From this page you can:
Home |
Search results
30 result(s) search for keyword(s) 'นักศึกษาพยาบาล. วิทยาลัยพยาบาล'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสัมพันธ์ระหว่างการตั้งเป้าหมายการเรียน การเรียนอย่างมีความสุข / ภัทรียา มาลาทอง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างการตั้งเป้าหมายการเรียน การเรียนอย่างมีความสุข : กับทัศนคติต่อวิชาชีพพยาบาลของนัีกศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : Relationships between learning goal happiness in learning and attitude toward nursing professional of nurse students in nursing colleges under the jurisdiction of Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: ภัทรียา มาลาทอง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ฎ, 105 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-172-874-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การเรียนรู้ -- นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การดูแล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: นักศึกษาพยาบาล.
วิทยาลัยพยาบาลClass number: WY100 ภ614 2545 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23122 ความสัมพันธ์ระหว่างการตั้งเป้าหมายการเรียน การเรียนอย่างมีความสุข = Relationships between learning goal happiness in learning and attitude toward nursing professional of nurse students in nursing colleges under the jurisdiction of Ministry of Public Health : กับทัศนคติต่อวิชาชีพพยาบาลของนัีกศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข [printed text] / ภัทรียา มาลาทอง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ฎ, 105 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-172-874-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การเรียนรู้ -- นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การดูแล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: นักศึกษาพยาบาล.
วิทยาลัยพยาบาลClass number: WY100 ภ614 2545 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23122 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354504 WY100 ภ614 2545 Thesis Main Library Thaksin Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษากับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข / ธิดารัตน์ คำบุญ, 2521- / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษากับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : Relationships between attitude toward nursing profession, perceived student affairs management, and characteristics of effective nursing students, nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: ธิดารัตน์ คำบุญ, 2521-, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ญ, 114 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-179-770-2 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]]-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติKeywords: ทัศนคติ
วิชาชีพพยาบาล.
นักศึกษาพยาบาล.
วิทยาลัยพยาบาล.Class number: WY100 ธ434 2545 Abstract: การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา ความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล และหาความสัมพันธ์ระหว่าง เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา กับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลที่กำลังศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ชั้นปีที่ 1, 2, 3 และ 4 จำนวน 385 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล แบบสอบถามการรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา และแบบวัดความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาความเที่ยงของแบบสอบถามโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคมีค่าความเที่ยง เท่ากับ .82, .88 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาคะแนนเต็ม คะแนนสูงสุด คะแนนต่ำสุด ค่าเฉลี่ย ร้อยละของค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความเบ้ ความโด่งและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านลักษณะวิชาชีพ และร้อยละของค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านความสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน ผู้ป่วยและญาติ 2. การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษาของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ งานการจัดปฐมนิเทศนักศึกษา งานบริการแนะแนว และงานบริการอนามัย 3. ความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ร่วมแรงร่วมใจ เข้าใจผู้อื่น และเตรียมพร้อมตลอดเวลา 4. เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล และการรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา มีความสัมพันธ์ทางบวก กับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = .475 และ .391 ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23188 ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษากับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข = Relationships between attitude toward nursing profession, perceived student affairs management, and characteristics of effective nursing students, nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health [printed text] / ธิดารัตน์ คำบุญ, 2521-, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ญ, 114 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-179-770-2 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]]-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติKeywords: ทัศนคติ
วิชาชีพพยาบาล.
นักศึกษาพยาบาล.
