From this page you can:
Home |
Search results
11 result(s) search for keyword(s) 'ปราบปรามอาชญากรรม, ปัญหา'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU IS-T. ปัญหาการปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจภูธรบ่อผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี / ศักดิ์ชาย เจริญขุน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัญหาการปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจภูธรบ่อผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Problems in Crime Suppression of Boh Phud Police Station, Samui Island, Suratthani Province Material Type: printed text Authors: ศักดิ์ชาย เจริญขุน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 80 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-37
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกันและควบคุม
[LCSH]อาชญากรรม -- สุราษฎร์ธานีKeywords: ปราบปรามอาชญากรรม,
ปัญหาAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับปัญหาที่เกิดจากการปราบปรามอาชญากรรม และศึกษาแนวทางในการแก้ไขปัญหาการปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจภูธรบ่อผุด กลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการตำรวจ สถานีตำรวจภูธรบ่อผุด จำนวน 135 นาย ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณาและสถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์ข้อมูลและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาการปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจภูธรบ่อผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการจัดการ ด้านงบประมาณ ด้านวัสดุอุปกรณ์ และ ด้านบุคลากรเมื่อพิจารณาด้านบุคลากร เป็นรายข้อ พบว่า การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าหรือสถานการณ์วิกฤตอยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ กำลังคนที่ได้รับการพัฒนา เมื่อพิจารณาด้านงบประมาณเป็นรายข้อ พบว่า การจัดตั้งงบประมาณ อยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การรายงานการเงิน สำหรับด้านวัสดุอุปกรณ์ เมื่อพิจารณาในเป็นรายข้อ พบว่า ความรวดเร็วคล่องตัวในการเบิกรับนำไปใช้อยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ เครื่องมือสื่อสารทันสมัย สะดวกในการใช้ สุดท้ายคือด้านการจัดการ เมื่อพิจารณาในเป็นรายข้อ พบว่า การมอบหมายงานแก่ผู้ปฏิบัติมีความเหมาะสม อยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การส่งเสริมความก้าวหน้าในตำแหน่งของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27023 SIU IS-T. ปัญหาการปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจภูธรบ่อผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี = Problems in Crime Suppression of Boh Phud Police Station, Samui Island, Suratthani Province [printed text] / ศักดิ์ชาย เจริญขุน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 80 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-37
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกันและควบคุม
[LCSH]อาชญากรรม -- สุราษฎร์ธานีKeywords: ปราบปรามอาชญากรรม,
ปัญหาAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับปัญหาที่เกิดจากการปราบปรามอาชญากรรม และศึกษาแนวทางในการแก้ไขปัญหาการปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจภูธรบ่อผุด กลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการตำรวจ สถานีตำรวจภูธรบ่อผุด จำนวน 135 นาย ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณาและสถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์ข้อมูลและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาการปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจภูธรบ่อผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการจัดการ ด้านงบประมาณ ด้านวัสดุอุปกรณ์ และ ด้านบุคลากรเมื่อพิจารณาด้านบุคลากร เป็นรายข้อ พบว่า การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าหรือสถานการณ์วิกฤตอยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ กำลังคนที่ได้รับการพัฒนา เมื่อพิจารณาด้านงบประมาณเป็นรายข้อ พบว่า การจัดตั้งงบประมาณ อยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การรายงานการเงิน สำหรับด้านวัสดุอุปกรณ์ เมื่อพิจารณาในเป็นรายข้อ พบว่า ความรวดเร็วคล่องตัวในการเบิกรับนำไปใช้อยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ เครื่องมือสื่อสารทันสมัย สะดวกในการใช้ สุดท้ายคือด้านการจัดการ เมื่อพิจารณาในเป็นรายข้อ พบว่า การมอบหมายงานแก่ผู้ปฏิบัติมีความเหมาะสม อยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การส่งเสริมความก้าวหน้าในตำแหน่งของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27023 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594216 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-37 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594257 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-37 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. PhD-MIC. การขนส่งอัจฉริยะสำหรับพนักงานอัจฉริยะ (กรณีปัญหาในการรับพนักงาน) / ภราดร คงมณี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : PhD-MIC. การขนส่งอัจฉริยะสำหรับพนักงานอัจฉริยะ (กรณีปัญหาในการรับพนักงาน) Original title : The Smart Transportation for Smart Labor: The Worker Pickup Problems Material Type: printed text Authors: ภราดร คงมณี, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; สุชาย ธนวเสถียร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: x, 99 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-01
Thesis. [PhD-MIC [ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสื่อ สารสนเทศและการสื่อสาร]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การขนส่ง
[LCSH]รถยนต์ -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยี
[LCSH]ระบบขนส่งอัจฉริยะKeywords: พนักงานอัจฉริยะ,
การขนส่งอัจฉริยะ,
ปัญหาในการรับพนักงาน,
รถบัสอัจฉริยะAbstract: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและหารูปแบบการสื่อสารผ่านเทคโนโลยีสื่อสังคม หรือ Social Media บนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนโดยการใช้โปรแกรมทดลอง “Where ever” เป็นเครื่องมือในการหาความสัมพันธ์ระหว่างการเดินทางของพนักงานที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมและการรับรู้ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อสังคม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้บริการรถรับส่งพนักงานที่โรงงานเป็นผู้จัด ซึ่งจะทำให้พนักงานสามารถติดตามการเดินทางของรถรับส่งและคาดการณ์เวลาที่รถจะมารับยังจุดนัดหมาย ทำให้พนักงานขึ้นรถได้ตามเวลาที่กำหนดโดยใช้เวลาในการรอรถน้อยที่สุด
ผลจากการทดลองโดยใช้กลุ่มตัวอย่างของพนักงานที่ใช้บริการรถรับส่งเป็นประจำจำนวน 360 คน ตามทฤษฎีของ Taro Yamane พบว่าผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานที่ได้ตั้งไว้ว่าพนักงานสามารถใช้และเข้าถึงสื่อสังคมผ่านโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน มีความต้องการความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกด้านการให้บริการรถรับส่งที่ทันสมัย สามารถใช้การพัฒนารูปแบบการสื่อสารบนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน ให้เกิดความสะดวกและปลอดภัยในการใช้บริการรถรับส่ง เพื่อการเดินทางมาทำงาน
สิ่งที่ได้จากการวิจัยสามารถนำเสนอรูปแบบจำลอง หรือ Model “We Wer” สำหรับพนักงานอัจฉริยะในการเพิ่มประสิทธิภาพและการแก้ปัญหาการให้บริการรถรับส่งโดยมีพนักงานผู้ใช้งานสื่อสังคมที่สามารถใช้เทคโนโลยีการสื่อสารผ่านอุปกรณ์สมัยใหม่ อาทิ สมาร์โฟน แท็บเล็ต เพื่อเข้าถึงการให้บริการรถได้อย่างสะดวกและรวดเร็วCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27963 SIU THE-T. PhD-MIC. การขนส่งอัจฉริยะสำหรับพนักงานอัจฉริยะ (กรณีปัญหาในการรับพนักงาน) = The Smart Transportation for Smart Labor: The Worker Pickup Problems [printed text] / ภราดร คงมณี, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; สุชาย ธนวเสถียร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - x, 99 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-01
