From this page you can:
Home |
Search results
7 result(s) search for keyword(s) 'ปัจจัยส่วนบุคคล.การสนับสนุนทางสังคม.ประสิทธิภาพการดูดนมทารกการทำนายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ปัจจัยส่วนบุคคล การสนับสนุนทางสังคม และประสิทธิภาพการดูดนมของทารกก่อนจำหน่าย / อุษา วงศ์พินิจ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : ปัจจัยส่วนบุคคล การสนับสนุนทางสังคม และประสิทธิภาพการดูดนมของทารกก่อนจำหน่าย : ในการทำนายการเลี้่ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 1 เดือน ในมารดาที่มีบุตรคนแรก Original title : Personal factor social support and effective sucking at discharge in prediction exclusive breastfeeding at one month among first-time mother Material Type: printed text Authors: อุษา วงศ์พินิจ, Author ; นิตยา สินสุกใส, Author ; ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.88-95 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.88-95Keywords: ปัจจัยส่วนบุคคล.การสนับสนุนทางสังคม.ประสิทธิภาพการดูดนมทารกการทำนายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25565 [article] ปัจจัยส่วนบุคคล การสนับสนุนทางสังคม และประสิทธิภาพการดูดนมของทารกก่อนจำหน่าย = Personal factor social support and effective sucking at discharge in prediction exclusive breastfeeding at one month among first-time mother : ในการทำนายการเลี้่ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 1 เดือน ในมารดาที่มีบุตรคนแรก [printed text] / อุษา วงศ์พินิจ, Author ; นิตยา สินสุกใส, Author ; ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, Author . - 2016 . - p.88-95.
Languages : Thai (tha)การศึกษาพฤติกรรมแสวงหาการดูแลสุขภาพ แหล่งสนับสนุนและการสนับสนุนทางสังคม / ภรณี อนุสนธิ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : การศึกษาพฤติกรรมแสวงหาการดูแลสุขภาพ แหล่งสนับสนุนและการสนับสนุนทางสังคม : ของผู้ดูแลที่มีเด็กเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อเฉียบพลันในระบบทางเดินหายใจวัย 1-5 ปี Material Type: printed text Authors: ภรณี อนุสนธิ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.132-140 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.132-140Keywords: พฤติกรรมแสวงหา.การดูแลสุขภาพ.แหล่งสนับสนุน.การสนับสนุนทางสังคม.ผู้ดูแลเด็กเจ็บป่วย.โรคติดเชื้อเฉียบพลัน Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25570 [article] การศึกษาพฤติกรรมแสวงหาการดูแลสุขภาพ แหล่งสนับสนุนและการสนับสนุนทางสังคม : ของผู้ดูแลที่มีเด็กเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อเฉียบพลันในระบบทางเดินหายใจวัย 1-5 ปี [printed text] / ภรณี อนุสนธิ, Author . - 2016 . - p.132-140.
Languages : Thai (tha)ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้เหตุการณ์เครียด การสนับสนุนทางสังคม และผลกระทบทางจิตใจหญิงที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([06/20/2016])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้เหตุการณ์เครียด การสนับสนุนทางสังคม และผลกระทบทางจิตใจหญิงที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ Original title : The correlation between perceived stress events social support and the psychological impact of sexuality assaulted women Material Type: printed text Publication Date: 2016 Article on page: p.73-84 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 [06/20/2016] . - p.73-84Keywords: การรับรู้เหตุการณ์เครียด.การสนับสนุนทางสังคม.ผลกระทบทางจิตใจ.หญิงที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ. Abstract:
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25553 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้เหตุการณ์เครียด การสนับสนุนทางสังคม และผลกระทบทางจิตใจหญิงที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ = The correlation between perceived stress events social support and the psychological impact of sexuality assaulted women [printed text] . - 2016 . - p.73-84.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ / กมลรัตน์ ทองสว่าง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ : กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ Original title : The relationships between the personal factors stress emotional intelligence and academic achievement of the students at faculty of nursing Chiyaphum Rajabhat University Material Type: printed text Authors: กมลรัตน์ ทองสว่าง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.91-110 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.91-110Keywords: ความเครียด.ความฉลาดทางอารมณ์.ปัจจัยส่วนบุคคล.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา.นักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ 1 ศึกษาระดับความเครัยดและความฉลาดทางอารมณ์ 2ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ระดับความเครียด ความฉลาดทางอารมร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3 สร้างสมการในการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