วิทยาลัยพยาบาล.Class number: WY100 ธ434 2545 Abstract: การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา ความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล และหาความสัมพันธ์ระหว่าง เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา กับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลที่กำลังศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ชั้นปีที่ 1, 2, 3 และ 4 จำนวน 385 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล แบบสอบถามการรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา และแบบวัดความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาความเที่ยงของแบบสอบถามโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคมีค่าความเที่ยง เท่ากับ .82, .88 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาคะแนนเต็ม คะแนนสูงสุด คะแนนต่ำสุด ค่าเฉลี่ย ร้อยละของค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความเบ้ ความโด่งและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านลักษณะวิชาชีพ และร้อยละของค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านความสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน ผู้ป่วยและญาติ 2. การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษาของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ งานการจัดปฐมนิเทศนักศึกษา งานบริการแนะแนว และงานบริการอนามัย 3. ความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ร่วมแรงร่วมใจ เข้าใจผู้อื่น และเตรียมพร้อมตลอดเวลา 4. เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล และการรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา มีความสัมพันธ์ทางบวก กับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = .475 และ .391 ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23188 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383784 WY100 ธ434 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อภาวะซึมเศร้าและความแข็งแกร่งในชีวิตของ / วิจิตรา จิตรักษ์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([06/20/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อภาวะซึมเศร้าและความแข็งแกร่งในชีวิตของ : นักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Original title : The effect of the resilience enhancing program on depression and resilience of nursing students in a nursing college in the northeast region of Thailand Material Type: printed text Authors: วิจิตรา จิตรักษ์, Author ; ทัศนา ทวีคูณ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.42-60 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 [06/20/2016] . - p.42-60Keywords: การเสริมสร้างความแข็งแกร่ง.ผลของโปรแกรมการเสริมสร้าง.ภาวะซึมเศร้า.นักศึกษาพยาบาล.วิทยาลัยพยาบาลภาคตะวันออกเฉียงเหนิือ. Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25551 [article] ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อภาวะซึมเศร้าและความแข็งแกร่งในชีวิตของ = The effect of the resilience enhancing program on depression and resilience of nursing students in a nursing college in the northeast region of Thailand : นักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ [printed text] / วิจิตรา จิตรักษ์, Author ; ทัศนา ทวีคูณ, Author . - 2016 . - p.42-60.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)SIU IS-T. การพัฒนาสื่อเพื่อศึกษาด้วยการใช้ Holograms สำหรับนักศึกษาพยาบาล / สันติราชย์ เลิศมณี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนาสื่อเพื่อศึกษาด้วยการใช้ Holograms สำหรับนักศึกษาพยาบาล Original title : The Development of Holograms as Educational Media for Nursing Students Material Type: printed text Authors: สันติราชย์ เลิศมณี, Author ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: viii, 74 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-01
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สื่อการสอน
[LCSH]โฮโลแกรมKeywords: Holograms,
สื่อการสอน,
นักศึกษาพยาบาลAbstract: วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการสอนด้วยการใช้ Holograms มีกระบวนการสร้างดังนี้
1) ผู้วิจัยศึกษาวิธีการฉีดยาจากหนังสือเรียน และศึกษาโปรแกรม 3 มิติ เพื่อสร้างภาพ Holograms 2) ผู้วิจัยสร้างอุปกรณ์ Holograms จากวัสดุต่าง ๆ และนำมาทดลอง และบันทึกผล 3) ผู้วิจัยสร้างแบบสอบถามใช้เป็นการวิจัยเพื่อทดสอบความพึงพอใจจากการใช้ Holograms วิธีการฉีดยา โดยเก็บข้อมูลจากนักศึกษาพยาบาล 43 คน มาวิเคราะห์ผล