Thesis. [PhD-MIC [ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสื่อ สารสนเทศและการสื่อสาร]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การขนส่ง
[LCSH]รถยนต์ -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยี
[LCSH]ระบบขนส่งอัจฉริยะKeywords: พนักงานอัจฉริยะ,
การขนส่งอัจฉริยะ,
ปัญหาในการรับพนักงาน,
รถบัสอัจฉริยะAbstract: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและหารูปแบบการสื่อสารผ่านเทคโนโลยีสื่อสังคม หรือ Social Media บนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนโดยการใช้โปรแกรมทดลอง “Where ever” เป็นเครื่องมือในการหาความสัมพันธ์ระหว่างการเดินทางของพนักงานที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมและการรับรู้ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อสังคม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้บริการรถรับส่งพนักงานที่โรงงานเป็นผู้จัด ซึ่งจะทำให้พนักงานสามารถติดตามการเดินทางของรถรับส่งและคาดการณ์เวลาที่รถจะมารับยังจุดนัดหมาย ทำให้พนักงานขึ้นรถได้ตามเวลาที่กำหนดโดยใช้เวลาในการรอรถน้อยที่สุด
ผลจากการทดลองโดยใช้กลุ่มตัวอย่างของพนักงานที่ใช้บริการรถรับส่งเป็นประจำจำนวน 360 คน ตามทฤษฎีของ Taro Yamane พบว่าผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานที่ได้ตั้งไว้ว่าพนักงานสามารถใช้และเข้าถึงสื่อสังคมผ่านโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน มีความต้องการความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกด้านการให้บริการรถรับส่งที่ทันสมัย สามารถใช้การพัฒนารูปแบบการสื่อสารบนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน ให้เกิดความสะดวกและปลอดภัยในการใช้บริการรถรับส่ง เพื่อการเดินทางมาทำงาน
สิ่งที่ได้จากการวิจัยสามารถนำเสนอรูปแบบจำลอง หรือ Model “We Wer” สำหรับพนักงานอัจฉริยะในการเพิ่มประสิทธิภาพและการแก้ปัญหาการให้บริการรถรับส่งโดยมีพนักงานผู้ใช้งานสื่อสังคมที่สามารถใช้เทคโนโลยีการสื่อสารผ่านอุปกรณ์สมัยใหม่ อาทิ สมาร์โฟน แท็บเล็ต เพื่อเข้าถึงการให้บริการรถได้อย่างสะดวกและรวดเร็วCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27963 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607478 SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607477 SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา / ปทิตตา โทสวนจิต / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา Original title : Participation of Public in Solving Drug Problems in Community Banmai Sub-District Maharaja District, Ayutthaya Province Material Type: printed text Authors: ปทิตตา โทสวนจิต, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: x, 84 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-25
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วม
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกันและการแก้ปัญหา
[LCSH]ยาเสพติด -- พระนครราชศรีอยุธยา -- บ้านใหม่Keywords: การมีส่วนร่วม,
ปัญหายาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) เรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชนตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยแวดล้อม และ 3) เพื่อทราบปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (questionnaire) ประชากร ได้แก่ ผู้ที่เป็นหัวหน้าครอบครัวหรือผู้แทนที่อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านใหม่จำนวน 546 คน เป็นตารางสำเร็จรูปของเครซี่และมอร์แกน (krejcie and morgan) โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 217 ตัวอย่าง และมีการเก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) ได้แก่ ผู้บริหารชุมชนนักพัฒนาชุมชนและผู้นำกลุ่มในชุมชน การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามนำมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์สถิติทางสังคมศาสตร์ เพื่อหาค่าสถิติต่าง ๆ ในส่วนข้อมูลจากแบบสอบถามปลายปิดและข้อมูลที่ได้จากข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ (data grouping) จากนั้นจึงนำมาวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาประกอบบริบท (content analysis technique) Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26613 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา = Participation of Public in Solving Drug Problems in Community Banmai Sub-District Maharaja District, Ayutthaya Province [printed text] / ปทิตตา โทสวนจิต, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - x, 84 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-25
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วม
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกันและการแก้ปัญหา
[LCSH]ยาเสพติด -- พระนครราชศรีอยุธยา -- บ้านใหม่Keywords: การมีส่วนร่วม,
ปัญหายาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) เรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชนตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยแวดล้อม และ 3) เพื่อทราบปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (questionnaire) ประชากร ได้แก่ ผู้ที่เป็นหัวหน้าครอบครัวหรือผู้แทนที่อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านใหม่จำนวน 546 คน เป็นตารางสำเร็จรูปของเครซี่และมอร์แกน (krejcie and morgan) โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 217 ตัวอย่าง และมีการเก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) ได้แก่ ผู้บริหารชุมชนนักพัฒนาชุมชนและผู้นำกลุ่มในชุมชน การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามนำมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์สถิติทางสังคมศาสตร์ เพื่อหาค่าสถิติต่าง ๆ ในส่วนข้อมูลจากแบบสอบถามปลายปิดและข้อมูลที่ได้จากข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ (data grouping) จากนั้นจึงนำมาวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาประกอบบริบท (content analysis technique) Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26613 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592640 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-25 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592616 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-25 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Due for return by 06/22/2024 SIU IS-T. การศึกษาสภาพปัญหาหนี้สินของเกษตรกรในเขตตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง / ศิริพงษ์ ธนกรชัยมงคล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาสภาพปัญหาหนี้สินของเกษตรกรในเขตตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง Original title : A Study of the Problem of Farmers in Nong Rai Puakdaeng District Rayong Material Type: printed text Authors: ศิริพงษ์ ธนกรชัยมงคล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 39 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-32
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]หนี้สิน
[LCSH]เกษตรกรKeywords: ปัญหาหนี้สินเกษตรกร Abstract: การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาหนี้สินของเกษตรกร ในเขตตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระระยอง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ เกษตรกรในตำบลหนองไร่ จำนวน 106 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามแบบพรรณนาและแบบมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า
1) สภาพโดยทั่วไปของปัญหาหนี้สินของเกษตรกร ในเขตตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง โดยรวม มีปัญหาอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่าเฉลี่ยดังนี้ ด้านการมีค่าใช้จ่ายด้านอุปโภคบริโภคสูงสุด รองลงมาคือ ค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา การมีสมาชิกในครัวเรือนอยู่ในวัยพึ่งพิงมาก ค่าอำนวยความสะดวกและมีค่าใช้จ่ายสูงกว่ารายได้ ตามลำดับ
