร in วารสารสภาการพยาบาล, Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 Original title : Factors Predicting Self-Management Behaviour of Elderly Type 2 Diabetes Patients Material Type: printed text Authors: กมลพร สิริคุตจตุพร, Author ; วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, Author ; นารีรัตน์ จิตรมนตรี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.84-93 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.84-93Keywords: การรับรู้สมรรถนะแห่งตน. การกำกับตนเอง. การสนับสนุนทางสังคม. พฤติกรรมการจัดการตนเอง. ผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของความรู้เรื่องโรคเบาหวาน
การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การกำกับตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม ต่อพฤติกรรม
การจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยแบบหาอำนาจการทำนาย
วิธีการดำเนินการวิจัย: การวิจัยนี้ใช้กรอบแนวคิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบ
ผสมผสานของ Ryan กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อายุ 60 ปีขึ้นไปคัดเลือกตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 132 คน เก็บรวมรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน และสถิติสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการจัดการตนเองโดยรวมอยู่ในระดับ
ปานกลาง ( = 5.59, SD. = 0.87) ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การกำกับตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเอง
ได้ร้อยละ 81.2 (R2= .812, F = 142.59, p < .01) และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสามารถทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองได้สูงสุด (β = .597, p < .01)
ข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวาน
ชนิดที่ 2 ครอบครัว เพื่อนหรือเพื่อนบ้าน และบุคลากรทางการแพทย์ ควรมีส่วนร่วมในการใช้
หลักอาหารแลกเปลี่ยนและการออกกำลังกาย เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และผลการวิจัยสามารถนำไปพัฒนาโปรแกรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26986 [article] ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 = Factors Predicting Self-Management Behaviour of Elderly Type 2 Diabetes Patients [printed text] / กมลพร สิริคุตจตุพร, Author ; วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, Author ; นารีรัตน์ จิตรมนตรี, Author . - 2017 . - p.84-93.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.84-93Keywords: การรับรู้สมรรถนะแห่งตน. การกำกับตนเอง. การสนับสนุนทางสังคม. พฤติกรรมการจัดการตนเอง. ผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของความรู้เรื่องโรคเบาหวาน
การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การกำกับตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม ต่อพฤติกรรม
การจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยแบบหาอำนาจการทำนาย
วิธีการดำเนินการวิจัย: การวิจัยนี้ใช้กรอบแนวคิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบ
ผสมผสานของ Ryan กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อายุ 60 ปีขึ้นไปคัดเลือกตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 132 คน เก็บรวมรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน และสถิติสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการจัดการตนเองโดยรวมอยู่ในระดับ
ปานกลาง ( = 5.59, SD. = 0.87) ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การกำกับตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเอง
ได้ร้อยละ 81.2 (R2= .812, F = 142.59, p < .01) และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสามารถทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองได้สูงสุด (β = .597, p < .01)
ข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวาน
ชนิดที่ 2 ครอบครัว เพื่อนหรือเพื่อนบ้าน และบุคลากรทางการแพทย์ ควรมีส่วนร่วมในการใช้
หลักอาหารแลกเปลี่ยนและการออกกำลังกาย เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และผลการวิจัยสามารถนำไปพัฒนาโปรแกรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26986 ปัจจัยส่วนบุคคล การสนับสนุนทางสังคม และประสิทธิภาพการดูดนมของทารกก่อนจำหน่าย / อุษา วงศ์พินิจ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : ปัจจัยส่วนบุคคล การสนับสนุนทางสังคม และประสิทธิภาพการดูดนมของทารกก่อนจำหน่าย : ในการทำนายการเลี้่ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 1 เดือน ในมารดาที่มีบุตรคนแรก Original title : Personal factor social support and effective sucking at discharge in prediction exclusive breastfeeding at one month among first-time mother Material Type: printed text Authors: อุษา วงศ์พินิจ, Author ; นิตยา สินสุกใส, Author ; ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.88-95 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.88-95Keywords: ปัจจัยส่วนบุคคล.การสนับสนุนทางสังคม.ประสิทธิภาพการดูดนมทารกการทำนายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25565 [article] ปัจจัยส่วนบุคคล การสนับสนุนทางสังคม และประสิทธิภาพการดูดนมของทารกก่อนจำหน่าย = Personal factor social support and effective sucking at discharge in prediction exclusive breastfeeding at one month among first-time mother : ในการทำนายการเลี้่ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 1 เดือน ในมารดาที่มีบุตรคนแรก [printed text] / อุษา วงศ์พินิจ, Author ; นิตยา สินสุกใส, Author ; ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, Author . - 2016 . - p.88-95.
