From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU THE-T. ปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ตามแนวทางยุทธศาสตร์ชาติ กรณีศึกษา จังหวัดปทุมธานี / ชัยพร โทนทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ตามแนวทางยุทธศาสตร์ชาติ กรณีศึกษา จังหวัดปทุมธานี Original title : Factors Affecting the Achievement of National Village and Urban Community’s Fund in Line with the National Strategy: A Case of Pathum Thani Province Material Type: printed text Authors: ชัยพร โทนทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: x, 234 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-16
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง -- ไทย -- ปทุมธานี -- การบริหาร
[LCSH]ยุทธศาสตร์Keywords: กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง,
ผลสัมฤทธิ์,
ยุทธศาสตร์ชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27960 SIU THE-T. ปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ตามแนวทางยุทธศาสตร์ชาติ กรณีศึกษา จังหวัดปทุมธานี = Factors Affecting the Achievement of National Village and Urban Community’s Fund in Line with the National Strategy: A Case of Pathum Thani Province [printed text] / ชัยพร โทนทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - x, 234 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-16
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง -- ไทย -- ปทุมธานี -- การบริหาร
[LCSH]ยุทธศาสตร์Keywords: กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง,
ผลสัมฤทธิ์,
ยุทธศาสตร์ชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27960 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607959 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-16 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607961 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-16 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ปัจจัยที่อธิบายความพร้อมของหน่วยงานหลักในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555–2559 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี / วันชัย จึงวิบูลย์สถิตย์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยที่อธิบายความพร้อมของหน่วยงานหลักในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555–2559 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี Original title : Factors Illustrating the Readiness of Core Organizations Performing along the Strategies of 2012–2016 National Tourism Plan for Developing Tourism of Pattaya City, Chonburi Material Type: printed text Authors: วันชัย จึงวิบูลย์สถิตย์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xv, 236 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ยุทธศาสตร์
[LCSH]แผนพัฒนาการท่องเที่ยว -- ชลบุรี -- พัทยาKeywords: คำสำคัญ แผนพัฒนาการท่องเที่ยว.
การปฏิบัติตามยุทธศาสตร์.
เมืองพัทยา.Abstract: การท่องเที่ยวนับว่าเป็นสินค้าประเภทหนึ่ง ที่สามารถทำรายได้อย่างมหาศาลให้กับประเทศ เนื่องจากเป็นสินค้าที่ลงทุนต่ำแต่ได้ผลกำไรสูง ดังที่หลาย ๆ ประเทศต่างหันมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาการท่องเที่ยวของตน และทำให้เศรษฐกิจของประเทศดีขึ้นอย่างรวดเร็ว แม้ในขณะที่ภาวะเศรษฐกิจโลกตกต่ำอยู่ก็ตาม ประเทศไทยมีแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามและมีชื่อเสียงระดับโลกไม่แพ้ประเทศใด เช่น ภูเก็ต เชียงใหม่ พัทยา ฯลฯ เป็นต้น โดยศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวเหล่านี้น่าจะทำรายได้เพิ่มขึ้นจากที่เป็นอยู่ รัฐบาลจึงออกพระราชกฤษฎีกากำหนดแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 ขึ้น และในแผนนี้ได้กำหนดยุทธศาสตร์การปฏิบัติงานที่เน้นการร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐผนวกกับภาคเอกชนในการขับเคลื่อนแผนนี้เพื่อกระตุ้นให้การท่องเที่ยวในภาพรวมพัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึ้นอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตามการนำนโยบายต่าง ๆ ไปปฏิบัติของหน่วยงานภาครัฐมักมีปัญหาในด้านความล่าช้า ความไม่มีประสิทธิภาพ หรือล้มเหลว การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่ง (1) ศึกษาระดับความพร้อมของหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555 -2559 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยา (2) ศึกษาระดับผลการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยา ที่เกิดจากการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555 -2559 (3) เพื่อหาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผน และ 4) เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการท่องเที่ยวซึ่งเหมาะสมกับพื้นที่ของเมืองพัทยา ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวให้มีศักยภาพสูงขึ้นและสามารถทำรายได้ให้กับประเทศสูงขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้จากการกำหนดโควตา สำหรับตัวแทนหน่วยงานหลักภาครัฐ จำนวน 115 หน่วย การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากภาครัฐ และเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 โดยกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ระดับความเชื่อมั่น 95% จำนวน 276 คน/หน่วย รวม 391 คน/หน่วย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณเป็นแบบสอบถามมาตรประเมินค่ามีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.947 และค่าความเที่ยงตรงเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเชิงคุณภาพเป็นการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบมีโครงสร้าง
ผลการศึกษา พบว่า (1) ระดับความพร้อมของหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555 -2559 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยาอยู่ในระดับมีความพร้อมมาก (2) ระดับผลการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยา ที่เกิดจากการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 อยู่ในระดับสูง (3) ตัวแปรอิสระด้านการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง การสื่อสารภายในองค์การและระหว่างองค์การ ความสามารถของหน่วยงาน/องค์การ ความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน/องค์การ ความพอเพียงของทรัพยากรของหน่วยงาน/องค์การ และการติดตามและประเมินผลของหน่วยงาน/องค์การ มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตาม ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว การพัฒนาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน การพัฒนาสินค้าบริการและปัจจัยสนับสนุนการท่องเที่ยว การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาครัฐภาคประชาชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว การสร้างความเชื่อมั่นและส่งเสริมการท่องเที่ยว และการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคประชาชน ในการบริหารทรัพยากรการท่องเที่ยว ไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) ตัวแปรอิสระทุกตัวมีอิทธิพลต่อตัวแปรตาม โดยเรียงลำดับจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุดดังนี้ การสื่อสารภายในองค์การและระหว่างองค์การ การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ความร่วมมือระหว่างองค์การ ความพอเพียงของทรัพยากรของหน่วยงาน/องค์การ การติดตามและประเมินผลของหน่วยงาน/องค์การ และความสามารถของหน่วยงาน/องค์การ ส่วนผลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกพบว่าผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ให้ความเห็นว่าหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยามีความพร้อมในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ ส่วนผลการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 อยู่ในระดับน่าพึงพอใจเช่นกัน
การวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะดังนี้ ต้องรีบดำเนินการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอย่างเร่งด่วน เนื่องจากมีผลกระทบโดยตรงกับการท่องเที่ยว ต้องมีการวางแผนสำรวจแหล่งท่องเที่ยวที่เสื่อมโทรมเพื่อรีบฟื้นฟูให้กลับสภาพเดิมโดยเร็ว ทั้งนี้เพื่อรักษาภาพของการเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับโลก ให้พิจารณาเรื่องความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของนักท่องเที่ยวเป็นประเด็นสำคัญ เนื่องจากจะมีผลกระทบเชิงลบอย่างมากถ้านักท่องเที่ยวถูกทำร้าย หรือถูกประทุษร้ายต่อทรัพย์สินบ่อย ๆ ให้มีการอบรมบุคลากรเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงาน ให้มีความ สามารถประเมินหน่วยงานของตนเองและหน่วยงานอื่นที่ร่วมกันปฏิบัติงาน และการจัดสรรงบประมาณเพื่อปฏิบัติงานพัฒนาการท่องเที่ยวควรจัดไว้เป็นการเฉพาะ เนื่องจากหน่วยงานแต่ละหน่วยงานก็มีเรื่องใช้งบประมาณของตนเอง หรืออีกกรณีหนึ่งคือให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยวตั้งงบประมาณในหน่วยของตนเองเพื่อปฏิบัติงานการพัฒนาการท่องเที่ยวCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27506 SIU THE-T. ปัจจัยที่อธิบายความพร้อมของหน่วยงานหลักในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555–2559 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี = Factors Illustrating the Readiness of Core Organizations Performing along the Strategies of 2012–2016 National Tourism Plan for Developing Tourism of Pattaya City, Chonburi [printed text] / วันชัย จึงวิบูลย์สถิตย์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xv, 236 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ยุทธศาสตร์
[LCSH]แผนพัฒนาการท่องเที่ยว -- ชลบุรี -- พัทยาKeywords: คำสำคัญ แผนพัฒนาการท่องเที่ยว.
