From this page you can:
Home |
Search results
26 result(s) search for keyword(s) 'ภาวะอ้วน.การลดน้ำหนัก.นักศึกษาพยาบาล.ปัญหาอุปสรรค.แนวทางการแก้ไข.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข การลดน้ำหนักของนักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน / แสงเทียน ธรรมลิขิตกุล in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข การลดน้ำหนักของนักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน : คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Original title : Problems and barriers and the approaches to solve in losing weight of obese nursing students at Kualarun Faculty of Nursing in Nacamindradhiraj University Material Type: printed text Authors: แสงเทียน ธรรมลิขิตกุล, Author ; สิริรัก สินอุดมผล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.7-30 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.7-30Keywords: ภาวะอ้วน.การลดน้ำหนัก.นักศึกษาพยาบาล.ปัญหาอุปสรรค.แนวทางการแก้ไข. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน แบบเชิงอธิบาย มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจดัชนีมวลกายของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณ์ ม.นวมินทราธิราช ดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะแรกวิจัยเชิงปริมาณ นักศึกษาพยาบาลปี 1-4 จำนวน 804 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดประเมินน้ำหนัก - ส่วนสูง ระยะที่สองคือ ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ นักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน (ฺBMI > 25 Kg/M2 จำนวน 15 ราย ทำการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง และอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการวิจัย เก็บข้อมูลสัมภาษณ์เชิงลึก...
ผลการศึกษาพบว่า น.ศ. พยาบาลมีน้ำหนักผิดปกติร้อยละ 0.62 น้ำหนักปกติร้อยละ 92.29 น้ำหนักเกินร้อยละ 2.74 และมีภาวะอ้วนร้อยละ 4.35 และพบปัจจัยที่เป็นปัญหาอุปสรรคของนักศึกษาที่มีภาวะอ้วน 3 ประเด็น คือ 1)ปัจจัยนำ คืออุปนิสัยคนอ้วน (เสียดาย เกรงใจ ขี้เกียจ ทำตามใจตนเอง และชอบแก้ตัว) ทัศนคติดทางบวกต่ออาหาร ขาดการควบคุมตนเอง ขาดแรงจูงใจ และจัดการความเครียดไม่เหมาะสม 2)ปัจจัยกระตุ้น ประกอบด้วย ลักษณะเฉพาะของวิชาชีพพยาบาล นโนบายการบริหารเน้นวิชาการ 3)ปัจจัยเสริมประกอบด้วย ขาดระบบส่งเสริมสุขภาพ และรักสนับสนุนของครอบครัวทางลง
แนวทางการแก้ไขการลดน้ำหนัก 1. ปัจจัยเอื้อ ประกอบด้วย การได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากสถาบัน การได้รับการสนับสนุนจากเพื่อน และการได้รับการสนับสนุนจากครอบครัว การศึกษานี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคในการลดน้ำหนักเพิ่มขึ้น นำไปพัฒนาการจัดโปรแกรมการลดน้ำหนักได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทางให้วัยรุ่นที่มีภาวถอ้วน นำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง ให้มีสุขภาวะที่ดีต่อไปLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26729 [article] ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข การลดน้ำหนักของนักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน = Problems and barriers and the approaches to solve in losing weight of obese nursing students at Kualarun Faculty of Nursing in Nacamindradhiraj University : คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / แสงเทียน ธรรมลิขิตกุล, Author ; สิริรัก สินอุดมผล, Author . - 2017 . - p.7-30.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.7-30Keywords: ภาวะอ้วน.การลดน้ำหนัก.นักศึกษาพยาบาล.ปัญหาอุปสรรค.แนวทางการแก้ไข. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน แบบเชิงอธิบาย มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจดัชนีมวลกายของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณ์ ม.นวมินทราธิราช ดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะแรกวิจัยเชิงปริมาณ นักศึกษาพยาบาลปี 1-4 จำนวน 804 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดประเมินน้ำหนัก - ส่วนสูง ระยะที่สองคือ ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ นักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน (ฺBMI > 25 Kg/M2 จำนวน 15 ราย ทำการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง และอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการวิจัย เก็บข้อมูลสัมภาษณ์เชิงลึก...
ผลการศึกษาพบว่า น.ศ. พยาบาลมีน้ำหนักผิดปกติร้อยละ 0.62 น้ำหนักปกติร้อยละ 92.29 น้ำหนักเกินร้อยละ 2.74 และมีภาวะอ้วนร้อยละ 4.35 และพบปัจจัยที่เป็นปัญหาอุปสรรคของนักศึกษาที่มีภาวะอ้วน 3 ประเด็น คือ 1)ปัจจัยนำ คืออุปนิสัยคนอ้วน (เสียดาย เกรงใจ ขี้เกียจ ทำตามใจตนเอง และชอบแก้ตัว) ทัศนคติดทางบวกต่ออาหาร ขาดการควบคุมตนเอง ขาดแรงจูงใจ และจัดการความเครียดไม่เหมาะสม 2)ปัจจัยกระตุ้น ประกอบด้วย ลักษณะเฉพาะของวิชาชีพพยาบาล นโนบายการบริหารเน้นวิชาการ 3)ปัจจัยเสริมประกอบด้วย ขาดระบบส่งเสริมสุขภาพ และรักสนับสนุนของครอบครัวทางลง
แนวทางการแก้ไขการลดน้ำหนัก 1. ปัจจัยเอื้อ ประกอบด้วย การได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากสถาบัน การได้รับการสนับสนุนจากเพื่อน และการได้รับการสนับสนุนจากครอบครัว การศึกษานี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคในการลดน้ำหนักเพิ่มขึ้น นำไปพัฒนาการจัดโปรแกรมการลดน้ำหนักได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทางให้วัยรุ่นที่มีภาวถอ้วน นำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง ให้มีสุขภาวะที่ดีต่อไปLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26729 SIU IS-T. การพัฒนาสื่อเพื่อศึกษาด้วยการใช้ Holograms สำหรับนักศึกษาพยาบาล / สันติราชย์ เลิศมณี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนาสื่อเพื่อศึกษาด้วยการใช้ Holograms สำหรับนักศึกษาพยาบาล Original title : The Development of Holograms as Educational Media for Nursing Students Material Type: printed text Authors: สันติราชย์ เลิศมณี, Author ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: viii, 74 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-01
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สื่อการสอน
[LCSH]โฮโลแกรมKeywords: Holograms,
สื่อการสอน,
นักศึกษาพยาบาลAbstract: วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการสอนด้วยการใช้ Holograms มีกระบวนการสร้างดังนี้
1) ผู้วิจัยศึกษาวิธีการฉีดยาจากหนังสือเรียน และศึกษาโปรแกรม 3 มิติ เพื่อสร้างภาพ Holograms 2) ผู้วิจัยสร้างอุปกรณ์ Holograms จากวัสดุต่าง ๆ และนำมาทดลอง และบันทึกผล 3) ผู้วิจัยสร้างแบบสอบถามใช้เป็นการวิจัยเพื่อทดสอบความพึงพอใจจากการใช้ Holograms วิธีการฉีดยา โดยเก็บข้อมูลจากนักศึกษาพยาบาล 43 คน มาวิเคราะห์ผล