Languages : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสานต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน / โสภา ตั้งทีฆกูล in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสานต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน Original title : The effect of integrated perceived stressful life event management program on depression of depressive disorder patients in community Material Type: printed text Authors: โสภา ตั้งทีฆกูล, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.133-147 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.133-147Keywords: การรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิต ภาวะซึมเศร้า โรคซึมเศร้า.Perceived stressful life event. Depression. Depressive disorder. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน
วิธีดำเนินการ: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 20-59 ปี ซึ่งเข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกที่คลินิกจิตเวช โรงพยาบาลชุมชน จำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่ให้มีคุณลักษณะที่ใกล้เคียงกันในเรื่อง อายุ เพศ และคะแนนภาวะซึมเศร้า จากนั้นได้รับการสุ่มเข้าเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) โปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน 2) แบบสอบถามเหตุการณ์เครียดในชีวิต และ 3) แบบประเมินภาวะซึมเศร้า ซึ่งโปรแกรมฯ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน เครื่องมือแบบสอบถามเหตุการณ์เครียดในชีวิต และแบบประเมินภาวะซึมเศร้า มีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .91 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติที
ผลการศึกษา: 1) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า หลังได้รับโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน มีระดับภาวะซึมเศร้าต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 29.442, p < .05) 2) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ มีระดับภาวะซึมเศร้าต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 12.668, p <.05).
Objective: The purpose of this quasiexperimental pretest-posttest with control group research design was to determine the effect of the integrated perceived stressful life event management program on depression of depressive disorder patients in the community.
Method: The subjects were 40 patients diagnosed with depressive disorder, aged of 20-59 years, at the psychiatric clinic, out-patient department of a community hospital. They were matched pairs by sex, similar age and depression scores and then randomly assigned into the experimental and control groups, 20 subjects in each group. The experimental group received the integrated perceived stressful life event management program whereas the control group received routine nursing care. Research instruments consisted of the integrated perceived stressful life event management program, life stress event questionnaire and the Thai Hamilton Rating Scale for Depression. The integrated perceived stressful life event management program was validated for content validity by 5 professional experts. Reliability of the life stress event and the Thai Hamilton Rating Scale for Depression were reported by Cronbach,s Alpha coefficient as of .91 and .82, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics, dependent and independent t-tests.
Results:1) The depression of patients with depressive disorder in the community after receiving the integrated perceived stressful life event management program was significantly lower than that before (t = 29.442, p < .05) 2) The depression of depressive disorder patients in the community after received integrated perceived stressful life event management program was significantly lower than that of those who receiving routine nursing care (t = 12.668, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27476 [article] ผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสานต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน = The effect of integrated perceived stressful life event management program on depression of depressive disorder patients in community [printed text] / โสภา ตั้งทีฆกูล, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author . - 2017 . - p.133-147.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.133-147Keywords: การรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิต ภาวะซึมเศร้า โรคซึมเศร้า.Perceived stressful life event. Depression. Depressive disorder. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน
วิธีดำเนินการ: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 20-59 ปี ซึ่งเข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกที่คลินิกจิตเวช โรงพยาบาลชุมชน จำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่ให้มีคุณลักษณะที่ใกล้เคียงกันในเรื่อง อายุ เพศ และคะแนนภาวะซึมเศร้า จากนั้นได้รับการสุ่มเข้าเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) โปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน 2) แบบสอบถามเหตุการณ์เครียดในชีวิต และ 3) แบบประเมินภาวะซึมเศร้า ซึ่งโปรแกรมฯ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน เครื่องมือแบบสอบถามเหตุการณ์เครียดในชีวิต และแบบประเมินภาวะซึมเศร้า มีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .91 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติที
ผลการศึกษา: 1) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า หลังได้รับโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน มีระดับภาวะซึมเศร้าต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 29.442, p < .05) 2) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ มีระดับภาวะซึมเศร้าต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 12.668, p <.05).