การปฏิบัติตามยุทธศาสตร์.
เมืองพัทยา.Abstract: การท่องเที่ยวนับว่าเป็นสินค้าประเภทหนึ่ง ที่สามารถทำรายได้อย่างมหาศาลให้กับประเทศ เนื่องจากเป็นสินค้าที่ลงทุนต่ำแต่ได้ผลกำไรสูง ดังที่หลาย ๆ ประเทศต่างหันมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาการท่องเที่ยวของตน และทำให้เศรษฐกิจของประเทศดีขึ้นอย่างรวดเร็ว แม้ในขณะที่ภาวะเศรษฐกิจโลกตกต่ำอยู่ก็ตาม ประเทศไทยมีแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามและมีชื่อเสียงระดับโลกไม่แพ้ประเทศใด เช่น ภูเก็ต เชียงใหม่ พัทยา ฯลฯ เป็นต้น โดยศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวเหล่านี้น่าจะทำรายได้เพิ่มขึ้นจากที่เป็นอยู่ รัฐบาลจึงออกพระราชกฤษฎีกากำหนดแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 ขึ้น และในแผนนี้ได้กำหนดยุทธศาสตร์การปฏิบัติงานที่เน้นการร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐผนวกกับภาคเอกชนในการขับเคลื่อนแผนนี้เพื่อกระตุ้นให้การท่องเที่ยวในภาพรวมพัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึ้นอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตามการนำนโยบายต่าง ๆ ไปปฏิบัติของหน่วยงานภาครัฐมักมีปัญหาในด้านความล่าช้า ความไม่มีประสิทธิภาพ หรือล้มเหลว การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่ง (1) ศึกษาระดับความพร้อมของหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555 -2559 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยา (2) ศึกษาระดับผลการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยา ที่เกิดจากการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555 -2559 (3) เพื่อหาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผน และ 4) เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการท่องเที่ยวซึ่งเหมาะสมกับพื้นที่ของเมืองพัทยา ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวให้มีศักยภาพสูงขึ้นและสามารถทำรายได้ให้กับประเทศสูงขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้จากการกำหนดโควตา สำหรับตัวแทนหน่วยงานหลักภาครัฐ จำนวน 115 หน่วย การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากภาครัฐ และเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 โดยกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ระดับความเชื่อมั่น 95% จำนวน 276 คน/หน่วย รวม 391 คน/หน่วย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณเป็นแบบสอบถามมาตรประเมินค่ามีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.947 และค่าความเที่ยงตรงเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเชิงคุณภาพเป็นการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบมีโครงสร้าง
ผลการศึกษา พบว่า (1) ระดับความพร้อมของหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555 -2559 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยาอยู่ในระดับมีความพร้อมมาก (2) ระดับผลการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยา ที่เกิดจากการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 อยู่ในระดับสูง (3) ตัวแปรอิสระด้านการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง การสื่อสารภายในองค์การและระหว่างองค์การ ความสามารถของหน่วยงาน/องค์การ ความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน/องค์การ ความพอเพียงของทรัพยากรของหน่วยงาน/องค์การ และการติดตามและประเมินผลของหน่วยงาน/องค์การ มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตาม ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว การพัฒนาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน การพัฒนาสินค้าบริการและปัจจัยสนับสนุนการท่องเที่ยว การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาครัฐภาคประชาชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว การสร้างความเชื่อมั่นและส่งเสริมการท่องเที่ยว และการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคประชาชน ในการบริหารทรัพยากรการท่องเที่ยว ไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) ตัวแปรอิสระทุกตัวมีอิทธิพลต่อตัวแปรตาม โดยเรียงลำดับจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุดดังนี้ การสื่อสารภายในองค์การและระหว่างองค์การ การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ความร่วมมือระหว่างองค์การ ความพอเพียงของทรัพยากรของหน่วยงาน/องค์การ การติดตามและประเมินผลของหน่วยงาน/องค์การ และความสามารถของหน่วยงาน/องค์การ ส่วนผลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกพบว่าผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ให้ความเห็นว่าหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยามีความพร้อมในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ ส่วนผลการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 อยู่ในระดับน่าพึงพอใจเช่นกัน
การวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะดังนี้ ต้องรีบดำเนินการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอย่างเร่งด่วน เนื่องจากมีผลกระทบโดยตรงกับการท่องเที่ยว ต้องมีการวางแผนสำรวจแหล่งท่องเที่ยวที่เสื่อมโทรมเพื่อรีบฟื้นฟูให้กลับสภาพเดิมโดยเร็ว ทั้งนี้เพื่อรักษาภาพของการเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับโลก ให้พิจารณาเรื่องความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของนักท่องเที่ยวเป็นประเด็นสำคัญ เนื่องจากจะมีผลกระทบเชิงลบอย่างมากถ้านักท่องเที่ยวถูกทำร้าย หรือถูกประทุษร้ายต่อทรัพย์สินบ่อย ๆ ให้มีการอบรมบุคลากรเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงาน ให้มีความ สามารถประเมินหน่วยงานของตนเองและหน่วยงานอื่นที่ร่วมกันปฏิบัติงาน และการจัดสรรงบประมาณเพื่อปฏิบัติงานพัฒนาการท่องเที่ยวควรจัดไว้เป็นการเฉพาะ เนื่องจากหน่วยงานแต่ละหน่วยงานก็มีเรื่องใช้งบประมาณของตนเอง หรืออีกกรณีหนึ่งคือให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยวตั้งงบประมาณในหน่วยของตนเองเพื่อปฏิบัติงานการพัฒนาการท่องเที่ยวCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27506 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595874 SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595882 SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available Readers who borrowed this document also borrowed:
An introduction to qualitative research Flick,, Uwe (1956-) SIU THE-T. ยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี กองบังคับการตำรวจนครบาล 9 กองบัญชาการตำรวจนครบาล / รัฐกฤษฏ์ ใยไหม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : ยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี กองบังคับการตำรวจนครบาล 9 กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Strategies to Overcome the Prostitution Problems of Metropolitan Police Division 9 Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: รัฐกฤษฏ์ ใยไหม, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xii, 212 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การค้าประเวณี
[LCSH]ยุทธศาสตร์Keywords: การค้าประเวณี,
กองบังคับการตำรวจนครบาล 9,
กองบัญชาการตำรวจนครบาล,
ปัญหาค้าประเวณี,
ยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณีAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี และ 3) เพื่อทราบปัญหา อุปสรรคในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ซึ่งใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (mixed methods research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างการวิจัยเชิงคุณภาพ คือ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 9 ท่าน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ที่ผู้วิจัยคัดเลือกจากผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ มีความชำนาญ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านการปราบปรามการค้าประเวณี และประชากรในเชิงปริมาณ จำนวน 1,563 คน โดยการคำนวณประชากรกลุ่มตัวอย่างจากสูตรของยามาเน่ และหาสัดส่วนอีกครั้ง ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณเส้นตรง (Multiple Regression Analysis) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) วิเคราะห์ตัวแปรอิสระ ตัวแปรทำนายเข้าโดยใช้สถิติถดถอยเชิงพหุคูณแบบ Enter (Enter Multiple Regression Analysis)
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยภายในที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณีมี 3 ปัจจัย ที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านทรัพยากรของนโยบาย ด้านการสื่อสารองค์การ และด้านคุณลักษณะขององค์การ ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี พบว่า ด้านเงื่อนไขทางเทคโนโลยี มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากเท่ากันทั้ง 2 ด้าน คือ ด้านเงื่อนไขทางการเมือง และ ด้านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคม ส่วนการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการป้องกัน ด้านดำเนินคดี ด้านพัฒนากลไกเชิงนโยบาย ตามลำดับ ด้านคุ้มครองช่วยเหลือ และด้านพัฒนาความร่วมมือภาคีเครือข่ายมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