2) ปัญหาหนี้สินของเกษตรกร ในเขตตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง โดยรวม พบว่า เกิดจากด้านรายได้มีความสำคัญมากที่สุดโดยเฉพาะเรื่องรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย ปัญหาที่เห็นว่าสำคัญรองลงมา คือ ด้านบริการ และสิ่งที่สำคัญที่สุดในด้านนี้คือ ระยะเวลาในการผ่อนชำระหนี้ เพราะต้องตระหนักถึงความสามารถในการจ่ายคืนและรองลงมาปัญหาด้านค่าใช้จ่าย โดยเห็นว่าการมีค่าใช้จ่ายในด้านการอุปโภคบริโภคสูงมีความสำคัญมากต่อการก่อหนี้สิน เพราะว่าปัจจุบันเงินถือว่าเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ และสุดท้ายปัญหาด้านความช่วยเหลือมีความสำคัญระดับปานกลาง เพราะเกษตรกรได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่าง ๆ น้อยCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27272 SIU IS-T. การศึกษาสภาพปัญหาหนี้สินของเกษตรกรในเขตตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง = A Study of the Problem of Farmers in Nong Rai Puakdaeng District Rayong [printed text] / ศิริพงษ์ ธนกรชัยมงคล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 39 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-32
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]หนี้สิน
[LCSH]เกษตรกรKeywords: ปัญหาหนี้สินเกษตรกร Abstract: การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาหนี้สินของเกษตรกร ในเขตตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระระยอง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ เกษตรกรในตำบลหนองไร่ จำนวน 106 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามแบบพรรณนาและแบบมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า
1) สภาพโดยทั่วไปของปัญหาหนี้สินของเกษตรกร ในเขตตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง โดยรวม มีปัญหาอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่าเฉลี่ยดังนี้ ด้านการมีค่าใช้จ่ายด้านอุปโภคบริโภคสูงสุด รองลงมาคือ ค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา การมีสมาชิกในครัวเรือนอยู่ในวัยพึ่งพิงมาก ค่าอำนวยความสะดวกและมีค่าใช้จ่ายสูงกว่ารายได้ ตามลำดับ
2) ปัญหาหนี้สินของเกษตรกร ในเขตตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง โดยรวม พบว่า เกิดจากด้านรายได้มีความสำคัญมากที่สุดโดยเฉพาะเรื่องรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย ปัญหาที่เห็นว่าสำคัญรองลงมา คือ ด้านบริการ และสิ่งที่สำคัญที่สุดในด้านนี้คือ ระยะเวลาในการผ่อนชำระหนี้ เพราะต้องตระหนักถึงความสามารถในการจ่ายคืนและรองลงมาปัญหาด้านค่าใช้จ่าย โดยเห็นว่าการมีค่าใช้จ่ายในด้านการอุปโภคบริโภคสูงมีความสำคัญมากต่อการก่อหนี้สิน เพราะว่าปัจจุบันเงินถือว่าเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ และสุดท้ายปัญหาด้านความช่วยเหลือมีความสำคัญระดับปานกลาง เพราะเกษตรกรได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่าง ๆ น้อยCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27272 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594976 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-32 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594984 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-32 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยของอาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิกุศลศรัทธาเกาะเต่า / พงศกร ลวนานนท์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยของอาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิกุศลศรัทธาเกาะเต่า Original title : Problem and Obstacle in Sufferers Rescue Operation of Khuson Shatta Foundation’s Volunteers, Koh Tao, Suratthani Province Material Type: printed text Authors: พงศกร ลวนานนท์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 85 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-36
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การทำงาน
[LCSH]อาสาสมัครKeywords: การกู้ภัย,
การปฏิบัติงาน,
เกาะเต่า,
ปัญหาและอุปสรรค,
อาสาสมัครAbstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้คือเพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการ ปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยของอาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิกุศลศรัทธาเกาะเต่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากอาสาสมัครมูลนิธิจำนวน 87 คน ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลประชากรศาสตร์และพฤติกรรมและใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยของอาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิกุศลศรัทธาเกาะเต่าทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการจัดองค์การ รองลงมาได้แก่ ด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ ด้านการสนับสนุนช่วยเหลือ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือด้านบุคลากร เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน การจัดการองค์การ อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายสถาณการณ์ พบว่า การมอบอำนาจการตัดสินใจแก่ผู้ปฏิบัติเป็นอุปสรรคระดับสูงสุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การแจ้งและรายงานผลการปฏิบัติงาน นอกจากนี้พบว่า การรับสมัคร และการคัดเลือกคนเข้ามาเป็นอาสาสมัคร มีอุปสรรคอยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การสร้างระบบการทำงานเป็นทีม ด้านการสนับสนุนช่วยเหลืออยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การดำเนินการกู้ภัยระหว่างอาสาสมัครมูลนิธิอื่นอยู่ในระดับสูงสุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การส่งต่อผู้ประสบเหตุไปยังหน่วยงานอื่น ด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์อยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดหาอุปกรณ์กู้ภัยและการปฐมพยาบาลอยู่ในระดับสูงสุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การบำรุงรักษาซ่อมแซมอุปกรณ์กู้ภัยและการปฐมพยาบาล ท้ายสุดผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยของอาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิกุศลศรัทธา เกาะเต่า พบว่าอาสาสมัครที่มีประชากรศาสตร์แตกต่างกัน มีปัญหาและอุปสรรคในการทำงานไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27029 SIU IS-T. ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยของอาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิกุศลศรัทธาเกาะเต่า = Problem and Obstacle in Sufferers Rescue Operation of Khuson Shatta Foundation’s Volunteers, Koh Tao, Suratthani Province [printed text] / พงศกร ลวนานนท์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 85 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-36
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การทำงาน
[LCSH]อาสาสมัครKeywords: การกู้ภัย,
การปฏิบัติงาน,
เกาะเต่า,
ปัญหาและอุปสรรค,
อาสาสมัครAbstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้คือเพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการ ปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยของอาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิกุศลศรัทธาเกาะเต่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากอาสาสมัครมูลนิธิจำนวน 87 คน ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลประชากรศาสตร์และพฤติกรรมและใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยของอาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิกุศลศรัทธาเกาะเต่าทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการจัดองค์การ รองลงมาได้แก่ ด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ ด้านการสนับสนุนช่วยเหลือ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือด้านบุคลากร เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน การจัดการองค์การ อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายสถาณการณ์ พบว่า การมอบอำนาจการตัดสินใจแก่ผู้ปฏิบัติเป็นอุปสรรคระดับสูงสุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การแจ้งและรายงานผลการปฏิบัติงาน นอกจากนี้พบว่า การรับสมัคร และการคัดเลือกคนเข้ามาเป็นอาสาสมัคร มีอุปสรรคอยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การสร้างระบบการทำงานเป็นทีม ด้านการสนับสนุนช่วยเหลืออยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การดำเนินการกู้ภัยระหว่างอาสาสมัครมูลนิธิอื่นอยู่ในระดับสูงสุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การส่งต่อผู้ประสบเหตุไปยังหน่วยงานอื่น ด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์อยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดหาอุปกรณ์กู้ภัยและการปฐมพยาบาลอยู่ในระดับสูงสุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การบำรุงรักษาซ่อมแซมอุปกรณ์กู้ภัยและการปฐมพยาบาล ท้ายสุดผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยของอาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิกุศลศรัทธา เกาะเต่า พบว่าอาสาสมัครที่มีประชากรศาสตร์แตกต่างกัน มีปัญหาและอุปสรรคในการทำงานไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27029 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594331 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-36 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594323 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-36 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ ในกองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 / โกสินทร์ ชื่นชม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ ในกองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 Original title : Challenges Faced by Police Officers in Performing Duties in Provincial Investigation Division 8 Material Type: printed text Authors: โกสินทร์ ชื่นชม, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 81 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การทำงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ปัญหาที่ในการปฏิบัติหน้าที่ ข้าราชการตำรวจในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธร Abstract: การศึกษาเรื่อง “ปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ ในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธร ภาค 8” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 และเพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่สงผลต่อระดับปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26114 SIU IS-T. ปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ ในกองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 = Challenges Faced by Police Officers in Performing Duties in Provincial Investigation Division 8 [printed text] / โกสินทร์ ชื่นชม, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 81 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การทำงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ปัญหาที่ในการปฏิบัติหน้าที่ ข้าราชการตำรวจในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธร Abstract: การศึกษาเรื่อง “ปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ ในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธร ภาค 8” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 และเพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่สงผลต่อระดับปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26114 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590313 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-27 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000590297 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-27 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี กองบังคับการตำรวจนครบาล 9 กองบัญชาการตำรวจนครบาล / รัฐกฤษฏ์ ใยไหม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : ยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี กองบังคับการตำรวจนครบาล 9 กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Strategies to Overcome the Prostitution Problems of Metropolitan Police Division 9 Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: รัฐกฤษฏ์ ใยไหม, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xii, 212 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การค้าประเวณี
[LCSH]ยุทธศาสตร์Keywords: การค้าประเวณี,
กองบังคับการตำรวจนครบาล 9,
กองบัญชาการตำรวจนครบาล,
ปัญหาค้าประเวณี,
ยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณีAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี และ 3) เพื่อทราบปัญหา อุปสรรคในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ซึ่งใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (mixed methods research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างการวิจัยเชิงคุณภาพ คือ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 9 ท่าน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ที่ผู้วิจัยคัดเลือกจากผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ มีความชำนาญ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านการปราบปรามการค้าประเวณี และประชากรในเชิงปริมาณ จำนวน 1,563 คน โดยการคำนวณประชากรกลุ่มตัวอย่างจากสูตรของยามาเน่ และหาสัดส่วนอีกครั้ง ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณเส้นตรง (Multiple Regression Analysis) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) วิเคราะห์ตัวแปรอิสระ ตัวแปรทำนายเข้าโดยใช้สถิติถดถอยเชิงพหุคูณแบบ Enter (Enter Multiple Regression Analysis)
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยภายในที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณีมี 3 ปัจจัย ที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านทรัพยากรของนโยบาย ด้านการสื่อสารองค์การ และด้านคุณลักษณะขององค์การ ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี พบว่า ด้านเงื่อนไขทางเทคโนโลยี มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากเท่ากันทั้ง 2 ด้าน คือ ด้านเงื่อนไขทางการเมือง และ ด้านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคม ส่วนการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการป้องกัน ด้านดำเนินคดี ด้านพัฒนากลไกเชิงนโยบาย ตามลำดับ ด้านคุ้มครองช่วยเหลือ และด้านพัฒนาความร่วมมือภาคีเครือข่ายมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
การทดสอบสมมติฐาน ผู้วิจัยนำตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรทำนายเข้าทั้งหมด เพื่อดูว่ามีตัวแปรใดสามารถร่วมทำนายตัวแปรตามได้ โดยใช้สถิติถดถอยเชิงพหุคูณแบบ Enter (Enter Multiple Regression Analysis) ซึ่งผลจากการวิเคราะห์พบว่า มีตัวแปรอิสระของปัจจัยภายใน 4 ตัวแปร ที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี คือ ด้านมาตรฐานของนโยบาย ด้านทรัพยากรของนโยบาย ด้านการสื่อสารองค์กร และด้านความร่วมมือของผู้ปฏิบัติ โดยตัวแปรอิสระทั้ง 4 ตัวแปร สามารถร่วมกันทำนายการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 31.10 (Adjusted R Square = 0.311) ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี คือ ด้านเงื่อนไขทางการเมือง ด้านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคม และด้านเงื่อนไขทางเทคโนโลยีโดยตัวแปรอิสระทั้ง 3 ตัวแปรดังกล่าว สามารถร่วมกันทำนายการปฏิบัติยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 37.10 (Adjusted R Square = 0.371) นอกจากนี้นำตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรทำนายเข้าทั้งหมดเพื่อดูว่าตัวแปรใดที่สามารถร่วมทำนายตัวแปรตามได้ โดยใช้สถิติถดถอยเชิงพหุคูณแบบ Enter (Enter Multiple Regression Analysis) ซึ่งผลจากการวิเคราะห์พบว่า มีปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ในภาพรวมทั้ง 2 ตัวแปร คือ ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกหรือปัจจัยแฝงที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ซึ่งตัวแปรอิสระทั้ง 2 ตัวแปรนั้น สามารถร่วมกันทำนายด้านการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณีได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 44.30 (Adjusted R Square = 0.443)Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28044 SIU THE-T. ยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี กองบังคับการตำรวจนครบาล 9 กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Strategies to Overcome the Prostitution Problems of Metropolitan Police Division 9 Metropolitan Police Bureau [printed text] / รัฐกฤษฏ์ ใยไหม, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xii, 212 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การค้าประเวณี