การใช้เครื่องมือทดสอบกับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ หลักสูตรพยาบาลบัณฑิต มหาวิทยาลัยวิทยาชินวัตร โดยการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายกับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 จำนวน 27 คน และชั้นปีที่ 3 จำนวน 16 คน รวมจำนวน 43 คน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้ค่าสถิติเชิงพรรณนา
ผลการประเมินความพึงพอใจสื่อการสอนจากกลุ่มเป้าหมายจำนวน 43 คน พบว่า ระดับความพึงพอใจด้านเนื้อหาสาระ ด้านคุณค่า และโดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด แต่ระดับความพึงพอใจด้านอุปกรณ์ อยู่ในระดับมาก
จากความคิดเห็นของนักศึกษาพยาบาล พบว่า จุดเด่นมีความแปลกใหม่ ทันสมัย และน่าสนใจ การนำเสนอภาพสามารถมองเห็นภาพร่างกายได้ชัดเจนและเรียนรู้วิธีการฉีดยาที่กล้ามเนื้อมีมุมองศาแตกต่างกัน มีการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อเกิดประโยชน์กับการเรียนการสอนสมัยใหม่ได้เป็นอย่างดี ใช้งานง่าย และสามารถนำไปใช้งานได้จริง และพบว่ามีข้อบกพร่อง ได้แก่ ภาพมีขนาดเล็กและไม่ชัดเจน ประกอบกับเสียงบรรยายไม่ชัดเจนและขาดความนุ่มนวลของเสียง มีรายละเอียดและคำบรรยายในการสอนของเนื้อหาน้อยเกินไป การแสดงเนื้อหามีระยะเวลาสั้น ตลอดจนอุปกรณ์มีขนาดเล็กทำให้ขาดความน่าสนใจCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27854 SIU IS-T. การพัฒนาสื่อเพื่อศึกษาด้วยการใช้ Holograms สำหรับนักศึกษาพยาบาล = The Development of Holograms as Educational Media for Nursing Students [printed text] / สันติราชย์ เลิศมณี, Author ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - viii, 74 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-01
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สื่อการสอน
[LCSH]โฮโลแกรมKeywords: Holograms,
สื่อการสอน,
นักศึกษาพยาบาลAbstract: วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการสอนด้วยการใช้ Holograms มีกระบวนการสร้างดังนี้
1) ผู้วิจัยศึกษาวิธีการฉีดยาจากหนังสือเรียน และศึกษาโปรแกรม 3 มิติ เพื่อสร้างภาพ Holograms 2) ผู้วิจัยสร้างอุปกรณ์ Holograms จากวัสดุต่าง ๆ และนำมาทดลอง และบันทึกผล 3) ผู้วิจัยสร้างแบบสอบถามใช้เป็นการวิจัยเพื่อทดสอบความพึงพอใจจากการใช้ Holograms วิธีการฉีดยา โดยเก็บข้อมูลจากนักศึกษาพยาบาล 43 คน มาวิเคราะห์ผล
การใช้เครื่องมือทดสอบกับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ หลักสูตรพยาบาลบัณฑิต มหาวิทยาลัยวิทยาชินวัตร โดยการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายกับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 จำนวน 27 คน และชั้นปีที่ 3 จำนวน 16 คน รวมจำนวน 43 คน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้ค่าสถิติเชิงพรรณนา
ผลการประเมินความพึงพอใจสื่อการสอนจากกลุ่มเป้าหมายจำนวน 43 คน พบว่า ระดับความพึงพอใจด้านเนื้อหาสาระ ด้านคุณค่า และโดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด แต่ระดับความพึงพอใจด้านอุปกรณ์ อยู่ในระดับมาก
จากความคิดเห็นของนักศึกษาพยาบาล พบว่า จุดเด่นมีความแปลกใหม่ ทันสมัย และน่าสนใจ การนำเสนอภาพสามารถมองเห็นภาพร่างกายได้ชัดเจนและเรียนรู้วิธีการฉีดยาที่กล้ามเนื้อมีมุมองศาแตกต่างกัน มีการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อเกิดประโยชน์กับการเรียนการสอนสมัยใหม่ได้เป็นอย่างดี ใช้งานง่าย และสามารถนำไปใช้งานได้จริง และพบว่ามีข้อบกพร่อง ได้แก่ ภาพมีขนาดเล็กและไม่ชัดเจน ประกอบกับเสียงบรรยายไม่ชัดเจนและขาดความนุ่มนวลของเสียง มีรายละเอียดและคำบรรยายในการสอนของเนื้อหาน้อยเกินไป การแสดงเนื้อหามีระยะเวลาสั้น ตลอดจนอุปกรณ์มีขนาดเล็กทำให้ขาดความน่าสนใจCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27854 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598316 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-01 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598431 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Human resource management Mathis,, Robert L. (1944-) การประเมินผลโดยใช้รูปแบบชิปป์ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษสำหรับวิชาพยาบาล (พบ.292) / พีรนุช ลาเซอร์ in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 ([12/27/2016])
[article]
Title : การประเมินผลโดยใช้รูปแบบชิปป์ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษสำหรับวิชาพยาบาล (พบ.292) : คณะพยาบาลศาสตร์ แมคคอร์มิค มหาวิทยาลัยพายัพ Original title : The evaluation of the English for nursing profession course (SN292) at McCormick faculty of nursing, Payap university using CIPP model Material Type: printed text Authors: พีรนุช ลาเซอร์, Author ; อรอนงค์ ธรรมจินดา, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.47-64 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.47-64Keywords: การประเมินการจัดการเรียนการสอน.รูปแบบซิปป์.นักศึกษาพยาบาล.ภาษาอังกฤษสำหรับพยาบาลวิชาชีพ. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25910 [article] การประเมินผลโดยใช้รูปแบบชิปป์ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษสำหรับวิชาพยาบาล (พบ.292) = The evaluation of the English for nursing profession course (SN292) at McCormick faculty of nursing, Payap university using CIPP model : คณะพยาบาลศาสตร์ แมคคอร์มิค มหาวิทยาลัยพายัพ [printed text] / พีรนุช ลาเซอร์, Author ; อรอนงค์ ธรรมจินดา, Author . - 2016 . - p.47-64.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การพัฒนาชุดฝึกฉีดยาทางกล้ามเนื้อเพื่อสอนนักศึกษาพยาบาลและการประเมินประสิทธิผล / ณัฎฐชา เจียรนิลกุลชัย in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 ([12/27/2016])
[article]
Title : การพัฒนาชุดฝึกฉีดยาทางกล้ามเนื้อเพื่อสอนนักศึกษาพยาบาลและการประเมินประสิทธิผล Original title : Development of the intramuscular injection model for nursing students and evaluation of the effectiveness of the model Material Type: printed text Authors: ณัฎฐชา เจียรนิลกุลชัย, Author ; จินดา นันทวงษ์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.65-77 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.65-77Keywords: การพัฒนาชุดฝึกฉีดยาทางกล้ามเนื้อ.นักศึกษาพยาบาล.การประเมินประสิทธิผล. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25911 [article] การพัฒนาชุดฝึกฉีดยาทางกล้ามเนื้อเพื่อสอนนักศึกษาพยาบาลและการประเมินประสิทธิผล = Development of the intramuscular injection model for nursing students and evaluation of the effectiveness of the model [printed text] / ณัฎฐชา เจียรนิลกุลชัย, Author ; จินดา นันทวงษ์, Author . - 2016 . - p.65-77.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาล / มนสภรณ์ วิทูรเมธา in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 ([11/16/2017])