การใช้เครื่องมือทดสอบกับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ หลักสูตรพยาบาลบัณฑิต มหาวิทยาลัยวิทยาชินวัตร โดยการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายกับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 จำนวน 27 คน และชั้นปีที่ 3 จำนวน 16 คน รวมจำนวน 43 คน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้ค่าสถิติเชิงพรรณนา
ผลการประเมินความพึงพอใจสื่อการสอนจากกลุ่มเป้าหมายจำนวน 43 คน พบว่า ระดับความพึงพอใจด้านเนื้อหาสาระ ด้านคุณค่า และโดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด แต่ระดับความพึงพอใจด้านอุปกรณ์ อยู่ในระดับมาก
จากความคิดเห็นของนักศึกษาพยาบาล พบว่า จุดเด่นมีความแปลกใหม่ ทันสมัย และน่าสนใจ การนำเสนอภาพสามารถมองเห็นภาพร่างกายได้ชัดเจนและเรียนรู้วิธีการฉีดยาที่กล้ามเนื้อมีมุมองศาแตกต่างกัน มีการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อเกิดประโยชน์กับการเรียนการสอนสมัยใหม่ได้เป็นอย่างดี ใช้งานง่าย และสามารถนำไปใช้งานได้จริง และพบว่ามีข้อบกพร่อง ได้แก่ ภาพมีขนาดเล็กและไม่ชัดเจน ประกอบกับเสียงบรรยายไม่ชัดเจนและขาดความนุ่มนวลของเสียง มีรายละเอียดและคำบรรยายในการสอนของเนื้อหาน้อยเกินไป การแสดงเนื้อหามีระยะเวลาสั้น ตลอดจนอุปกรณ์มีขนาดเล็กทำให้ขาดความน่าสนใจCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27854 SIU IS-T. การพัฒนาสื่อเพื่อศึกษาด้วยการใช้ Holograms สำหรับนักศึกษาพยาบาล = The Development of Holograms as Educational Media for Nursing Students [printed text] / สันติราชย์ เลิศมณี, Author ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - viii, 74 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-01
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สื่อการสอน
[LCSH]โฮโลแกรมKeywords: Holograms,
สื่อการสอน,
นักศึกษาพยาบาลAbstract: วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการสอนด้วยการใช้ Holograms มีกระบวนการสร้างดังนี้
1) ผู้วิจัยศึกษาวิธีการฉีดยาจากหนังสือเรียน และศึกษาโปรแกรม 3 มิติ เพื่อสร้างภาพ Holograms 2) ผู้วิจัยสร้างอุปกรณ์ Holograms จากวัสดุต่าง ๆ และนำมาทดลอง และบันทึกผล 3) ผู้วิจัยสร้างแบบสอบถามใช้เป็นการวิจัยเพื่อทดสอบความพึงพอใจจากการใช้ Holograms วิธีการฉีดยา โดยเก็บข้อมูลจากนักศึกษาพยาบาล 43 คน มาวิเคราะห์ผล
การใช้เครื่องมือทดสอบกับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ หลักสูตรพยาบาลบัณฑิต มหาวิทยาลัยวิทยาชินวัตร โดยการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายกับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 จำนวน 27 คน และชั้นปีที่ 3 จำนวน 16 คน รวมจำนวน 43 คน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้ค่าสถิติเชิงพรรณนา
ผลการประเมินความพึงพอใจสื่อการสอนจากกลุ่มเป้าหมายจำนวน 43 คน พบว่า ระดับความพึงพอใจด้านเนื้อหาสาระ ด้านคุณค่า และโดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด แต่ระดับความพึงพอใจด้านอุปกรณ์ อยู่ในระดับมาก
จากความคิดเห็นของนักศึกษาพยาบาล พบว่า จุดเด่นมีความแปลกใหม่ ทันสมัย และน่าสนใจ การนำเสนอภาพสามารถมองเห็นภาพร่างกายได้ชัดเจนและเรียนรู้วิธีการฉีดยาที่กล้ามเนื้อมีมุมองศาแตกต่างกัน มีการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อเกิดประโยชน์กับการเรียนการสอนสมัยใหม่ได้เป็นอย่างดี ใช้งานง่าย และสามารถนำไปใช้งานได้จริง และพบว่ามีข้อบกพร่อง ได้แก่ ภาพมีขนาดเล็กและไม่ชัดเจน ประกอบกับเสียงบรรยายไม่ชัดเจนและขาดความนุ่มนวลของเสียง มีรายละเอียดและคำบรรยายในการสอนของเนื้อหาน้อยเกินไป การแสดงเนื้อหามีระยะเวลาสั้น ตลอดจนอุปกรณ์มีขนาดเล็กทำให้ขาดความน่าสนใจCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27854 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598316 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-01 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598431 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Human resource management Mathis,, Robert L. (1944-) การทบทวนความรู้งานวิจัยด้านการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาคุณลักษณะหัวใจความเป็นมนุษย์ / วรวิทย์ ชัยพรเจริญศรี in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 ([05/24/2017])
[article]