การทดสอบสมมติฐาน ผู้วิจัยนำตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรทำนายเข้าทั้งหมด เพื่อดูว่ามีตัวแปรใดสามารถร่วมทำนายตัวแปรตามได้ โดยใช้สถิติถดถอยเชิงพหุคูณแบบ Enter (Enter Multiple Regression Analysis) ซึ่งผลจากการวิเคราะห์พบว่า มีตัวแปรอิสระของปัจจัยภายใน 4 ตัวแปร ที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี คือ ด้านมาตรฐานของนโยบาย ด้านทรัพยากรของนโยบาย ด้านการสื่อสารองค์กร และด้านความร่วมมือของผู้ปฏิบัติ โดยตัวแปรอิสระทั้ง 4 ตัวแปร สามารถร่วมกันทำนายการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 31.10 (Adjusted R Square = 0.311) ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี คือ ด้านเงื่อนไขทางการเมือง ด้านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคม และด้านเงื่อนไขทางเทคโนโลยีโดยตัวแปรอิสระทั้ง 3 ตัวแปรดังกล่าว สามารถร่วมกันทำนายการปฏิบัติยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 37.10 (Adjusted R Square = 0.371) นอกจากนี้นำตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรทำนายเข้าทั้งหมดเพื่อดูว่าตัวแปรใดที่สามารถร่วมทำนายตัวแปรตามได้ โดยใช้สถิติถดถอยเชิงพหุคูณแบบ Enter (Enter Multiple Regression Analysis) ซึ่งผลจากการวิเคราะห์พบว่า มีปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ในภาพรวมทั้ง 2 ตัวแปร คือ ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกหรือปัจจัยแฝงที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ซึ่งตัวแปรอิสระทั้ง 2 ตัวแปรนั้น สามารถร่วมกันทำนายด้านการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณีได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 44.30 (Adjusted R Square = 0.443)Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28044 SIU THE-T. ยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี กองบังคับการตำรวจนครบาล 9 กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Strategies to Overcome the Prostitution Problems of Metropolitan Police Division 9 Metropolitan Police Bureau [printed text] / รัฐกฤษฏ์ ใยไหม, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xii, 212 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การค้าประเวณี
[LCSH]ยุทธศาสตร์Keywords: การค้าประเวณี,
กองบังคับการตำรวจนครบาล 9,
กองบัญชาการตำรวจนครบาล,
ปัญหาค้าประเวณี,
ยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณีAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี และ 3) เพื่อทราบปัญหา อุปสรรคในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ซึ่งใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (mixed methods research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างการวิจัยเชิงคุณภาพ คือ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 9 ท่าน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ที่ผู้วิจัยคัดเลือกจากผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ มีความชำนาญ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านการปราบปรามการค้าประเวณี และประชากรในเชิงปริมาณ จำนวน 1,563 คน โดยการคำนวณประชากรกลุ่มตัวอย่างจากสูตรของยามาเน่ และหาสัดส่วนอีกครั้ง ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณเส้นตรง (Multiple Regression Analysis) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) วิเคราะห์ตัวแปรอิสระ ตัวแปรทำนายเข้าโดยใช้สถิติถดถอยเชิงพหุคูณแบบ Enter (Enter Multiple Regression Analysis)
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยภายในที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณีมี 3 ปัจจัย ที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านทรัพยากรของนโยบาย ด้านการสื่อสารองค์การ และด้านคุณลักษณะขององค์การ ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี พบว่า ด้านเงื่อนไขทางเทคโนโลยี มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากเท่ากันทั้ง 2 ด้าน คือ ด้านเงื่อนไขทางการเมือง และ ด้านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคม ส่วนการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการป้องกัน ด้านดำเนินคดี ด้านพัฒนากลไกเชิงนโยบาย ตามลำดับ ด้านคุ้มครองช่วยเหลือ และด้านพัฒนาความร่วมมือภาคีเครือข่ายมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