[article]
Title : การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาล : ของนักศึกษาพยาบาล Material Type: printed text Authors: มนสภรณ์ วิทูรเมธา, Author ; มาลี เอี่ยมสำอาง, Author ; ลัดดาวัลย์ เตชางกูร, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.100-113 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.100-113Keywords: ความสามารถในการเรียนรู้.กระบวนการพยาบาล.นักศึกษาพยาบาล. Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 จำนวน 84 คน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ที่เรียนวิชาปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐาน ปีการศึกษา 2557 และอาจารย์พยาบาล 11 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย1) แบบประเมินการวางแผนการพยาบาล 2) แบบประเมินความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาล 3)แบบสะท้อนคิดของนักศึกษาพยาบาลในการนำกระบวนการพยาบาลไปใช้ และ 4)แนวคำถามการสนทนากลุ่มนักศึกษาพยาบาล เก็บข้อมูลโดยการสนทนากลุ่มในนักศึกษาพยาบาล และอาจารย์ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลในวิชาปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐานอยู่ในระดับดี (mean = 4.11, S.D. = .291) ปัญหาการใช้กระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลพบมากที่สุดคือ ขาดทักษะในการประเมินภาวะสุขภาพ ส่วนกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาล คือ 1)การตั้งเป้าหมายในการเรียนของนักศึกษา 2) ฝึกการวางแผนการพยาบาลนำไปใช้ปฏิบัติกับผู้ป่วย 3) มีอาจารย์ให้คำแนะนำ 4) มีการประชุมปรึกษาก่อนและหลังการปฏิบัติงาน 5) มีการเรียนรู้กระบวนการพยาบาลแบบองค์รวม 6) พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ 7) มีทัศนคติที่ดีต่อตนเอง และต่อบุคลากรทางสุขภาพอื่นๆ ส่วนแนวทางการส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลมี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) เตรียมความรู้ ฝึกทักษะการใช้กระบวนการพยาบาลในนักศึกษา 2) อาจารย์ควรปรับวิธีการสอน การมอบหมายงาน ประเมินผลการใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงาน 3) สถาบันหรือคณะพยาบาลควรมีการจัดการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการใช้กระบวนการพยาบาลโดยเพิ่มชั่วโมงการฝึกการเขียนวางแผนการพยาบาล
ผลการวิจัยครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางการเรียนรู้ในการพัฒนาศักยภาพการใช้กะบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลในวิชาการพยาบาลสาขาอื่นๆ ในสถาบันการศึกษาพยาบาลLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27492 [article] การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาล : ของนักศึกษาพยาบาล [printed text] / มนสภรณ์ วิทูรเมธา, Author ; มาลี เอี่ยมสำอาง, Author ; ลัดดาวัลย์ เตชางกูร, Author . - 2017 . - p.100-113.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.100-113Keywords: ความสามารถในการเรียนรู้.กระบวนการพยาบาล.นักศึกษาพยาบาล. Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 จำนวน 84 คน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ที่เรียนวิชาปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐาน ปีการศึกษา 2557 และอาจารย์พยาบาล 11 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย1) แบบประเมินการวางแผนการพยาบาล 2) แบบประเมินความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาล 3)แบบสะท้อนคิดของนักศึกษาพยาบาลในการนำกระบวนการพยาบาลไปใช้ และ 4)แนวคำถามการสนทนากลุ่มนักศึกษาพยาบาล เก็บข้อมูลโดยการสนทนากลุ่มในนักศึกษาพยาบาล และอาจารย์ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลในวิชาปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐานอยู่ในระดับดี (mean = 4.11, S.D. = .291) ปัญหาการใช้กระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลพบมากที่สุดคือ ขาดทักษะในการประเมินภาวะสุขภาพ ส่วนกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาล คือ 1)การตั้งเป้าหมายในการเรียนของนักศึกษา 2) ฝึกการวางแผนการพยาบาลนำไปใช้ปฏิบัติกับผู้ป่วย 3) มีอาจารย์ให้คำแนะนำ 4) มีการประชุมปรึกษาก่อนและหลังการปฏิบัติงาน 5) มีการเรียนรู้กระบวนการพยาบาลแบบองค์รวม 6) พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ 7) มีทัศนคติที่ดีต่อตนเอง และต่อบุคลากรทางสุขภาพอื่นๆ ส่วนแนวทางการส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลมี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) เตรียมความรู้ ฝึกทักษะการใช้กระบวนการพยาบาลในนักศึกษา 2) อาจารย์ควรปรับวิธีการสอน การมอบหมายงาน ประเมินผลการใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงาน 3) สถาบันหรือคณะพยาบาลควรมีการจัดการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการใช้กระบวนการพยาบาลโดยเพิ่มชั่วโมงการฝึกการเขียนวางแผนการพยาบาล
ผลการวิจัยครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางการเรียนรู้ในการพัฒนาศักยภาพการใช้กะบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลในวิชาการพยาบาลสาขาอื่นๆ ในสถาบันการศึกษาพยาบาลLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27492 การพัฒนาแบบวัดความรับผิดชอบของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ / ปริญญาภรณ์ ธนะบุญปวง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การพัฒนาแบบวัดความรับผิดชอบของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ Original title : Development Responsibility Scale for Nursing Student (RSN) Material Type: printed text Authors: ปริญญาภรณ์ ธนะบุญปวง, Author ; ศิริเดช สุชีวะ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.212-219 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.212-219Keywords: แบบวัดความรับผิดชอบ.