Objective: The purpose of this quasiexperimental pretest-posttest with control group research design was to determine the effect of the integrated perceived stressful life event management program on depression of depressive disorder patients in the community.
Method: The subjects were 40 patients diagnosed with depressive disorder, aged of 20-59 years, at the psychiatric clinic, out-patient department of a community hospital. They were matched pairs by sex, similar age and depression scores and then randomly assigned into the experimental and control groups, 20 subjects in each group. The experimental group received the integrated perceived stressful life event management program whereas the control group received routine nursing care. Research instruments consisted of the integrated perceived stressful life event management program, life stress event questionnaire and the Thai Hamilton Rating Scale for Depression. The integrated perceived stressful life event management program was validated for content validity by 5 professional experts. Reliability of the life stress event and the Thai Hamilton Rating Scale for Depression were reported by Cronbach,s Alpha coefficient as of .91 and .82, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics, dependent and independent t-tests.
Results:1) The depression of patients with depressive disorder in the community after receiving the integrated perceived stressful life event management program was significantly lower than that before (t = 29.442, p < .05) 2) The depression of depressive disorder patients in the community after received integrated perceived stressful life event management program was significantly lower than that of those who receiving routine nursing care (t = 12.668, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27476 ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้า / พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้า Original title : The effect of group social support program on medication adherence of elderly patients with major depressive disorder WITH MAJOR DEPRESSIVE DISORDER Material Type: printed text Authors: พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.119-132. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.119-132.Keywords: ผู้ป่วยสูงอายุ. โรคซึมเศร้า. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษา. การสนับสนุนทางสังคม.Elderly patient. Major depressive disorder. Medication adherence. Social support. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้าที่ได้รับการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่ม
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 60 ปีขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอกจำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่แล้วสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คน ผู้วิจัยพัฒนาเนื้อหาการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มจากแนวคิดการสนับสนุนทางสังคมของ House (1981) โดยมีองค์ประกอบ 4 ด้านได้แก่ 1) การสนับสนุนด้านอารมณ์ 2) การสนับสนุนด้านการประเมินค่า 3) การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร และ 4) การสนับสนุนด้านทรัพยากรในการพัฒนาเนื้อหา/สาระของแต่ละกิจกรรมและกระบวนการดำเนินกลุ่มของMarram (1978) เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย 3) แบบประเมินพฤติกรรมการรับประทานยาและ 4) แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคมวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. หลังการทดลองพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27475 [article] ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้า = The effect of group social support program on medication adherence of elderly patients with major depressive disorder WITH MAJOR DEPRESSIVE DISORDER [printed text] / พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author . - 2017 . - p.119-132.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.119-132.Keywords: ผู้ป่วยสูงอายุ. โรคซึมเศร้า. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษา. การสนับสนุนทางสังคม.Elderly patient. Major depressive disorder. Medication adherence. Social support. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้าที่ได้รับการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่ม
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 60 ปีขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอกจำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่แล้วสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คน ผู้วิจัยพัฒนาเนื้อหาการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มจากแนวคิดการสนับสนุนทางสังคมของ House (1981) โดยมีองค์ประกอบ 4 ด้านได้แก่ 1) การสนับสนุนด้านอารมณ์ 2) การสนับสนุนด้านการประเมินค่า 3) การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร และ 4) การสนับสนุนด้านทรัพยากรในการพัฒนาเนื้อหา/สาระของแต่ละกิจกรรมและกระบวนการดำเนินกลุ่มของMarram (1978) เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย 3) แบบประเมินพฤติกรรมการรับประทานยาและ 4) แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคมวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. หลังการทดลองพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27475