From this page you can:
Home |
Search results
3 result(s) search for keyword(s) 'ภาวะอ้วน.พฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก.สตรีมุสลิม.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก / ปรีชารีฟ ยีหรีม in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 ([11/16/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก : ของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่าง Original title : Factors related to body weight control behaviors among obese muslim women in lower southern region, Thailand Material Type: printed text Authors: ปรีชารีฟ ยีหรีม, Author ; รุ้งระวี นาวีเจริญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.31-42 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.31-42Keywords: ภาวะอ้วน.พฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก.สตรีมุสลิม. Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ (descriptive correlational research) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมในภาคใต้ตอนล่างและหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค การรับรู้สมรรถนะแห่งตน อิทธิพลระหว่างบุคคล อิทธิพลด้านสถานการณ์ และความมุ่งมั่นในการวางแผนการปฏิบัติกับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่าง กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีมุสลิมที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง มีอายุระหว่าง 20-59 ปี มีค่าดัชนีมวลกายเท่ากับหรือมากกว่า 25 กิโลกรัม/ตารางเมตร จำนวน 384 ราย ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัย พบว่า พฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่างอยู่ในระดับปานกลาง (mean= 3.43, S.D. = 0.43) ปัจจัยการรับรู้ประโยชน์ ปัจจัยการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ความมุ่งมั่นในการวางแผนปฏิบัติ อิทธิพลด้านสถานการณ์ และอิทธิพลระหว่างบุคคลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.30, 0.50, 0.70, 0.54 และ 0.35 ตามลำดับ) ปัจจัยการรับรู้อุปสรรคไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่าง (r = -.03)
ผลการวิจัยสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนที่เกี่ยวกับการบริโภคและการออกกำลังกาย เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค โดยเฉพาะโรคเรื้อรังต่างๆLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27487 [article] ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก = Factors related to body weight control behaviors among obese muslim women in lower southern region, Thailand : ของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่าง [printed text] / ปรีชารีฟ ยีหรีม, Author ; รุ้งระวี นาวีเจริญ, Author . - 2017 . - p.31-42.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.31-42Keywords: ภาวะอ้วน.พฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก.สตรีมุสลิม. Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ (descriptive correlational research) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมในภาคใต้ตอนล่างและหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค การรับรู้สมรรถนะแห่งตน อิทธิพลระหว่างบุคคล อิทธิพลด้านสถานการณ์ และความมุ่งมั่นในการวางแผนการปฏิบัติกับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่าง กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีมุสลิมที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง มีอายุระหว่าง 20-59 ปี มีค่าดัชนีมวลกายเท่ากับหรือมากกว่า 25 กิโลกรัม/ตารางเมตร จำนวน 384 ราย ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัย พบว่า พฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่างอยู่ในระดับปานกลาง (mean= 3.43, S.D. = 0.43) ปัจจัยการรับรู้ประโยชน์ ปัจจัยการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ความมุ่งมั่นในการวางแผนปฏิบัติ อิทธิพลด้านสถานการณ์ และอิทธิพลระหว่างบุคคลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.30, 0.50, 0.70, 0.54 และ 0.35 ตามลำดับ) ปัจจัยการรับรู้อุปสรรคไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนในภาคใต้ตอนล่าง (r = -.03)
ผลการวิจัยสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วนที่เกี่ยวกับการบริโภคและการออกกำลังกาย เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค โดยเฉพาะโรคเรื้อรังต่างๆLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27487 ปัจจัยที่มีผลต่อการมาตรวจมะเร็งปากมดลูกในสตรมุสลิมในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร / คเณศพร เตชะเสาวภาคย์ in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการมาตรวจมะเร็งปากมดลูกในสตรมุสลิมในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร Original title : Impact factor of cervical cancer screening in Muslim womenat Nongjok district, Bangkok Material Type: printed text Authors: คเณศพร เตชะเสาวภาคย์, Author ; จันทรา คงลำพันธ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.232-233 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.232-233Keywords: มะเร็งปากมดลูก.สตรีมุสลิม.การตรวจคัดกรองมะเร็ง. Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26786 [article] ปัจจัยที่มีผลต่อการมาตรวจมะเร็งปากมดลูกในสตรมุสลิมในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร = Impact factor of cervical cancer screening in Muslim womenat Nongjok district, Bangkok [printed text] / คเณศพร เตชะเสาวภาคย์, Author ; จันทรา คงลำพันธ์, Author . - 2017 . - p.232-233.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.232-233Keywords: มะเร็งปากมดลูก.สตรีมุสลิม.การตรวจคัดกรองมะเร็ง. Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26786 ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข การลดน้ำหนักของนักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน / แสงเทียน ธรรมลิขิตกุล in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข การลดน้ำหนักของนักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน : คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Original title : Problems and barriers and the approaches to solve in losing weight of obese nursing students at Kualarun Faculty of Nursing in Nacamindradhiraj University Material Type: printed text Authors: แสงเทียน ธรรมลิขิตกุล, Author ; สิริรัก สินอุดมผล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.7-30 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.7-30Keywords: ภาวะอ้วน.การลดน้ำหนัก.นักศึกษาพยาบาล.ปัญหาอุปสรรค.แนวทางการแก้ไข. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน แบบเชิงอธิบาย มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจดัชนีมวลกายของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณ์ ม.นวมินทราธิราช ดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะแรกวิจัยเชิงปริมาณ นักศึกษาพยาบาลปี 1-4 จำนวน 804 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดประเมินน้ำหนัก - ส่วนสูง ระยะที่สองคือ ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ นักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน (ฺBMI > 25 Kg/M2 จำนวน 15 ราย ทำการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง และอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการวิจัย เก็บข้อมูลสัมภาษณ์เชิงลึก...