นักศึกษาพยาบาลศาสตร์. Abstract: ความรับผิดชอบเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสำคัญในสาขาพยาบาลศาสตร์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติของประเทศไทยและอีกหลายๆ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์3 ประการ ได้แก่ 1) พัฒนาโมเดลการวัดและแบบวัดความ รับผิดชอบ 2)ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือและ3)กำหนดคะแนนจุดตัดตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่4 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 1,106คน จาก 18 สถาบัน เครื่องมือเป็นแบบวัดความรับผิดชอบบนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียวิธีวิจัยแบ่งเป็น 3ระยะ ได้แก่1)การพัฒนาโมเดลการวัดและแบบวัดความรับผิดชอบ 2)การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือด้วยการวิเคราะห์คุณภาพรายข้อ ความเที่ยงความตรงเชิงโครงสร้างและ3)การกำหนดคะแนนจุดตัดผลการวิจัย พบว่าโมเดลการวัดประกอบด้วย3องค์ประกอบ ได้แก่1)ความรับผิดชอบต่อตนเอง/หน้าที่2)ความรับผิดชอบ ต่อผู้อื่น 3)ความรับผิดชอบต่อสังคม/วิชาชีพ ความเที่ยงแบบความ สอดคล้องภายในโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ .880 การตรวจสอบคุณภาพตามทฤษฎีการทดสอบแบบ ดั้งเดิม (CTT) พบว่า อำนาจจำแนก (r) มีค่าระหว่าง .375 -.546 ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ (IRT) พบว่า พารามิเตอร์อำนาจ จำแนก (a) มีค่าระหว่าง 0 .93-1.69 ความยาก (b) มีค่าระหว่าง-0.92 ถึง-0.25 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยืน พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์คะแนนจุดตัดที่กำหนดด้วยวิธีบุ๊คมาร์คมีค่าเท่ากับระดับความสามารถ (theta)–0.40 ผลการวิจัยสรุปได้ว่า เครื่องมือที่พัฒนาขึ้นมีความเที่ยงและความตรงสามารถประยุกต์ใช้ในการวัดประเมินผลความรับผิดชอบของ นักศึกษาพยาบาลได้ Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27245 [article] การพัฒนาแบบวัดความรับผิดชอบของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ = Development Responsibility Scale for Nursing Student (RSN) [printed text] / ปริญญาภรณ์ ธนะบุญปวง, Author ; ศิริเดช สุชีวะ, Author . - 2017 . - p.212-219.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.212-219Keywords: แบบวัดความรับผิดชอบ.นักศึกษาพยาบาลศาสตร์. Abstract: ความรับผิดชอบเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสำคัญในสาขาพยาบาลศาสตร์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติของประเทศไทยและอีกหลายๆ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์3 ประการ ได้แก่ 1) พัฒนาโมเดลการวัดและแบบวัดความ รับผิดชอบ 2)ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือและ3)กำหนดคะแนนจุดตัดตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่4 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 1,106คน จาก 18 สถาบัน เครื่องมือเป็นแบบวัดความรับผิดชอบบนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียวิธีวิจัยแบ่งเป็น 3ระยะ ได้แก่1)การพัฒนาโมเดลการวัดและแบบวัดความรับผิดชอบ 2)การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือด้วยการวิเคราะห์คุณภาพรายข้อ ความเที่ยงความตรงเชิงโครงสร้างและ3)การกำหนดคะแนนจุดตัดผลการวิจัย พบว่าโมเดลการวัดประกอบด้วย3องค์ประกอบ ได้แก่1)ความรับผิดชอบต่อตนเอง/หน้าที่2)ความรับผิดชอบ ต่อผู้อื่น 3)ความรับผิดชอบต่อสังคม/วิชาชีพ ความเที่ยงแบบความ สอดคล้องภายในโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ .880 การตรวจสอบคุณภาพตามทฤษฎีการทดสอบแบบ ดั้งเดิม (CTT) พบว่า อำนาจจำแนก (r) มีค่าระหว่าง .375 -.546 ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ (IRT) พบว่า พารามิเตอร์อำนาจ จำแนก (a) มีค่าระหว่าง 0 .93-1.69 ความยาก (b) มีค่าระหว่าง-0.92 ถึง-0.25 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยืน พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์คะแนนจุดตัดที่กำหนดด้วยวิธีบุ๊คมาร์คมีค่าเท่ากับระดับความสามารถ (theta)–0.40 ผลการวิจัยสรุปได้ว่า เครื่องมือที่พัฒนาขึ้นมีความเที่ยงและความตรงสามารถประยุกต์ใช้ในการวัดประเมินผลความรับผิดชอบของ นักศึกษาพยาบาลได้ Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27245 การพัฒนาแผลหนองเทียมเพื่อส่งเสริมการฝึกทักษะการเก็บสิ่งคัดหลั่งจากแผลเพาะเชื้อ ในนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 / ณัฎฐชา เจียรนิลกุลชัย in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 ([03/29/2016])
[article]
Title : การพัฒนาแผลหนองเทียมเพื่อส่งเสริมการฝึกทักษะการเก็บสิ่งคัดหลั่งจากแผลเพาะเชื้อ ในนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 Original title : Development of an artificial pus wound medel to improve seconde year nursing student's skill in performing wound swah culture Material Type: printed text Authors: ณัฎฐชา เจียรนิลกุลชัย, Author ; จินดา นันทวงษ์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.32-43 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.32-43Keywords: การพัฒนาแผลหนองเทียม.การส่งเสริมการฝึกทักษะ.การเก็บสิ่งคัดหลั่งจากแผลเพาะเชื้อ.นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25647 [article] การพัฒนาแผลหนองเทียมเพื่อส่งเสริมการฝึกทักษะการเก็บสิ่งคัดหลั่งจากแผลเพาะเชื้อ ในนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 = Development of an artificial pus wound medel to improve seconde year nursing student's skill in performing wound swah culture [printed text] / ณัฎฐชา เจียรนิลกุลชัย, Author ; จินดา นันทวงษ์, Author . - 2016 . - p.32-43.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.32-43Keywords: การพัฒนาแผลหนองเทียม.การส่งเสริมการฝึกทักษะ.การเก็บสิ่งคัดหลั่งจากแผลเพาะเชื้อ.นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25647 กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาลเพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจ ของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฏิบัติ ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สถาบันพระบรมราชชน / ชุลีพร ปิยสุทธิ์, / กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2539
Title : กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาลเพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจ ของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฏิบัติ ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สถาบันพระบรมราชชน Original title : Teaching activities of nursing instructors to empower nursing students in clinical practice as perceived by nursing students in Nursing Colleges, Praboromarajchanok Institute Material Type: printed text Authors: ชุลีพร ปิยสุทธิ์, (2508-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2539 Pagination: ก-ฏ, 136 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-636-394-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การพยาบาลศึกษา)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การรับรู้
[LCSH]การเสริมสร้างพลังอำนาจ
[LCSH]กิจกรรมการเรียน
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พยาบาล -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พยาบาล -- กิจกรรมการสอน
[LCSH]อาจารย์พยาบาลKeywords: การรับรู้.