Title : การทบทวนความรู้งานวิจัยด้านการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาคุณลักษณะหัวใจความเป็นมนุษย์ : กรณีศึกษาวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนี พระพุทธบาท Original title : Review of education research developing humanized care a case study of Boromrajonani College Nursing, Praputthabat Material Type: printed text Authors: วรวิทย์ ชัยพรเจริญศรี, Author ; บุญสืบ โสโสม, Author ; กนกอร ชาวเวียง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.146-159 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 [05/24/2017] . - p.146-159Keywords: การจัดการเรียนกาารสอน.คุณลักษณะหัวใจความเป็นมนุษย์.การทบทวนความรู้งานวิจัย.วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26767 [article] การทบทวนความรู้งานวิจัยด้านการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาคุณลักษณะหัวใจความเป็นมนุษย์ = Review of education research developing humanized care a case study of Boromrajonani College Nursing, Praputthabat : กรณีศึกษาวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนี พระพุทธบาท [printed text] / วรวิทย์ ชัยพรเจริญศรี, Author ; บุญสืบ โสโสม, Author ; กนกอร ชาวเวียง, Author . - 2017 . - p.146-159.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การประเมินผลโดยใช้รูปแบบชิปป์ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษสำหรับวิชาพยาบาล (พบ.292) / พีรนุช ลาเซอร์ in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 ([12/27/2016])
[article]
Title : การประเมินผลโดยใช้รูปแบบชิปป์ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษสำหรับวิชาพยาบาล (พบ.292) : คณะพยาบาลศาสตร์ แมคคอร์มิค มหาวิทยาลัยพายัพ Original title : The evaluation of the English for nursing profession course (SN292) at McCormick faculty of nursing, Payap university using CIPP model Material Type: printed text Authors: พีรนุช ลาเซอร์, Author ; อรอนงค์ ธรรมจินดา, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.47-64 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.47-64Keywords: การประเมินการจัดการเรียนการสอน.รูปแบบซิปป์.นักศึกษาพยาบาล.ภาษาอังกฤษสำหรับพยาบาลวิชาชีพ. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25910 [article] การประเมินผลโดยใช้รูปแบบชิปป์ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษสำหรับวิชาพยาบาล (พบ.292) = The evaluation of the English for nursing profession course (SN292) at McCormick faculty of nursing, Payap university using CIPP model : คณะพยาบาลศาสตร์ แมคคอร์มิค มหาวิทยาลัยพายัพ [printed text] / พีรนุช ลาเซอร์, Author ; อรอนงค์ ธรรมจินดา, Author . - 2016 . - p.47-64.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ / บังอร ฤทธิ์อุดม in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ Original title : An Evaluation of the Bachelor of Nursing Science Curriculum (Revised curriculum, 2012) Royal Thai Air Force Nursing College Material Type: printed text Authors: บังอร ฤทธิ์อุดม, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.203-211 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.203-211Keywords: การประเมินหลักสูตร. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต. วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ. Evaluation of curriculum. Bachelor of Nursing Science Curriculum. Royal Thai Air Force Nursing College. Abstract: การศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 ของวิทยาลัยพยาบาทหารอากาศ ตามรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) โดยประเมินหลักสูตร 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัย นำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนพยาบาลทหารอากาศ (นพอ.) ชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 45คนเครื่องมือที่ใช้คือแบบประเมินบริบท แบบประเมินปัจจัยนำเข้าแบบประเมินกระบวนการและแบบประเมินผลผลิต ได้รับ การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ3 ท่าน พบว่าค่า IOC เท่ากับ 0.67-1.00 และตรวจสอบความเที่ยงของ เครื่องมือโดยวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค พบว่ามีค่าความเที่ยงของเครื่องมือเท่ากับ 0.74, 0.89, 0.95และ 0.86 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ด้านบริบท นพอ. ชั้นปีที่ 4 มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตรอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.59, S.D.= 0.33) และมีความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างและเนื้อหาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 พบว่า อยู่ในระดับมาก ( = 4.33, S.D. = 0.71) 2. ด้านปัจจัยนำเข้านพอ.