ผลการศึกษาพบว่า น.ศ. พยาบาลมีน้ำหนักผิดปกติร้อยละ 0.62 น้ำหนักปกติร้อยละ 92.29 น้ำหนักเกินร้อยละ 2.74 และมีภาวะอ้วนร้อยละ 4.35 และพบปัจจัยที่เป็นปัญหาอุปสรรคของนักศึกษาที่มีภาวะอ้วน 3 ประเด็น คือ 1)ปัจจัยนำ คืออุปนิสัยคนอ้วน (เสียดาย เกรงใจ ขี้เกียจ ทำตามใจตนเอง และชอบแก้ตัว) ทัศนคติดทางบวกต่ออาหาร ขาดการควบคุมตนเอง ขาดแรงจูงใจ และจัดการความเครียดไม่เหมาะสม 2)ปัจจัยกระตุ้น ประกอบด้วย ลักษณะเฉพาะของวิชาชีพพยาบาล นโนบายการบริหารเน้นวิชาการ 3)ปัจจัยเสริมประกอบด้วย ขาดระบบส่งเสริมสุขภาพ และรักสนับสนุนของครอบครัวทางลง
แนวทางการแก้ไขการลดน้ำหนัก 1. ปัจจัยเอื้อ ประกอบด้วย การได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากสถาบัน การได้รับการสนับสนุนจากเพื่อน และการได้รับการสนับสนุนจากครอบครัว การศึกษานี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคในการลดน้ำหนักเพิ่มขึ้น นำไปพัฒนาการจัดโปรแกรมการลดน้ำหนักได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทางให้วัยรุ่นที่มีภาวถอ้วน นำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง ให้มีสุขภาวะที่ดีต่อไปLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26729 [article] ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข การลดน้ำหนักของนักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน = Problems and barriers and the approaches to solve in losing weight of obese nursing students at Kualarun Faculty of Nursing in Nacamindradhiraj University : คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / แสงเทียน ธรรมลิขิตกุล, Author ; สิริรัก สินอุดมผล, Author . - 2017 . - p.7-30.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.7-30Keywords: ภาวะอ้วน.การลดน้ำหนัก.นักศึกษาพยาบาล.ปัญหาอุปสรรค.แนวทางการแก้ไข. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน แบบเชิงอธิบาย มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจดัชนีมวลกายของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณ์ ม.นวมินทราธิราช ดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะแรกวิจัยเชิงปริมาณ นักศึกษาพยาบาลปี 1-4 จำนวน 804 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดประเมินน้ำหนัก - ส่วนสูง ระยะที่สองคือ ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ นักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน (ฺBMI > 25 Kg/M2 จำนวน 15 ราย ทำการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง และอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการวิจัย เก็บข้อมูลสัมภาษณ์เชิงลึก...
ผลการศึกษาพบว่า น.ศ. พยาบาลมีน้ำหนักผิดปกติร้อยละ 0.62 น้ำหนักปกติร้อยละ 92.29 น้ำหนักเกินร้อยละ 2.74 และมีภาวะอ้วนร้อยละ 4.35 และพบปัจจัยที่เป็นปัญหาอุปสรรคของนักศึกษาที่มีภาวะอ้วน 3 ประเด็น คือ 1)ปัจจัยนำ คืออุปนิสัยคนอ้วน (เสียดาย เกรงใจ ขี้เกียจ ทำตามใจตนเอง และชอบแก้ตัว) ทัศนคติดทางบวกต่ออาหาร ขาดการควบคุมตนเอง ขาดแรงจูงใจ และจัดการความเครียดไม่เหมาะสม 2)ปัจจัยกระตุ้น ประกอบด้วย ลักษณะเฉพาะของวิชาชีพพยาบาล นโนบายการบริหารเน้นวิชาการ 3)ปัจจัยเสริมประกอบด้วย ขาดระบบส่งเสริมสุขภาพ และรักสนับสนุนของครอบครัวทางลง
แนวทางการแก้ไขการลดน้ำหนัก 1. ปัจจัยเอื้อ ประกอบด้วย การได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากสถาบัน การได้รับการสนับสนุนจากเพื่อน และการได้รับการสนับสนุนจากครอบครัว การศึกษานี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคในการลดน้ำหนักเพิ่มขึ้น นำไปพัฒนาการจัดโปรแกรมการลดน้ำหนักได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทางให้วัยรุ่นที่มีภาวถอ้วน นำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง ให้มีสุขภาวะที่ดีต่อไปLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26729