อาจารย์พยาบาล.
นักศึกษาพยาบาล.
กิจการการสอน.
กิจกรรมการเรียน.Class number: WY18 ช247 2539 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฎิบัติ ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สถาบันพระบรมราชชนกและเปรียบเทียบการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์ เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาจำแนกตามระดับชั้นปีคะแนนเฉลี่ยสะสม และแบบการเรียนของนักศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 และ 4 จำนวน 618 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบบสอบถามเกี่ยวกับ แบบการเรียนของนักศึกษา และกิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษา ในการฝึกปฏิบัติที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงและความเที่ยงแล้ว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาในการฝึกภาคปฏิบัิติ ด้านการเสริมสร้างความมีอิสระแห่งวิชาชีพอยู่ในระดับสูง ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง
2. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมนร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 สูงกว่าของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิิติที่ระดับ .05
3. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของพยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่แตกต่างกัน
4. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลที่มีแบบการเรียนแตกต่างกัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 โดยที่นักศึกษาที่มีแบบการเรียนแบบอิสระ และแบบมีส่วนร่วม จะรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์ เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาได้สูงกว่านักศึกษาที่มีแบบการเรียนแบบหลีกเลี่ยง และพึ่งพา นักศึกษาที่มีแบบการเรียนแบบร่วมมือ จะรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาได้สูงกว่าที่มีแบบการเรียนแบบหลีกเลี่ยงRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23308 กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาลเพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจ ของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฏิบัติ ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สถาบันพระบรมราชชน = Teaching activities of nursing instructors to empower nursing students in clinical practice as perceived by nursing students in Nursing Colleges, Praboromarajchanok Institute [printed text] / ชุลีพร ปิยสุทธิ์, (2508-), Author . - กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 . - ก-ฏ, 136 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-636-394-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การพยาบาลศึกษา)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การรับรู้
[LCSH]การเสริมสร้างพลังอำนาจ
[LCSH]กิจกรรมการเรียน
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พยาบาล -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พยาบาล -- กิจกรรมการสอน
[LCSH]อาจารย์พยาบาลKeywords: การรับรู้.
อาจารย์พยาบาล.
นักศึกษาพยาบาล.
กิจการการสอน.
กิจกรรมการเรียน.Class number: WY18 ช247 2539 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฎิบัติ ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สถาบันพระบรมราชชนกและเปรียบเทียบการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์ เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาจำแนกตามระดับชั้นปีคะแนนเฉลี่ยสะสม และแบบการเรียนของนักศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 และ 4 จำนวน 618 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบบสอบถามเกี่ยวกับ แบบการเรียนของนักศึกษา และกิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษา ในการฝึกปฏิบัติที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงและความเที่ยงแล้ว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาในการฝึกภาคปฏิบัิติ ด้านการเสริมสร้างความมีอิสระแห่งวิชาชีพอยู่ในระดับสูง ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง
2. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมนร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 สูงกว่าของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิิติที่ระดับ .05
3. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของพยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่แตกต่างกัน
4. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลที่มีแบบการเรียนแตกต่างกัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 โดยที่นักศึกษาที่มีแบบการเรียนแบบอิสระ และแบบมีส่วนร่วม จะรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์ เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาได้สูงกว่านักศึกษาที่มีแบบการเรียนแบบหลีกเลี่ยง และพึ่งพา นักศึกษาที่มีแบบการเรียนแบบร่วมมือ จะรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาได้สูงกว่าที่มีแบบการเรียนแบบหลีกเลี่ยงRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23308 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000384675 THE WY18 ช247 2539 Book Main Library General Shelf Available ความสัมพันธ์ระหว่างการตั้งเป้าหมายการเรียน การเรียนอย่างมีความสุข / ภัทรียา มาลาทอง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างการตั้งเป้าหมายการเรียน การเรียนอย่างมีความสุข : กับทัศนคติต่อวิชาชีพพยาบาลของนัีกศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : Relationships between learning goal happiness in learning and attitude toward nursing professional of nurse students in nursing colleges under the jurisdiction of Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: ภัทรียา มาลาทอง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ฎ, 105 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-172-874-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การเรียนรู้ -- นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การดูแล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: นักศึกษาพยาบาล.
วิทยาลัยพยาบาลClass number: WY100 ภ614 2545 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23122 ความสัมพันธ์ระหว่างการตั้งเป้าหมายการเรียน การเรียนอย่างมีความสุข = Relationships between learning goal happiness in learning and attitude toward nursing professional of nurse students in nursing colleges under the jurisdiction of Ministry of Public Health : กับทัศนคติต่อวิชาชีพพยาบาลของนัีกศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข [printed text] / ภัทรียา มาลาทอง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ฎ, 105 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-172-874-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การเรียนรู้ -- นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การดูแล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: นักศึกษาพยาบาล.
วิทยาลัยพยาบาลClass number: WY100 ภ614 2545 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23122 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354504 WY100 ภ614 2545 Thesis Main Library Thaksin Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านนักศึกษาคุณลักษณะครูพี่เลี้ยงสภาพแวดล้อมทางคลินิกกับการเรียนภาคปฎิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข / นิตยา ยงภูมิพุทธา, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2543
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านนักศึกษาคุณลักษณะครูพี่เลี้ยงสภาพแวดล้อมทางคลินิกกับการเรียนภาคปฎิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : Relationships between student factors, preceptorship characteristic, clinical environment and happiness in clinical learning of nursing student, nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: นิตยา ยงภูมิพุทธา, (2516-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2543 Pagination: ก-ญ, 104 แผ่น Layout: แผนภูมิ, ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-130-938-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2543 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]การเรียนรู้ -- นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- จิตวิทยาKeywords: นักศึกษาพยาบาล.