การทดสอบสมมติฐาน ผู้วิจัยนำตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรทำนายเข้าทั้งหมด เพื่อดูว่ามีตัวแปรใดสามารถร่วมทำนายตัวแปรตามได้ โดยใช้สถิติถดถอยเชิงพหุคูณแบบ Enter (Enter Multiple Regression Analysis) ซึ่งผลจากการวิเคราะห์พบว่า มีตัวแปรอิสระของปัจจัยภายใน 4 ตัวแปร ที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี คือ ด้านมาตรฐานของนโยบาย ด้านทรัพยากรของนโยบาย ด้านการสื่อสารองค์กร และด้านความร่วมมือของผู้ปฏิบัติ โดยตัวแปรอิสระทั้ง 4 ตัวแปร สามารถร่วมกันทำนายการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 31.10 (Adjusted R Square = 0.311) ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี คือ ด้านเงื่อนไขทางการเมือง ด้านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคม และด้านเงื่อนไขทางเทคโนโลยีโดยตัวแปรอิสระทั้ง 3 ตัวแปรดังกล่าว สามารถร่วมกันทำนายการปฏิบัติยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 37.10 (Adjusted R Square = 0.371) นอกจากนี้นำตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรทำนายเข้าทั้งหมดเพื่อดูว่าตัวแปรใดที่สามารถร่วมทำนายตัวแปรตามได้ โดยใช้สถิติถดถอยเชิงพหุคูณแบบ Enter (Enter Multiple Regression Analysis) ซึ่งผลจากการวิเคราะห์พบว่า มีปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ในภาพรวมทั้ง 2 ตัวแปร คือ ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกหรือปัจจัยแฝงที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณี ซึ่งตัวแปรอิสระทั้ง 2 ตัวแปรนั้น สามารถร่วมกันทำนายด้านการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การเอาชนะปัญหาการค้าประเวณีได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 44.30 (Adjusted R Square = 0.443)Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28044 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607386 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-06 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607387 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-06 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available ตำราพิไชยสงครามฉบับรัชกาลที่ 1 / กรมศิลปากร / กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร - 2545
Title : ตำราพิไชยสงครามฉบับรัชกาลที่ 1 Material Type: printed text Authors: กรมศิลปากร, Author ; คณะกรรมการจัดทำหนังสือที่ระลึกและจดหมายเหตุพระราชพิธีสมมงคลพระชนมายุเท่า พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร Publication Date: 2545 Pagination: 38, 421 หน้า Layout: ภาพประกอบ, hbk. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 9744175249 Price: 1000 Baht Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การรบ
[LCSH]พิชัยสงคราม
[LCSH]ยุทธศาสตร์
[LCSH]สงครามCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=7207 ตำราพิไชยสงครามฉบับรัชกาลที่ 1 [printed text] / กรมศิลปากร, Author ; คณะกรรมการจัดทำหนังสือที่ระลึกและจดหมายเหตุพระราชพิธีสมมงคลพระชนมายุเท่า พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, Associated Name . - กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2545 . - 38, 421 หน้า : ภาพประกอบ, hbk. ; 30 ซม.
ISBN : 9744175249 : 1000 Baht
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การรบ
[LCSH]พิชัยสงคราม
[LCSH]ยุทธศาสตร์
[LCSH]สงครามCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=7207 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000119758 U161 ต217 2545 Reference Book Main Library References Shelf Available มองประวัติศาสตร์ชาติไทย / อำนาจ พุกศรีสุข / กรุงเทพฯ : สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม - 2555
Title : มองประวัติศาสตร์ชาติไทย : ผ่านศัตราวุธ Material Type: printed text Authors: อำนาจ พุกศรีสุข, Author ; กระทรวงกลาโหม สำนักงานปลัดกระทรวง, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: กรุงเทพฯ : สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม Publication Date: 2555 Pagination: 207 หน้า. Layout: ภาพประกอบสี Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-974-975252--4 Price: บริจาค. General note: จัดพิมพ์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา 12 สิงหาคม 2555. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พิชัยสงคราม
[LCSH]ยุทธศาสตร์
[LCSH]อาวุธ -- ประวัติ
[LCSH]ไทย -- ประวัติศาสตร์
[LCSH]ไทย -- อาวุธ -- ประวัติKeywords: อาวุธ.
พิชัยสงคราม.
ประวัติศาสตร์.Class number: DS 571 อ 925 Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22964 มองประวัติศาสตร์ชาติไทย : ผ่านศัตราวุธ [printed text] / อำนาจ พุกศรีสุข, Author ; กระทรวงกลาโหม สำนักงานปลัดกระทรวง, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - กรุงเทพฯ : สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม, 2555 . - 207 หน้า. : ภาพประกอบสี ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-975252--4 : บริจาค.