กลุ่มตัวอย่าง คือ น.ศ.ชั้นปีที่ 1 และ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปี 2556 จำนวน 159 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ และแบบวัดความเครียด สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติพื้นฐาน สัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ และคัดเลือกตัวแปรเข้าสมการแบบหลายขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษามีคะแนนระดับความเครียดอยู่ในระดับสูง มีคะแนนความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ปกติชั้นปีที่ศึกษา จำนวนพี่น้อง ความเห็นใจผู้อื่น การรับผิดชอบ และความฉลาดทางอารมณ์มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความฉลาดทางอารมณ์ส่วนองค์ประกอบด้านดีในด้านการรู้จักเห็นใจผู้อื่น (X1)ชั้นปีที่ศึกษา (X2) และจำนวนพี่น้อง (X3) สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ และได้สมการคือ Y=0.97+0.06X1-0.217X2+0.132X
ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการให้คำปรึกษาสำหรับนักศึกษาที่มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพจิตของคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อส่งผลต่อสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของนักศึกษาLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27217 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ = The relationships between the personal factors stress emotional intelligence and academic achievement of the students at faculty of nursing Chiyaphum Rajabhat University : กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ [printed text] / กมลรัตน์ ทองสว่าง, Author . - 2017 . - p.91-110.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.91-110Keywords: ความเครียด.ความฉลาดทางอารมณ์.ปัจจัยส่วนบุคคล.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา.นักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ 1 ศึกษาระดับความเครัยดและความฉลาดทางอารมณ์ 2ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ระดับความเครียด ความฉลาดทางอารมร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3 สร้างสมการในการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
กลุ่มตัวอย่าง คือ น.ศ.ชั้นปีที่ 1 และ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปี 2556 จำนวน 159 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ และแบบวัดความเครียด สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติพื้นฐาน สัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ และคัดเลือกตัวแปรเข้าสมการแบบหลายขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษามีคะแนนระดับความเครียดอยู่ในระดับสูง มีคะแนนความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ปกติชั้นปีที่ศึกษา จำนวนพี่น้อง ความเห็นใจผู้อื่น การรับผิดชอบ และความฉลาดทางอารมณ์มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความฉลาดทางอารมณ์ส่วนองค์ประกอบด้านดีในด้านการรู้จักเห็นใจผู้อื่น (X1)ชั้นปีที่ศึกษา (X2) และจำนวนพี่น้อง (X3) สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ และได้สมการคือ Y=0.97+0.06X1-0.217X2+0.132X
ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการให้คำปรึกษาสำหรับนักศึกษาที่มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพจิตของคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อส่งผลต่อสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของนักศึกษาLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27217 ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 / กมลพร สิริคุตจตุพร in วารสารสภาการพยาบาล, Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 Original title : Factors Predicting Self-Management Behaviour of Elderly Type 2 Diabetes Patients Material Type: printed text Authors: กมลพร สิริคุตจตุพร, Author ; วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, Author ; นารีรัตน์ จิตรมนตรี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.84-93 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.84-93Keywords: การรับรู้สมรรถนะแห่งตน. การกำกับตนเอง. การสนับสนุนทางสังคม. พฤติกรรมการจัดการตนเอง. ผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของความรู้เรื่องโรคเบาหวาน
การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การกำกับตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม ต่อพฤติกรรม
การจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยแบบหาอำนาจการทำนาย
วิธีการดำเนินการวิจัย: การวิจัยนี้ใช้กรอบแนวคิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบ
ผสมผสานของ Ryan กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อายุ 60 ปีขึ้นไปคัดเลือกตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 132 คน เก็บรวมรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน และสถิติสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการจัดการตนเองโดยรวมอยู่ในระดับ
ปานกลาง ( = 5.59, SD. = 0.87) ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การกำกับตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเอง
ได้ร้อยละ 81.2 (R2= .812, F = 142.59, p < .01) และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสามารถทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองได้สูงสุด (β = .597, p < .01)
ข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวาน
ชนิดที่ 2 ครอบครัว เพื่อนหรือเพื่อนบ้าน และบุคลากรทางการแพทย์ ควรมีส่วนร่วมในการใช้