การฝึกปฎิบัิติ.Class number: WY87 น534 2543 Abstract: ry ศึกษาการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาล และหาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยด้านนักศึกษา คุณลักษณะครูพี่เลี้ยง สภาพแวดล้อมทางคลินิก กับการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2, 3, 4 วิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 385 คน ได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดทัศนคติต่อวิชาชีพการพยาบาล แบบสอบถามคุณลักษณะครูพี่เลี้ยง แบบสอบถามสภาพแวดล้อมทางคลินิก และแบบวัดการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของ นักศึกษาพยาบาล ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและมีค่าความเที่ยง เท่ากับ .86, .93, .89 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย ความเบ้ ความโด่ง ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ แบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. นักศึกษาพยาบาลส่วนใหญ่มีคะแนนการเรียนภาคปฎิบัติอย่างมีความสุขค่อนไปทางข้างน้อยกว่าค่าเฉลี่ย 2. ปัจจัยด้านนักศึกษาได้แก่ จำนวนปีที่ศึกษา ทัศนคติต่อวิชาชีพการพยาบาล ปัจจัยคุณลักษณะครูพี่เลี้ยง ปัจจัยสภาพแวดล้อมทางคลินิก มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 กับการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาล (r = .123, .474, .486 และ .598 ตามลำดับ) ส่วนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่มีความสัมพันธ์กับการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาล 3. ปัจจัยที่สามารถร่วมกันพยากรณ์การเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือสภาพแวดล้อมทางคลินิก ทัศนคติต่อวิชาชีพการพยาบาล และคุณลักษณะครูพี่เลี้ยง โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 44.1 (R2 = .441) ได้สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานดังนี้ Zy = .408*Z ENV + .221*Z ATTI + .191*Z PRE Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23204 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านนักศึกษาคุณลักษณะครูพี่เลี้ยงสภาพแวดล้อมทางคลินิกกับการเรียนภาคปฎิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข = Relationships between student factors, preceptorship characteristic, clinical environment and happiness in clinical learning of nursing student, nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health [printed text] / นิตยา ยงภูมิพุทธา, (2516-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 . - ก-ญ, 104 แผ่น : แผนภูมิ, ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-130-938-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2543
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]การเรียนรู้ -- นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- จิตวิทยาKeywords: นักศึกษาพยาบาล.
การฝึกปฎิบัิติ.Class number: WY87 น534 2543 Abstract: ry ศึกษาการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาล และหาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยด้านนักศึกษา คุณลักษณะครูพี่เลี้ยง สภาพแวดล้อมทางคลินิก กับการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2, 3, 4 วิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 385 คน ได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดทัศนคติต่อวิชาชีพการพยาบาล แบบสอบถามคุณลักษณะครูพี่เลี้ยง แบบสอบถามสภาพแวดล้อมทางคลินิก และแบบวัดการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของ นักศึกษาพยาบาล ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและมีค่าความเที่ยง เท่ากับ .86, .93, .89 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย ความเบ้ ความโด่ง ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ แบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. นักศึกษาพยาบาลส่วนใหญ่มีคะแนนการเรียนภาคปฎิบัติอย่างมีความสุขค่อนไปทางข้างน้อยกว่าค่าเฉลี่ย 2. ปัจจัยด้านนักศึกษาได้แก่ จำนวนปีที่ศึกษา ทัศนคติต่อวิชาชีพการพยาบาล ปัจจัยคุณลักษณะครูพี่เลี้ยง ปัจจัยสภาพแวดล้อมทางคลินิก มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 กับการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาล (r = .123, .474, .486 และ .598 ตามลำดับ) ส่วนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่มีความสัมพันธ์กับการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาล 3. ปัจจัยที่สามารถร่วมกันพยากรณ์การเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือสภาพแวดล้อมทางคลินิก ทัศนคติต่อวิชาชีพการพยาบาล และคุณลักษณะครูพี่เลี้ยง โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 44.1 (R2 = .441) ได้สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานดังนี้ Zy = .408*Z ENV + .221*Z ATTI + .191*Z PRE Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23204 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355535 WY87 น534 2543 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ / กมลรัตน์ ทองสว่าง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ : กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ Original title : The relationships between the personal factors stress emotional intelligence and academic achievement of the students at faculty of nursing Chiyaphum Rajabhat University Material Type: printed text Authors: กมลรัตน์ ทองสว่าง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.91-110 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.91-110Keywords: ความเครียด.ความฉลาดทางอารมณ์.ปัจจัยส่วนบุคคล.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา.นักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ 1 ศึกษาระดับความเครัยดและความฉลาดทางอารมณ์ 2ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ระดับความเครียด ความฉลาดทางอารมร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3 สร้างสมการในการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
กลุ่มตัวอย่าง คือ น.ศ.ชั้นปีที่ 1 และ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปี 2556 จำนวน 159 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ และแบบวัดความเครียด สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติพื้นฐาน สัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ และคัดเลือกตัวแปรเข้าสมการแบบหลายขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษามีคะแนนระดับความเครียดอยู่ในระดับสูง มีคะแนนความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ปกติชั้นปีที่ศึกษา จำนวนพี่น้อง ความเห็นใจผู้อื่น การรับผิดชอบ และความฉลาดทางอารมณ์มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความฉลาดทางอารมณ์ส่วนองค์ประกอบด้านดีในด้านการรู้จักเห็นใจผู้อื่น (X1)ชั้นปีที่ศึกษา (X2) และจำนวนพี่น้อง (X3) สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ และได้สมการคือ Y=0.97+0.06X1-0.217X2+0.132X
ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการให้คำปรึกษาสำหรับนักศึกษาที่มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพจิตของคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อส่งผลต่อสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของนักศึกษาLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27217 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ = The relationships between the personal factors stress emotional intelligence and academic achievement of the students at faculty of nursing Chiyaphum Rajabhat University : กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ [printed text] / กมลรัตน์ ทองสว่าง, Author . - 2017 . - p.91-110.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.91-110Keywords: ความเครียด.ความฉลาดทางอารมณ์.ปัจจัยส่วนบุคคล.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา.นักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ 1 ศึกษาระดับความเครัยดและความฉลาดทางอารมณ์ 2ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ระดับความเครียด ความฉลาดทางอารมร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3 สร้างสมการในการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
กลุ่มตัวอย่าง คือ น.ศ.ชั้นปีที่ 1 และ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปี 2556 จำนวน 159 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ และแบบวัดความเครียด สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติพื้นฐาน สัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ และคัดเลือกตัวแปรเข้าสมการแบบหลายขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษามีคะแนนระดับความเครียดอยู่ในระดับสูง มีคะแนนความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ปกติชั้นปีที่ศึกษา จำนวนพี่น้อง ความเห็นใจผู้อื่น การรับผิดชอบ และความฉลาดทางอารมณ์มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความฉลาดทางอารมณ์ส่วนองค์ประกอบด้านดีในด้านการรู้จักเห็นใจผู้อื่น (X1)ชั้นปีที่ศึกษา (X2) และจำนวนพี่น้อง (X3) สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ และได้สมการคือ Y=0.97+0.06X1-0.217X2+0.132X
ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการให้คำปรึกษาสำหรับนักศึกษาที่มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพจิตของคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อส่งผลต่อสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของนักศึกษาLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27217 ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษากับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข / ธิดารัตน์ คำบุญ, 2521- / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษากับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : Relationships between attitude toward nursing profession, perceived student affairs management, and characteristics of effective nursing students, nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: ธิดารัตน์ คำบุญ, 2521-, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ญ, 114 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-179-770-2 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]]-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติKeywords: ทัศนคติ
วิชาชีพพยาบาล.