ชั้นปีที่4มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยนำเข้าหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 อยู่ในระดับมาก ( = 4.03, S.D. = 0.69) 3. ด้านกระบวนการ นพอ. ชั้นปีที่4มีความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตร บัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 อยู่ในระดับมาก ( = 4.09, S.D. = 0.67) 4. ด้านผลผลิต นพอ.ชั้นปีที่4มีความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะเชิงวิชาชีพทั้ง8ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.04, S.D. = 0.96) ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ.2561ในด้านการจัดหาทรัพยากรสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนรวมถึงวิธีการวัดและการประเมินผลเพื่อส่งเสริม ให้หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27244 [article] การประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ = An Evaluation of the Bachelor of Nursing Science Curriculum (Revised curriculum, 2012) Royal Thai Air Force Nursing College [printed text] / บังอร ฤทธิ์อุดม, Author . - 2017 . - p.203-211.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.203-211Keywords: การประเมินหลักสูตร. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต. วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ. Evaluation of curriculum. Bachelor of Nursing Science Curriculum. Royal Thai Air Force Nursing College. Abstract: การศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 ของวิทยาลัยพยาบาทหารอากาศ ตามรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) โดยประเมินหลักสูตร 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัย นำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนพยาบาลทหารอากาศ (นพอ.) ชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 45คนเครื่องมือที่ใช้คือแบบประเมินบริบท แบบประเมินปัจจัยนำเข้าแบบประเมินกระบวนการและแบบประเมินผลผลิต ได้รับ การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ3 ท่าน พบว่าค่า IOC เท่ากับ 0.67-1.00 และตรวจสอบความเที่ยงของ เครื่องมือโดยวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค พบว่ามีค่าความเที่ยงของเครื่องมือเท่ากับ 0.74, 0.89, 0.95และ 0.86 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ด้านบริบท นพอ. ชั้นปีที่ 4 มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตรอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.59, S.D.= 0.33) และมีความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างและเนื้อหาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 พบว่า อยู่ในระดับมาก ( = 4.33, S.D. = 0.71) 2. ด้านปัจจัยนำเข้านพอ.ชั้นปีที่4มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยนำเข้าหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 อยู่ในระดับมาก ( = 4.03, S.D. = 0.69) 3. ด้านกระบวนการ นพอ. ชั้นปีที่4มีความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตร บัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 อยู่ในระดับมาก ( = 4.09, S.D. = 0.67) 4. ด้านผลผลิต นพอ.ชั้นปีที่4มีความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะเชิงวิชาชีพทั้ง8ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.04, S.D. = 0.96) ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ.2561ในด้านการจัดหาทรัพยากรสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนรวมถึงวิธีการวัดและการประเมินผลเพื่อส่งเสริม ให้หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27244 การพัฒนาชุดฝึกฉีดยาทางกล้ามเนื้อเพื่อสอนนักศึกษาพยาบาลและการประเมินประสิทธิผล / ณัฎฐชา เจียรนิลกุลชัย in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 ([12/27/2016])
[article]
Title : การพัฒนาชุดฝึกฉีดยาทางกล้ามเนื้อเพื่อสอนนักศึกษาพยาบาลและการประเมินประสิทธิผล Original title : Development of the intramuscular injection model for nursing students and evaluation of the effectiveness of the model Material Type: printed text Authors: ณัฎฐชา เจียรนิลกุลชัย, Author ; จินดา นันทวงษ์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.65-77 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.65-77Keywords: การพัฒนาชุดฝึกฉีดยาทางกล้ามเนื้อ.นักศึกษาพยาบาล.การประเมินประสิทธิผล. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25911 [article] การพัฒนาชุดฝึกฉีดยาทางกล้ามเนื้อเพื่อสอนนักศึกษาพยาบาลและการประเมินประสิทธิผล = Development of the intramuscular injection model for nursing students and evaluation of the effectiveness of the model [printed text] / ณัฎฐชา เจียรนิลกุลชัย, Author ; จินดา นันทวงษ์, Author . - 2016 . - p.65-77.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาล / มนสภรณ์ วิทูรเมธา in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 ([11/16/2017])