จัดพิมพ์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา 12 สิงหาคม 2555.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พิชัยสงคราม
[LCSH]ยุทธศาสตร์
[LCSH]อาวุธ -- ประวัติ
[LCSH]ไทย -- ประวัติศาสตร์
[LCSH]ไทย -- อาวุธ -- ประวัติKeywords: อาวุธ.
พิชัยสงคราม.
ประวัติศาสตร์.Class number: DS 571 อ 925 Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22964 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000469138 DS571 อ925 2555 Book Main Library General Shelf Available เอกสารสรุปการสัมมนาเผยแพร่ผลงานวิจัย เรื่อง ยุทธศาสตร์ของรัฐกับการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบมีส่วนร่วมในภาคเหนือ วันอังคารที่ 21 มีนาคม 2549 ณ ห้องรอยัลออคิดบอลรูม ชั้น 3 โรงแรมเชียงใหม่ออคิด จังหวัดเชียงใหม่ / การสัมมนาเผยแพร่ผลงานวิจัย เรื่อง ยุทธศาสตร์ของรัฐกับการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบมีส่วนร่วมในภาคเหนือ (2549 : เชียงใหม่) / เชียงใหม่ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ - 2549
Title : เอกสารสรุปการสัมมนาเผยแพร่ผลงานวิจัย เรื่อง ยุทธศาสตร์ของรัฐกับการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบมีส่วนร่วมในภาคเหนือ วันอังคารที่ 21 มีนาคม 2549 ณ ห้องรอยัลออคิดบอลรูม ชั้น 3 โรงแรมเชียงใหม่ออคิด จังหวัดเชียงใหม่ Other title : การสัมมนาเผยแพร่ผลงานวิจัย เรื่อง ยุทธศาสตร์ของรัฐกับการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบมีส่วนร่วมในภาคเหนือ Original title : ยุทธศาสตร์ของรัฐกับการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบมีส่วนร่วมในภาคเหนือ Material Type: printed text Authors: การสัมมนาเผยแพร่ผลงานวิจัย เรื่อง ยุทธศาสตร์ของรัฐกับการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบมีส่วนร่วมในภาคเหนือ (2549 : เชียงใหม่), Author ; สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. ส่วนต่อยอดงานวิจัยและพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ ภารกิจบริหารจัดการผลงานวิจัย, Publisher: เชียงใหม่ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ Publication Date: 2549 Pagination: ก-ซ, 192 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การแก้ปัญหา
[LCSH]ความยากจน
[LCSH]ความยากจน -- นโยบายของรัฐ
[LCSH]ความยากจน -- ไทย
[LCSH]ความยากจน -- ไทย(ภาคเหนือ)
[LCSH]ยุทธศาสตร์Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=18201 เอกสารสรุปการสัมมนาเผยแพร่ผลงานวิจัย เรื่อง ยุทธศาสตร์ของรัฐกับการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบมีส่วนร่วมในภาคเหนือ วันอังคารที่ 21 มีนาคม 2549 ณ ห้องรอยัลออคิดบอลรูม ชั้น 3 โรงแรมเชียงใหม่ออคิด จังหวัดเชียงใหม่ = ยุทธศาสตร์ของรัฐกับการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบมีส่วนร่วมในภาคเหนือ ; การสัมมนาเผยแพร่ผลงานวิจัย เรื่อง ยุทธศาสตร์ของรัฐกับการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบมีส่วนร่วมในภาคเหนือ [printed text] / การสัมมนาเผยแพร่ผลงานวิจัย เรื่อง ยุทธศาสตร์ของรัฐกับการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบมีส่วนร่วมในภาคเหนือ (2549 : เชียงใหม่), Author ; สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. ส่วนต่อยอดงานวิจัยและพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ ภารกิจบริหารจัดการผลงานวิจัย, . - เชียงใหม่ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2549 . - ก-ซ, 192 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การแก้ปัญหา
[LCSH]ความยากจน
[LCSH]ความยากจน -- นโยบายของรัฐ
[LCSH]ความยากจน -- ไทย
[LCSH]ความยากจน -- ไทย(ภาคเหนือ)
[LCSH]ยุทธศาสตร์Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=18201