หลักอาหารแลกเปลี่ยนและการออกกำลังกาย เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และผลการวิจัยสามารถนำไปพัฒนาโปรแกรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26986 [article] ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 = Factors Predicting Self-Management Behaviour of Elderly Type 2 Diabetes Patients [printed text] / กมลพร สิริคุตจตุพร, Author ; วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, Author ; นารีรัตน์ จิตรมนตรี, Author . - 2017 . - p.84-93.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.84-93Keywords: การรับรู้สมรรถนะแห่งตน. การกำกับตนเอง. การสนับสนุนทางสังคม. พฤติกรรมการจัดการตนเอง. ผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของความรู้เรื่องโรคเบาหวาน
การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การกำกับตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม ต่อพฤติกรรม
การจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยแบบหาอำนาจการทำนาย
วิธีการดำเนินการวิจัย: การวิจัยนี้ใช้กรอบแนวคิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบ
ผสมผสานของ Ryan กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อายุ 60 ปีขึ้นไปคัดเลือกตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 132 คน เก็บรวมรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน และสถิติสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการจัดการตนเองโดยรวมอยู่ในระดับ
ปานกลาง ( = 5.59, SD. = 0.87) ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การกำกับตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเอง
ได้ร้อยละ 81.2 (R2= .812, F = 142.59, p < .01) และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสามารถทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองได้สูงสุด (β = .597, p < .01)
ข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวาน
ชนิดที่ 2 ครอบครัว เพื่อนหรือเพื่อนบ้าน และบุคลากรทางการแพทย์ ควรมีส่วนร่วมในการใช้
หลักอาหารแลกเปลี่ยนและการออกกำลังกาย เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และผลการวิจัยสามารถนำไปพัฒนาโปรแกรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26986 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงราย / ปิยะภร ไพรสนธิ์ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงราย Original title : Factors Related to Mild Cognitive Impairments in Elderly People in Chiang Rai Province Material Type: printed text Authors: ปิยะภร ไพรสนธิ์, Author ; พรสวรรค์ เชื้อเจ็ดตน, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.64-80 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.64-80Keywords: ภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย. ปัจจัยส่วนบุคคล. การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน. การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นซับซ้อน.ผู้สูงอายุ. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: ศึกษาภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในผู้สูงอายุจังหวัดเชียงราย การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ โรคเรื้อรังจำนวนยาที่รับประทาน และการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันกับภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในผู้สูงอายุจังหวัดเชียงราย
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยแบบพรรณนา
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุในจังหวัดเชียงราย จำนวน 1,375 คน
เลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์คัดเข้าที่กำหนดไว้ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูล
ส่วนบุคคล แบบประเมินการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และแบบประเมินภาวะการรู้คิดบกพร่อง
เล็กน้อย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และพอยท์ไบซีเรียล
ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย (MoCA < 25) จำนวน 1,108 คน (ร้อยละ 80.60) ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (BADL) ได้ด้วยตนเอง (ร้อยละ 98.30) ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นซับซ้อนโดยมีอุปกรณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง (IADL) ได้ด้วยตนเอง(มากกว่าร้อยละ 82) ปัจจัยด้านเพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา รายได้ การดื่มแอลกอฮอล์ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (BADL) และการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นซับซ้อนโดยมีอุปกรณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง (IADL) มีความสัมพันธ์กับการเกิด
ภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 แต่ปัจจัยด้านการสูบบุหรี่ การเป็นโรคเรื้อรัง และจำนวนยาที่รับประทานเป็นประจำไม่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย
ข้อเสนอแนะ: ตรวจคัดกรองภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในกลุ่มผู้สูงอายุ ศึกษาติดตามระยะยาว และหาวิธีการป้องกันหรือชะลอความเสื่อมของสภาพสมองLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26984 [article] ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงราย = Factors Related to Mild Cognitive Impairments in Elderly People in Chiang Rai Province [printed text] / ปิยะภร ไพรสนธิ์, Author ; พรสวรรค์ เชื้อเจ็ดตน, Author . - 2017 . - p.64-80.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.64-80Keywords: ภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย. ปัจจัยส่วนบุคคล. การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน. การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นซับซ้อน.ผู้สูงอายุ. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: ศึกษาภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในผู้สูงอายุจังหวัดเชียงราย การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ โรคเรื้อรังจำนวนยาที่รับประทาน และการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันกับภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในผู้สูงอายุจังหวัดเชียงราย