นักศึกษาพยาบาล.
วิทยาลัยพยาบาล.Class number: WY100 ธ434 2545 Abstract: การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา ความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล และหาความสัมพันธ์ระหว่าง เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา กับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลที่กำลังศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ชั้นปีที่ 1, 2, 3 และ 4 จำนวน 385 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล แบบสอบถามการรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา และแบบวัดความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาความเที่ยงของแบบสอบถามโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคมีค่าความเที่ยง เท่ากับ .82, .88 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาคะแนนเต็ม คะแนนสูงสุด คะแนนต่ำสุด ค่าเฉลี่ย ร้อยละของค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความเบ้ ความโด่งและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านลักษณะวิชาชีพ และร้อยละของค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านความสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน ผู้ป่วยและญาติ 2. การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษาของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ งานการจัดปฐมนิเทศนักศึกษา งานบริการแนะแนว และงานบริการอนามัย 3. ความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ร่วมแรงร่วมใจ เข้าใจผู้อื่น และเตรียมพร้อมตลอดเวลา 4. เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล และการรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา มีความสัมพันธ์ทางบวก กับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = .475 และ .391 ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23188 ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษากับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข = Relationships between attitude toward nursing profession, perceived student affairs management, and characteristics of effective nursing students, nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health [printed text] / ธิดารัตน์ คำบุญ, 2521-, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ญ, 114 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-179-770-2 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]]-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติKeywords: ทัศนคติ
วิชาชีพพยาบาล.
นักศึกษาพยาบาล.
วิทยาลัยพยาบาล.Class number: WY100 ธ434 2545 Abstract: การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา ความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล และหาความสัมพันธ์ระหว่าง เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา กับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลที่กำลังศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ชั้นปีที่ 1, 2, 3 และ 4 จำนวน 385 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล แบบสอบถามการรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา และแบบวัดความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาความเที่ยงของแบบสอบถามโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคมีค่าความเที่ยง เท่ากับ .82, .88 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาคะแนนเต็ม คะแนนสูงสุด คะแนนต่ำสุด ค่าเฉลี่ย ร้อยละของค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความเบ้ ความโด่งและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านลักษณะวิชาชีพ และร้อยละของค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านความสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน ผู้ป่วยและญาติ 2. การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษาของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ งานการจัดปฐมนิเทศนักศึกษา งานบริการแนะแนว และงานบริการอนามัย 3. ความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ร่วมแรงร่วมใจ เข้าใจผู้อื่น และเตรียมพร้อมตลอดเวลา 4. เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล และการรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา มีความสัมพันธ์ทางบวก กับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = .475 และ .391 ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23188 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383784 WY100 ธ434 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available ประสิทธิผลของการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยุสุดท้าย / กุลพิชณาย์ เวชรัชต์พิมล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ประสิทธิผลของการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยุสุดท้าย : สำหรับนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ Original title : Effectiveness of a development of the end of life care training program for nursing students of Saint Louis College Material Type: printed text Authors: กุลพิชณาย์ เวชรัชต์พิมล, Author ; สุดารัตน์ สุวารี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.82-90 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.82-90Keywords: การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย.การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม.นักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซนต์หลุยส์.End of life care. Nursing students.Saint Louis College. Abstract: เป็นการวิจับกึ่งทดลอง วัตถุประสงค์เพื่อ 1.พัฒนาหลักสูตรอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับนักศึกษาพยาบาลเซ่นต์หลุยส์ 2.ประเมินประสิทธิผลของหลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับนักศึกษาพยาบาลเซนต์หลุยส์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2556 คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วย หลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซ่นต์หลุยส์ประกอบด้วย 4 หน่วย ได้แก่ 1)การดูแลชีวิตและการตาย 2) การดูแลเมื่อความตายมาถึง 3)การดูแลหลังการสูญเสีย และ 4)การดูแลด้านจริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วยแบบวัดความรู้ แบบวัดทักษะ และแบบวัดเจตคติต่อการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดย Paired samples t-test และ T-test one sample group เปรียบเทียบกับเกณฑ์ ผลการ
วิจัย พบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยวัดความรู้การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลหลังการทดลองมีค่าสูงกว่าก่อนการทดลองและไม่แตกต่างจากเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001 และค่าคะแนนเฉลี่ยทักษะการร่วมกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลอยู่ในระดับดีและสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001 และค่าเฉลี่ยเจตคติต่อการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลโดยรวมหลังการฝึกอบรมอยู่ในระดับมากและสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001
ข้อเสนอแนะผู้บริหารหลักสูตรควรปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาด้านพยาบาลศาสตร์ ควรปรับเพิ่มรายวิชา หรือหัวข้อด้านการดูแลผู้ป่วยระยุสุดท้าย และสนับสนุนให้มีการนำหลักการแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27216 [article] ประสิทธิผลของการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยุสุดท้าย = Effectiveness of a development of the end of life care training program for nursing students of Saint Louis College : สำหรับนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ [printed text] / กุลพิชณาย์ เวชรัชต์พิมล, Author ; สุดารัตน์ สุวารี, Author . - 2017 . - p.82-90.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.82-90Keywords: การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย.การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม.นักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซนต์หลุยส์.End of life care. Nursing students.Saint Louis College. Abstract: เป็นการวิจับกึ่งทดลอง วัตถุประสงค์เพื่อ 1.พัฒนาหลักสูตรอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับนักศึกษาพยาบาลเซ่นต์หลุยส์ 2.ประเมินประสิทธิผลของหลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับนักศึกษาพยาบาลเซนต์หลุยส์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2556 คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วย หลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซ่นต์หลุยส์ประกอบด้วย 4 หน่วย ได้แก่ 1)การดูแลชีวิตและการตาย 2) การดูแลเมื่อความตายมาถึง 3)การดูแลหลังการสูญเสีย และ 4)การดูแลด้านจริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วยแบบวัดความรู้ แบบวัดทักษะ และแบบวัดเจตคติต่อการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดย Paired samples t-test และ T-test one sample group เปรียบเทียบกับเกณฑ์ ผลการ