[LCSH]ยุทธศาสตร์Keywords: การค้าประเวณี,
กองบังคับการตำรวจนครบาล 9,
กองบัญชาการตำรวจนครบาล,
ปัญหาค้าประเวณี,
ยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณีAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี และ 3) เพื่อทราบปัญหา อุปสรรคในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ซึ่งใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (mixed methods research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างการวิจัยเชิงคุณภาพ คือ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 9 ท่าน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ที่ผู้วิจัยคัดเลือกจากผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ มีความชำนาญ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านการปราบปรามการค้าประเวณี และประชากรในเชิงปริมาณ จำนวน 1,563 คน โดยการคำนวณประชากรกลุ่มตัวอย่างจากสูตรของยามาเน่ และหาสัดส่วนอีกครั้ง ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณเส้นตรง (Multiple Regression Analysis) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) วิเคราะห์ตัวแปรอิสระ ตัวแปรทำนายเข้าโดยใช้สถิติถดถอยเชิงพหุคูณแบบ Enter (Enter Multiple Regression Analysis)
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยภายในที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณีมี 3 ปัจจัย ที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านทรัพยากรของนโยบาย ด้านการสื่อสารองค์การ และด้านคุณลักษณะขององค์การ ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี พบว่า ด้านเงื่อนไขทางเทคโนโลยี มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากเท่ากันทั้ง 2 ด้าน คือ ด้านเงื่อนไขทางการเมือง และ ด้านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคม ส่วนการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการป้องกัน ด้านดำเนินคดี ด้านพัฒนากลไกเชิงนโยบาย ตามลำดับ ด้านคุ้มครองช่วยเหลือ และด้านพัฒนาความร่วมมือภาคีเครือข่ายมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
การทดสอบสมมติฐาน ผู้วิจัยนำตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรทำนายเข้าทั้งหมด เพื่อดูว่ามีตัวแปรใดสามารถร่วมทำนายตัวแปรตามได้ โดยใช้สถิติถดถอยเชิงพหุคูณแบบ Enter (Enter Multiple Regression Analysis) ซึ่งผลจากการวิเคราะห์พบว่า มีตัวแปรอิสระของปัจจัยภายใน 4 ตัวแปร ที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี คือ ด้านมาตรฐานของนโยบาย ด้านทรัพยากรของนโยบาย ด้านการสื่อสารองค์กร และด้านความร่วมมือของผู้ปฏิบัติ โดยตัวแปรอิสระทั้ง 4 ตัวแปร สามารถร่วมกันทำนายการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 31.10 (Adjusted R Square = 0.311) ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี คือ ด้านเงื่อนไขทางการเมือง ด้านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคม และด้านเงื่อนไขทางเทคโนโลยีโดยตัวแปรอิสระทั้ง 3 ตัวแปรดังกล่าว สามารถร่วมกันทำนายการปฏิบัติยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 37.10 (Adjusted R Square = 0.371) นอกจากนี้นำตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรทำนายเข้าทั้งหมดเพื่อดูว่าตัวแปรใดที่สามารถร่วมทำนายตัวแปรตามได้ โดยใช้สถิติถดถอยเชิงพหุคูณแบบ Enter (Enter Multiple Regression Analysis) ซึ่งผลจากการวิเคราะห์พบว่า มีปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ในภาพรวมทั้ง 2 ตัวแปร คือ ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกหรือปัจจัยแฝงที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ซึ่งตัวแปรอิสระทั้ง 2 ตัวแปรนั้น สามารถร่วมกันทำนายด้านการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณีได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 44.30 (Adjusted R Square = 0.443)Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28044 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607386 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-06 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607387 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-06 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลและพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแล / รัชดา ยิ้มซ้าย in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 ([12/27/2016])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลและพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแล : ผู้ป่วยสมองเสือมที่มีปัญหาพฤติกรรมและจิตใจ Original title : The relationship between perceived caring self efficacy and caring behavior among caregivers of persons with behaviors and psychological of symtoms of dementia Material Type: printed text Authors: รัชดา ยิ้มซ้าย, Author ; ถนอมศรี อินทนนท์, Author ; วินีกาญจน์ คงสุวรรณ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.104--117 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.104--117Keywords: การรับรู้สมรรถนะแห่งตนการดูแล.พฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแลผู้ป่วย.ผู้ป่วยสมองเสื่อม.ปัญหาพฤติกรรมและจิตใจ. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25914 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลและพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแล = The relationship between perceived caring self efficacy and caring behavior among caregivers of persons with behaviors and psychological of symtoms of dementia : ผู้ป่วยสมองเสือมที่มีปัญหาพฤติกรรมและจิตใจ [printed text] / รัชดา ยิ้มซ้าย, Author ; ถนอมศรี อินทนนท์, Author ; วินีกาญจน์ คงสุวรรณ, Author . - 2016 . - p.104--117.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข การลดน้ำหนักของนักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน / แสงเทียน ธรรมลิขิตกุล in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข การลดน้ำหนักของนักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน : คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Original title : Problems and barriers and the approaches to solve in losing weight of obese nursing students at Kualarun Faculty of Nursing in Nacamindradhiraj University Material Type: printed text Authors: แสงเทียน ธรรมลิขิตกุล, Author ; สิริรัก สินอุดมผล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.7-30 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.7-30Keywords: ภาวะอ้วน.การลดน้ำหนัก.นักศึกษาพยาบาล.ปัญหาอุปสรรค.แนวทางการแก้ไข. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน แบบเชิงอธิบาย มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจดัชนีมวลกายของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณ์ ม.นวมินทราธิราช ดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะแรกวิจัยเชิงปริมาณ นักศึกษาพยาบาลปี 1-4 จำนวน 804 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดประเมินน้ำหนัก - ส่วนสูง ระยะที่สองคือ ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ นักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน (ฺBMI > 25 Kg/M2 จำนวน 15 ราย ทำการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง และอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการวิจัย เก็บข้อมูลสัมภาษณ์เชิงลึก...