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยแบบพรรณนา
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุในจังหวัดเชียงราย จำนวน 1,375 คน
เลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์คัดเข้าที่กำหนดไว้ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูล
ส่วนบุคคล แบบประเมินการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และแบบประเมินภาวะการรู้คิดบกพร่อง
เล็กน้อย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และพอยท์ไบซีเรียล
ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย (MoCA < 25) จำนวน 1,108 คน (ร้อยละ 80.60) ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (BADL) ได้ด้วยตนเอง (ร้อยละ 98.30) ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นซับซ้อนโดยมีอุปกรณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง (IADL) ได้ด้วยตนเอง(มากกว่าร้อยละ 82) ปัจจัยด้านเพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา รายได้ การดื่มแอลกอฮอล์ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (BADL) และการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นซับซ้อนโดยมีอุปกรณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง (IADL) มีความสัมพันธ์กับการเกิด
ภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 แต่ปัจจัยด้านการสูบบุหรี่ การเป็นโรคเรื้อรัง และจำนวนยาที่รับประทานเป็นประจำไม่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย
ข้อเสนอแนะ: ตรวจคัดกรองภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในกลุ่มผู้สูงอายุ ศึกษาติดตามระยะยาว และหาวิธีการป้องกันหรือชะลอความเสื่อมของสภาพสมองLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26984 ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้า / พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้า Original title : The effect of group social support program on medication adherence of elderly patients with major depressive disorder WITH MAJOR DEPRESSIVE DISORDER Material Type: printed text Authors: พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.119-132. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.119-132.Keywords: ผู้ป่วยสูงอายุ. โรคซึมเศร้า. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษา. การสนับสนุนทางสังคม.Elderly patient. Major depressive disorder. Medication adherence. Social support. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้าที่ได้รับการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่ม
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 60 ปีขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอกจำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่แล้วสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คน ผู้วิจัยพัฒนาเนื้อหาการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มจากแนวคิดการสนับสนุนทางสังคมของ House (1981) โดยมีองค์ประกอบ 4 ด้านได้แก่ 1) การสนับสนุนด้านอารมณ์ 2) การสนับสนุนด้านการประเมินค่า 3) การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร และ 4) การสนับสนุนด้านทรัพยากรในการพัฒนาเนื้อหา/สาระของแต่ละกิจกรรมและกระบวนการดำเนินกลุ่มของMarram (1978) เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย 3) แบบประเมินพฤติกรรมการรับประทานยาและ 4) แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคมวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. หลังการทดลองพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27475 [article] ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้า = The effect of group social support program on medication adherence of elderly patients with major depressive disorder WITH MAJOR DEPRESSIVE DISORDER [printed text] / พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author . - 2017 . - p.119-132.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.119-132.Keywords: ผู้ป่วยสูงอายุ. โรคซึมเศร้า. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษา. การสนับสนุนทางสังคม.Elderly patient. Major depressive disorder. Medication adherence. Social support. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้าที่ได้รับการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่ม
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 60 ปีขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอกจำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่แล้วสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คน ผู้วิจัยพัฒนาเนื้อหาการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มจากแนวคิดการสนับสนุนทางสังคมของ House (1981) โดยมีองค์ประกอบ 4 ด้านได้แก่ 1) การสนับสนุนด้านอารมณ์ 2) การสนับสนุนด้านการประเมินค่า 3) การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร และ 4) การสนับสนุนด้านทรัพยากรในการพัฒนาเนื้อหา/สาระของแต่ละกิจกรรมและกระบวนการดำเนินกลุ่มของMarram (1978) เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย 3) แบบประเมินพฤติกรรมการรับประทานยาและ 4) แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคมวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. หลังการทดลองพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27475