วิจัย พบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยวัดความรู้การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลหลังการทดลองมีค่าสูงกว่าก่อนการทดลองและไม่แตกต่างจากเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001 และค่าคะแนนเฉลี่ยทักษะการร่วมกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลอยู่ในระดับดีและสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001 และค่าเฉลี่ยเจตคติต่อการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลโดยรวมหลังการฝึกอบรมอยู่ในระดับมากและสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001
ข้อเสนอแนะผู้บริหารหลักสูตรควรปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาด้านพยาบาลศาสตร์ ควรปรับเพิ่มรายวิชา หรือหัวข้อด้านการดูแลผู้ป่วยระยุสุดท้าย และสนับสนุนให้มีการนำหลักการแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27216 ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันภาวะกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล / ธัชมน สินสูงสุด in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันภาวะกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล Original title : Factors predicting preventive behavior for the osteroporosis in university students Material Type: printed text Authors: ธัชมน สินสูงสุด, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.244-257 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.244-257Keywords: โรคกระดูกพรุน.ึความเชื่อมั่นในตนเอง.พฤติกรรมการป้องกันโรค.นักศึกษาพยาบาล. Abstract: การศึกษาเชิงทำนาpบครั้งนี้ เพื่อ 1.สำรวจความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อโลกกระดูกพรุน และพฤติกรรมการป้องกะรโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล 2.ศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล ประชากร คือ นักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง จำนวน 746 ราย เก็บข้อมูลโดยการตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง พบว่า นักศึกษาพยาบาล ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 98.30) อายุเฉลี่ย 19.86 1.26 ปี มีความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนและระดับการศึกษาร่วมกันทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาลได้อย่างมีนัยสำคัญ โดยสามารถทำนายความแปรปรวนของพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุรได้ร้อยละ35.20 ผลการศึกษานี้เป็นแนวทางในการ จัดโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุน โดยเพิ่มความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึกษาพยาบาลในด้านการออกกำลังกายและการรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และธำรงไว้ซึ่งพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันโรคกกระดูกพรุน รวมทั้งเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านสุขภาพ Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24992 [article] ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันภาวะกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล = Factors predicting preventive behavior for the osteroporosis in university students [printed text] / ธัชมน สินสูงสุด, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author . - 2015 . - pp.244-257.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.244-257Keywords: โรคกระดูกพรุน.ึความเชื่อมั่นในตนเอง.พฤติกรรมการป้องกันโรค.นักศึกษาพยาบาล. Abstract: การศึกษาเชิงทำนาpบครั้งนี้ เพื่อ 1.สำรวจความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อโลกกระดูกพรุน และพฤติกรรมการป้องกะรโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล 2.ศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล ประชากร คือ นักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง จำนวน 746 ราย เก็บข้อมูลโดยการตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง พบว่า นักศึกษาพยาบาล ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 98.30) อายุเฉลี่ย 19.86 1.26 ปี มีความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนและระดับการศึกษาร่วมกันทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาลได้อย่างมีนัยสำคัญ โดยสามารถทำนายความแปรปรวนของพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุรได้ร้อยละ35.20 ผลการศึกษานี้เป็นแนวทางในการ จัดโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุน โดยเพิ่มความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึกษาพยาบาลในด้านการออกกำลังกายและการรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และธำรงไว้ซึ่งพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันโรคกกระดูกพรุน รวมทั้งเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านสุขภาพ Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24992 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก / ปรีชารีฟ ยีหรีม in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 ([11/16/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก : ของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่าง Original title : Factors related to body weight control behaviors among obese muslim women in lower southern region, Thailand Material Type: printed text Authors: ปรีชารีฟ ยีหรีม, Author ; รุ้งระวี นาวีเจริญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.31-42 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.31-42Keywords: ภาวะอ้วน.พฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก.สตรีมุสลิม. Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ (descriptive correlational research) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมในภาคใต้ตอนล่างและหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค การรับรู้สมรรถนะแห่งตน อิทธิพลระหว่างบุคคล อิทธิพลด้านสถานการณ์ และความมุ่งมั่นในการวางแผนการปฏิบัติกับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่าง กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีมุสลิมที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง มีอายุระหว่าง 20-59 ปี มีค่าดัชนีมวลกายเท่ากับหรือมากกว่า 25 กิโลกรัม/ตารางเมตร จำนวน 384 ราย ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัย พบว่า พฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่างอยู่ในระดับปานกลาง (mean= 3.43, S.D. = 0.43) ปัจจัยการรับรู้ประโยชน์ ปัจจัยการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ความมุ่งมั่นในการวางแผนปฏิบัติ อิทธิพลด้านสถานการณ์ และอิทธิพลระหว่างบุคคลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.30, 0.50, 0.70, 0.54 และ 0.35 ตามลำดับ) ปัจจัยการรับรู้อุปสรรคไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่าง (r = -.03)
ผลการวิจัยสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนที่เกี่ยวกับการบริโภคและการออกกำลังกาย เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค โดยเฉพาะโรคเรื้อรังต่างๆLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27487 [article] ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก = Factors related to body weight control behaviors among obese muslim women in lower southern region, Thailand : ของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่าง [printed text] / ปรีชารีฟ ยีหรีม, Author ; รุ้งระวี นาวีเจริญ, Author . - 2017 . - p.31-42.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.31-42Keywords: ภาวะอ้วน.พฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก.สตรีมุสลิม. Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ (descriptive correlational research) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมในภาคใต้ตอนล่างและหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค การรับรู้สมรรถนะแห่งตน อิทธิพลระหว่างบุคคล อิทธิพลด้านสถานการณ์ และความมุ่งมั่นในการวางแผนการปฏิบัติกับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่าง กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีมุสลิมที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง มีอายุระหว่าง 20-59 ปี มีค่าดัชนีมวลกายเท่ากับหรือมากกว่า 25 กิโลกรัม/ตารางเมตร จำนวน 384 ราย ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัย พบว่า พฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่างอยู่ในระดับปานกลาง (mean= 3.43, S.D. = 0.43) ปัจจัยการรับรู้ประโยชน์ ปัจจัยการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ความมุ่งมั่นในการวางแผนปฏิบัติ อิทธิพลด้านสถานการณ์ และอิทธิพลระหว่างบุคคลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.30, 0.50, 0.70, 0.54 และ 0.35 ตามลำดับ) ปัจจัยการรับรู้อุปสรรคไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่าง (r = -.03)
ผลการวิจัยสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนที่เกี่ยวกับการบริโภคและการออกกำลังกาย เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค โดยเฉพาะโรคเรื้อรังต่างๆLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27487