ผลการศึกษาพบว่า น.ศ. พยาบาลมีน้ำหนักผิดปกติร้อยละ 0.62 น้ำหนักปกติร้อยละ 92.29 น้ำหนักเกินร้อยละ 2.74 และมีภาวะอ้วนร้อยละ 4.35 และพบปัจจัยที่เป็นปัญหาอุปสรรคของนักศึกษาที่มีภาวะอ้วน 3 ประเด็น คือ 1)ปัจจัยนำ คืออุปนิสัยคนอ้วน (เสียดาย เกรงใจ ขี้เกียจ ทำตามใจตนเอง และชอบแก้ตัว) ทัศนคติดทางบวกต่ออาหาร ขาดการควบคุมตนเอง ขาดแรงจูงใจ และจัดการความเครียดไม่เหมาะสม 2)ปัจจัยกระตุ้น ประกอบด้วย ลักษณะเฉพาะของวิชาชีพพยาบาล นโนบายการบริหารเน้นวิชาการ 3)ปัจจัยเสริมประกอบด้วย ขาดระบบส่งเสริมสุขภาพ และรักสนับสนุนของครอบครัวทางลง
แนวทางการแก้ไขการลดน้ำหนัก 1. ปัจจัยเอื้อ ประกอบด้วย การได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากสถาบัน การได้รับการสนับสนุนจากเพื่อน และการได้รับการสนับสนุนจากครอบครัว การศึกษานี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคในการลดน้ำหนักเพิ่มขึ้น นำไปพัฒนาการจัดโปรแกรมการลดน้ำหนักได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทางให้วัยรุ่นที่มีภาวถอ้วน นำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง ให้มีสุขภาวะที่ดีต่อไปLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26729 [article] ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข การลดน้ำหนักของนักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน = Problems and barriers and the approaches to solve in losing weight of obese nursing students at Kualarun Faculty of Nursing in Nacamindradhiraj University : คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / แสงเทียน ธรรมลิขิตกุล, Author ; สิริรัก สินอุดมผล, Author . - 2017 . - p.7-30.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.7-30Keywords: ภาวะอ้วน.การลดน้ำหนัก.นักศึกษาพยาบาล.ปัญหาอุปสรรค.แนวทางการแก้ไข. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน แบบเชิงอธิบาย มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจดัชนีมวลกายของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณ์ ม.นวมินทราธิราช ดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะแรกวิจัยเชิงปริมาณ นักศึกษาพยาบาลปี 1-4 จำนวน 804 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดประเมินน้ำหนัก - ส่วนสูง ระยะที่สองคือ ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ นักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน (ฺBMI > 25 Kg/M2 จำนวน 15 ราย ทำการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง และอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการวิจัย เก็บข้อมูลสัมภาษณ์เชิงลึก...
ผลการศึกษาพบว่า น.ศ. พยาบาลมีน้ำหนักผิดปกติร้อยละ 0.62 น้ำหนักปกติร้อยละ 92.29 น้ำหนักเกินร้อยละ 2.74 และมีภาวะอ้วนร้อยละ 4.35 และพบปัจจัยที่เป็นปัญหาอุปสรรคของนักศึกษาที่มีภาวะอ้วน 3 ประเด็น คือ 1)ปัจจัยนำ คืออุปนิสัยคนอ้วน (เสียดาย เกรงใจ ขี้เกียจ ทำตามใจตนเอง และชอบแก้ตัว) ทัศนคติดทางบวกต่ออาหาร ขาดการควบคุมตนเอง ขาดแรงจูงใจ และจัดการความเครียดไม่เหมาะสม 2)ปัจจัยกระตุ้น ประกอบด้วย ลักษณะเฉพาะของวิชาชีพพยาบาล นโนบายการบริหารเน้นวิชาการ 3)ปัจจัยเสริมประกอบด้วย ขาดระบบส่งเสริมสุขภาพ และรักสนับสนุนของครอบครัวทางลง
แนวทางการแก้ไขการลดน้ำหนัก 1. ปัจจัยเอื้อ ประกอบด้วย การได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากสถาบัน การได้รับการสนับสนุนจากเพื่อน และการได้รับการสนับสนุนจากครอบครัว การศึกษานี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคในการลดน้ำหนักเพิ่มขึ้น นำไปพัฒนาการจัดโปรแกรมการลดน้ำหนักได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทางให้วัยรุ่นที่มีภาวถอ้วน นำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง ให้มีสุขภาวะที่ดีต่อไปLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26729 พฤติกรรมการป้องกันปัญหาระบบทางเดินหายใจจากการทำงานจองแรงงานก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในเขตกรุงเทพมหานคร / ศิริวรรณ รื่นบรรเทิง in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : พฤติกรรมการป้องกันปัญหาระบบทางเดินหายใจจากการทำงานจองแรงงานก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในเขตกรุงเทพมหานคร Original title : Preventive behaviors of work related respiratory problem among railway construction workers in Bangkok Material Type: printed text Authors: ศิริวรรณ รื่นบรรเทิง, Author ; สุรินธร กลัมพากร, Author ; แอนน์ จิระพงษ์สุวรรณ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.71-83 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.71-83Keywords: แรงงานก่อสร้างระบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน.พฤติกรรมการป้องกัน.ปัญหาระบบทางเดินหายใจ Abstract: แรงงานก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน มีโอกาสได้รับสิ่งคุกคามทางสุขภาพระบบทางเดินหายใจ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการป้องกันปัญหาระบบทางเดินหายใจจากการทำงานของแรงงานก่อสร้างระบบไฟฟ้าขนส่งมวลชน ตามกรอบแนวคิด Precede proceeded framework กลุ่มตัวอย่างเป็นแรงงานก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร จำนวน 225 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สิถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวน สัมประสิทะิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการถดถอยพหุคูฯแบบขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการป้องกันปัญหาระบบทางเดินหายใจจากการทำงานโดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 54.7 และ พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันปัญหาระบบทางเดินหายใจ อย้างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ประวัติการสูบบุหรี การรับรู้โอกาสเสี่ยง การรับรู้ประโยขน์ การรับรู้อุปสรรค การเข้าถึงแหล่งทรัพยากร
Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26524 [article] พฤติกรรมการป้องกันปัญหาระบบทางเดินหายใจจากการทำงานจองแรงงานก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในเขตกรุงเทพมหานคร = Preventive behaviors of work related respiratory problem among railway construction workers in Bangkok [printed text] / ศิริวรรณ รื่นบรรเทิง, Author ; สุรินธร กลัมพากร, Author ; แอนน์ จิระพงษ์สุวรรณ, Author . - 2017 . - p.71-83.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.71-83Keywords: แรงงานก่อสร้างระบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน.พฤติกรรมการป้องกัน.ปัญหาระบบทางเดินหายใจ Abstract: แรงงานก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน มีโอกาสได้รับสิ่งคุกคามทางสุขภาพระบบทางเดินหายใจ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการป้องกันปัญหาระบบทางเดินหายใจจากการทำงานของแรงงานก่อสร้างระบบไฟฟ้าขนส่งมวลชน ตามกรอบแนวคิด Precede proceeded framework กลุ่มตัวอย่างเป็นแรงงานก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร จำนวน 225 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สิถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวน สัมประสิทะิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการถดถอยพหุคูฯแบบขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการป้องกันปัญหาระบบทางเดินหายใจจากการทำงานโดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 54.7 และ พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันปัญหาระบบทางเดินหายใจ อย้างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ประวัติการสูบบุหรี การรับรู้โอกาสเสี่ยง การรับรู้ประโยขน์ การรับรู้อุปสรรค การเข้าถึงแหล่งทรัพยากร
Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26524 โครงการศึกษาปัญหาสังคมและสาธารณสุขของคนงานก่อสร้าง ในเขตกรุงเทพมหานคร : รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ / ภิรมย์ กมลรัตนกุล / กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2538
Title : โครงการศึกษาปัญหาสังคมและสาธารณสุขของคนงานก่อสร้าง ในเขตกรุงเทพมหานคร : รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ Material Type: printed text Authors: ภิรมย์ กมลรัตนกุล, Author Publisher: กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2538 Pagination: 379 หน้า Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 29 ซม. ISBN (or other code): 978-974-632-971-5 Price: บริจาค. General note: โครงการนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
รายงานวิจัยนี้แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือส่วนแรกเป็นผลการวิจัยเชิงปริมาณ. และส่วนที่ 2 เป็นผลการวิจัยเชิงคุณภาพ.Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]Occupational health -- research -- Bangkok
[LCSH]กรรมกร -- สุขภาพและอนามัย
[LCSH]คนงานก่อสร้าง
[LCSH]ปัญหาสังคม
[LCSH]ปัญหาสาธารณสุข
[LCSH]แรงงาน -- กรุงเทพมหานครKeywords: ปัญหาสัีงคม.
ปัญหาสาธารณสุข.
คนงานก่อสร้าง.Class number: WA400 ร451 2538 Abstract: คนงานก่อสร้างเป็นกลุ่มที่มีอัตราการบาดเจ็บและตายจากการทำงานสูงที่สุด รวมทั้งเผชิญกับปัญหาทางสังคมและสาธารณสุขต่าง ๆ แต่กลับเป็นกลุ่มที่ด้อยโอกาสทางสังคมในทุก ๆ ด้าน อย่างไรก็ตามในเมืองไทยยังขาดข้อมูลในส่วนนี้อยู่ ดังนั้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ข้อมูลทางด้านสังคม และสาธารณสุขของคนงานก่อสร้างในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงพรรณาชนิดตัดขวาง ณ. จุดหนึ่งของเวลา จำแนกสถานก่อสร้างในกทม. ออกเป็นรอบในและรอบนอก และเขตลาดกระบังเป็นตัวแทนของเขตกทม. รอบนอก เมื่อสำรวจได้ กลุ่มตัวอย่างแล้ว จึงใช้เทคนิดการสุ่มตัวอย่างย่างง่าย เพื่อสุ่มกลุ่มสถานก่อสร้างขนาดใหญ่ และขนาดเล็กมากลุ่มละั 10 แห่ง ส่วนการคัดเลือกคนงานในแต่ละแห่งนั้นใช้วิธี Systematic random samp;ing
ผลการศึกษาพบว่า 67% ของคนงานก่อสร้างในเขต กทม. อยู่ในวัยทำงาน เป็นชายมากกว่าหญิงเล็กน้อย (ในอัตราส่วน 1.4:1) ร้อยละ 88 มีภูมิลำเนามาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือร้อยละ 84 สมรสแล้ว และร้อยละ 87 จบชั้นประถมศึกษา นอกยากนี้ยังพบว่า ร้อยละ 64 เป็นลูกจ้างชั่วคราวรายวันโดยไม่มีสัญญาว่าจ้า่งที่แน่นอน เฉลี่ยแล้วคนงานมีบุตร 2 คน ร้อยละ 4 เป็นบุตรอายุต่ำกว่า 1 ปี ร้อยละ 27 เป็นบุตรอายุ 1-5 ปี ร้อนละ 16 เป็นบุตรอายุ 6-8 ปี และร้อยละ 33 เป็นบุตรอายุ 9-15 ปี โดยมีเพียงร้อยละ 13 ของบุตรอายุ 6-15 ปี ที่อาศัยอยู่กับพ่อแม่ ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากรไม่ค่อยมีความแตกต่างกันระหว่างคนงานในเขตคลองเตยและเขตลาดกระบัง และระหว่างสถานก่อสร้างขนาดใหญ่และเล็ก แต่สภาพอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นสภาพแวดล้อม ความปลอดภัยในการทำงาน ค่าตอบแทน สวัสดิการต่าง ๆ สถานก่อสร้างขนาดใหญ่มีแนวโน้มจะดีกว่าคนงานในเขตลาดกระบัง และระหว่างสถานก่อสร้างขนาดใหญ่และเล็ก แต่สภาพอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นสภาพแวดล้อม ความปลอดภัยในการทำงาน ค่าตอบแทน สวัสดิการต่าง ๆ สถานก่อสร้างขนาดใหญ่มีแนวโน้มจะดีกว่าสถานก่อสร้างขนาดเล็ก และคนงานในเขตคลองเตยมีแนวโน้มจะมีสภาพต่าง ๆ เหล่านี้ดีกว่าคนงานในเขตลาดกระบง อัตราการเจ็บป่วยหนัก เนื่องจากอุบัติเหตุจากการทำงานทำงานพบ 58.7/คนงาน 1,000 ส่วนการบาดเจ็บระหว่างการทำงานเท่ากับ 208 ต่อคนงาน 1,000 คน ในเขตคลองเตย และ 180/คนงาน 1,000 คน ในเขตลาดกระบังในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา การบาดเจ็บที่พบบ่อยที่สุดคือ ชนเครื่องมือ และตะปูตำ
ทั้งนี้คงเนื่องมาจากนายจ้างไม่ได้จัดเตรียมเครื่องป้องกันส่วนบุคคลอย่างเพียงพอ รวมทั้งคนงานเองก็ไม่สนใจในการใช้เครื่องมือป้องกันเหล่านั้นด้วย
สภาพแวดล้อมในการทำงานและสถานที่อยู่อาศัยรวมถึงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมยังอยู่ในเกณฑ์ที่ไม่ดี คนงานส่วนมาก (โดยเฉพาะคนงานชาย) มีพฤติกรรมเสี่ยงส่วนบุคคล เช่น การดื่มสุรา สูบบุหรี การใช้ยาและสารเสพติด มีปัญหาเรื่องความเครีบด 53% โรคปริทนต์และโรคฟัยผุ เป็นปัญหาทางทันตสาธารณสุขที่สำคัญ นอกจากนี้ยังพบว่าคนงานก่อสร้าง ส่วนมากขาดความรู้เกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน สิทธิต่างๆ รวมทั้งสวัสดิการอันพึงได้ ข้อมูลดังกล่าว น่าจะเป็นข้อมูลพื้นฐานให้ผู้ที่เกี่ยวข้องหามาตรการที่เหมา่ะสมเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้คนงานก่อสร้างผู้ด้อยโอกาสเหล่านี้อย่างจริงจัง เป็นระบบ และเป็นรูปธรรมในอนาคตอันใกล้นี้
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23310 โครงการศึกษาปัญหาสังคมและสาธารณสุขของคนงานก่อสร้าง ในเขตกรุงเทพมหานคร : รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ [printed text] / ภิรมย์ กมลรัตนกุล, Author . - กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 . - 379 หน้า : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 29 ซม.
ISSN : 978-974-632-971-5 : บริจาค.
โครงการนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
รายงานวิจัยนี้แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือส่วนแรกเป็นผลการวิจัยเชิงปริมาณ. และส่วนที่ 2 เป็นผลการวิจัยเชิงคุณภาพ.
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]Occupational health -- research -- Bangkok
[LCSH]กรรมกร -- สุขภาพและอนามัย
[LCSH]คนงานก่อสร้าง
[LCSH]ปัญหาสังคม
[LCSH]ปัญหาสาธารณสุข
[LCSH]แรงงาน -- กรุงเทพมหานครKeywords: ปัญหาสัีงคม.
ปัญหาสาธารณสุข.
คนงานก่อสร้าง.Class number: WA400 ร451 2538 Abstract: คนงานก่อสร้างเป็นกลุ่มที่มีอัตราการบาดเจ็บและตายจากการทำงานสูงที่สุด รวมทั้งเผชิญกับปัญหาทางสังคมและสาธารณสุขต่าง ๆ แต่กลับเป็นกลุ่มที่ด้อยโอกาสทางสังคมในทุก ๆ ด้าน อย่างไรก็ตามในเมืองไทยยังขาดข้อมูลในส่วนนี้อยู่ ดังนั้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ข้อมูลทางด้านสังคม และสาธารณสุขของคนงานก่อสร้างในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงพรรณาชนิดตัดขวาง ณ. จุดหนึ่งของเวลา จำแนกสถานก่อสร้างในกทม. ออกเป็นรอบในและรอบนอก และเขตลาดกระบังเป็นตัวแทนของเขตกทม. รอบนอก เมื่อสำรวจได้ กลุ่มตัวอย่างแล้ว จึงใช้เทคนิดการสุ่มตัวอย่างย่างง่าย เพื่อสุ่มกลุ่มสถานก่อสร้างขนาดใหญ่ และขนาดเล็กมากลุ่มละั 10 แห่ง ส่วนการคัดเลือกคนงานในแต่ละแห่งนั้นใช้วิธี Systematic random samp;ing
ผลการศึกษาพบว่า 67% ของคนงานก่อสร้างในเขต กทม. อยู่ในวัยทำงาน เป็นชายมากกว่าหญิงเล็กน้อย (ในอัตราส่วน 1.4:1) ร้อยละ 88 มีภูมิลำเนามาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือร้อยละ 84 สมรสแล้ว และร้อยละ 87 จบชั้นประถมศึกษา นอกยากนี้ยังพบว่า ร้อยละ 64 เป็นลูกจ้างชั่วคราวรายวันโดยไม่มีสัญญาว่าจ้า่งที่แน่นอน เฉลี่ยแล้วคนงานมีบุตร 2 คน ร้อยละ 4 เป็นบุตรอายุต่ำกว่า 1 ปี ร้อยละ 27 เป็นบุตรอายุ 1-5 ปี ร้อนละ 16 เป็นบุตรอายุ 6-8 ปี และร้อยละ 33 เป็นบุตรอายุ 9-15 ปี โดยมีเพียงร้อยละ 13 ของบุตรอายุ 6-15 ปี ที่อาศัยอยู่กับพ่อแม่ ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากรไม่ค่อยมีความแตกต่างกันระหว่างคนงานในเขตคลองเตยและเขตลาดกระบัง และระหว่างสถานก่อสร้างขนาดใหญ่และเล็ก แต่สภาพอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นสภาพแวดล้อม ความปลอดภัยในการทำงาน ค่าตอบแทน สวัสดิการต่าง ๆ สถานก่อสร้างขนาดใหญ่มีแนวโน้มจะดีกว่าคนงานในเขตลาดกระบัง และระหว่างสถานก่อสร้างขนาดใหญ่และเล็ก แต่สภาพอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นสภาพแวดล้อม ความปลอดภัยในการทำงาน ค่าตอบแทน สวัสดิการต่าง ๆ สถานก่อสร้างขนาดใหญ่มีแนวโน้มจะดีกว่าสถานก่อสร้างขนาดเล็ก และคนงานในเขตคลองเตยมีแนวโน้มจะมีสภาพต่าง ๆ เหล่านี้ดีกว่าคนงานในเขตลาดกระบง อัตราการเจ็บป่วยหนัก เนื่องจากอุบัติเหตุจากการทำงานทำงานพบ 58.7/คนงาน 1,000 ส่วนการบาดเจ็บระหว่างการทำงานเท่ากับ 208 ต่อคนงาน 1,000 คน ในเขตคลองเตย และ 180/คนงาน 1,000 คน ในเขตลาดกระบังในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา การบาดเจ็บที่พบบ่อยที่สุดคือ ชนเครื่องมือ และตะปูตำ
ทั้งนี้คงเนื่องมาจากนายจ้างไม่ได้จัดเตรียมเครื่องป้องกันส่วนบุคคลอย่างเพียงพอ รวมทั้งคนงานเองก็ไม่สนใจในการใช้เครื่องมือป้องกันเหล่านั้นด้วย
สภาพแวดล้อมในการทำงานและสถานที่อยู่อาศัยรวมถึงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมยังอยู่ในเกณฑ์ที่ไม่ดี คนงานส่วนมาก (โดยเฉพาะคนงานชาย) มีพฤติกรรมเสี่ยงส่วนบุคคล เช่น การดื่มสุรา สูบบุหรี การใช้ยาและสารเสพติด มีปัญหาเรื่องความเครีบด 53% โรคปริทนต์และโรคฟัยผุ เป็นปัญหาทางทันตสาธารณสุขที่สำคัญ นอกจากนี้ยังพบว่าคนงานก่อสร้าง ส่วนมากขาดความรู้เกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน สิทธิต่างๆ รวมทั้งสวัสดิการอันพึงได้ ข้อมูลดังกล่าว น่าจะเป็นข้อมูลพื้นฐานให้ผู้ที่เกี่ยวข้องหามาตรการที่เหมา่ะสมเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้คนงานก่อสร้างผู้ด้อยโอกาสเหล่านี้อย่างจริงจัง เป็นระบบ และเป็นรูปธรรมในอนาคตอันใกล้นี้
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23310 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000356103 WA400 ร451 2538 Book Main Library Library Counter Not for loan