[article]
Title : การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาล : ของนักศึกษาพยาบาล Material Type: printed text Authors: มนสภรณ์ วิทูรเมธา, Author ; มาลี เอี่ยมสำอาง, Author ; ลัดดาวัลย์ เตชางกูร, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.100-113 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.100-113Keywords: ความสามารถในการเรียนรู้.กระบวนการพยาบาล.นักศึกษาพยาบาล. Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 จำนวน 84 คน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ที่เรียนวิชาปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐาน ปีการศึกษา 2557 และอาจารย์พยาบาล 11 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย1) แบบประเมินการวางแผนการพยาบาล 2) แบบประเมินความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาล 3)แบบสะท้อนคิดของนักศึกษาพยาบาลในการนำกระบวนการพยาบาลไปใช้ และ 4)แนวคำถามการสนทนากลุ่มนักศึกษาพยาบาล เก็บข้อมูลโดยการสนทนากลุ่มในนักศึกษาพยาบาล และอาจารย์ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลในวิชาปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐานอยู่ในระดับดี (mean = 4.11, S.D. = .291) ปัญหาการใช้กระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลพบมากที่สุดคือ ขาดทักษะในการประเมินภาวะสุขภาพ ส่วนกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาล คือ 1)การตั้งเป้าหมายในการเรียนของนักศึกษา 2) ฝึกการวางแผนการพยาบาลนำไปใช้ปฏิบัติกับผู้ป่วย 3) มีอาจารย์ให้คำแนะนำ 4) มีการประชุมปรึกษาก่อนและหลังการปฏิบัติงาน 5) มีการเรียนรู้กระบวนการพยาบาลแบบองค์รวม 6) พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ 7) มีทัศนคติที่ดีต่อตนเอง และต่อบุคลากรทางสุขภาพอื่นๆ ส่วนแนวทางการส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลมี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) เตรียมความรู้ ฝึกทักษะการใช้กระบวนการพยาบาลในนักศึกษา 2) อาจารย์ควรปรับวิธีการสอน การมอบหมายงาน ประเมินผลการใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงาน 3) สถาบันหรือคณะพยาบาลควรมีการจัดการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการใช้กระบวนการพยาบาลโดยเพิ่มชั่วโมงการฝึกการเขียนวางแผนการพยาบาล
ผลการวิจัยครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางการเรียนรู้ในการพัฒนาศักยภาพการใช้กะบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลในวิชาการพยาบาลสาขาอื่นๆ ในสถาบันการศึกษาพยาบาลLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27492 [article] การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาล : ของนักศึกษาพยาบาล [printed text] / มนสภรณ์ วิทูรเมธา, Author ; มาลี เอี่ยมสำอาง, Author ; ลัดดาวัลย์ เตชางกูร, Author . - 2017 . - p.100-113.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.100-113Keywords: ความสามารถในการเรียนรู้.กระบวนการพยาบาล.นักศึกษาพยาบาล. Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 จำนวน 84 คน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ที่เรียนวิชาปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐาน ปีการศึกษา 2557 และอาจารย์พยาบาล 11 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย1) แบบประเมินการวางแผนการพยาบาล 2) แบบประเมินความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาล 3)แบบสะท้อนคิดของนักศึกษาพยาบาลในการนำกระบวนการพยาบาลไปใช้ และ 4)แนวคำถามการสนทนากลุ่มนักศึกษาพยาบาล เก็บข้อมูลโดยการสนทนากลุ่มในนักศึกษาพยาบาล และอาจารย์ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลในวิชาปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐานอยู่ในระดับดี (mean = 4.11, S.D. = .291) ปัญหาการใช้กระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลพบมากที่สุดคือ ขาดทักษะในการประเมินภาวะสุขภาพ ส่วนกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาล คือ 1)การตั้งเป้าหมายในการเรียนของนักศึกษา 2) ฝึกการวางแผนการพยาบาลนำไปใช้ปฏิบัติกับผู้ป่วย 3) มีอาจารย์ให้คำแนะนำ 4) มีการประชุมปรึกษาก่อนและหลังการปฏิบัติงาน 5) มีการเรียนรู้กระบวนการพยาบาลแบบองค์รวม 6) พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ 7) มีทัศนคติที่ดีต่อตนเอง และต่อบุคลากรทางสุขภาพอื่นๆ ส่วนแนวทางการส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลมี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) เตรียมความรู้ ฝึกทักษะการใช้กระบวนการพยาบาลในนักศึกษา 2) อาจารย์ควรปรับวิธีการสอน การมอบหมายงาน ประเมินผลการใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงาน 3) สถาบันหรือคณะพยาบาลควรมีการจัดการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการใช้กระบวนการพยาบาลโดยเพิ่มชั่วโมงการฝึกการเขียนวางแผนการพยาบาล
ผลการวิจัยครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางการเรียนรู้ในการพัฒนาศักยภาพการใช้กะบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลในวิชาการพยาบาลสาขาอื่นๆ ในสถาบันการศึกษาพยาบาลLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27492 การพัฒนาแบบวัดความรับผิดชอบของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ / ปริญญาภรณ์ ธนะบุญปวง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การพัฒนาแบบวัดความรับผิดชอบของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ Original title : Development Responsibility Scale for Nursing Student (RSN) Material Type: printed text Authors: ปริญญาภรณ์ ธนะบุญปวง, Author ; ศิริเดช สุชีวะ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.212-219 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.212-219Keywords: แบบวัดความรับผิดชอบ.นักศึกษาพยาบาลศาสตร์. Abstract: ความรับผิดชอบเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสำคัญในสาขาพยาบาลศาสตร์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติของประเทศไทยและอีกหลายๆ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์3 ประการ ได้แก่ 1) พัฒนาโมเดลการวัดและแบบวัดความ รับผิดชอบ 2)ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือและ3)กำหนดคะแนนจุดตัดตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่4 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 1,106คน จาก 18 สถาบัน เครื่องมือเป็นแบบวัดความรับผิดชอบบนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียวิธีวิจัยแบ่งเป็น 3ระยะ ได้แก่1)การพัฒนาโมเดลการวัดและแบบวัดความรับผิดชอบ 2)การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือด้วยการวิเคราะห์คุณภาพรายข้อ ความเที่ยงความตรงเชิงโครงสร้างและ3)การกำหนดคะแนนจุดตัดผลการวิจัย พบว่าโมเดลการวัดประกอบด้วย3องค์ประกอบ ได้แก่1)ความรับผิดชอบต่อตนเอง/หน้าที่2)ความรับผิดชอบ ต่อผู้อื่น 3)ความรับผิดชอบต่อสังคม/วิชาชีพ ความเที่ยงแบบความ สอดคล้องภายในโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ .880 การตรวจสอบคุณภาพตามทฤษฎีการทดสอบแบบ ดั้งเดิม (CTT) พบว่า อำนาจจำแนก (r) มีค่าระหว่าง .375 -.546 ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ (IRT) พบว่า พารามิเตอร์อำนาจ จำแนก (a) มีค่าระหว่าง 0 .93-1.69 ความยาก (b) มีค่าระหว่าง-0.92 ถึง-0.25 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยืน พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์คะแนนจุดตัดที่กำหนดด้วยวิธีบุ๊คมาร์คมีค่าเท่ากับระดับความสามารถ (theta)–0.40 ผลการวิจัยสรุปได้ว่า เครื่องมือที่พัฒนาขึ้นมีความเที่ยงและความตรงสามารถประยุกต์ใช้ในการวัดประเมินผลความรับผิดชอบของ นักศึกษาพยาบาลได้ Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27245 [article] การพัฒนาแบบวัดความรับผิดชอบของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ = Development Responsibility Scale for Nursing Student (RSN) [printed text] / ปริญญาภรณ์ ธนะบุญปวง, Author ; ศิริเดช สุชีวะ, Author . - 2017 . - p.212-219.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.212-219Keywords: แบบวัดความรับผิดชอบ.นักศึกษาพยาบาลศาสตร์. Abstract: ความรับผิดชอบเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสำคัญในสาขาพยาบาลศาสตร์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติของประเทศไทยและอีกหลายๆ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์3 ประการ ได้แก่ 1) พัฒนาโมเดลการวัดและแบบวัดความ รับผิดชอบ 2)ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือและ3)กำหนดคะแนนจุดตัดตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่4 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 1,106คน จาก 18 สถาบัน เครื่องมือเป็นแบบวัดความรับผิดชอบบนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียวิธีวิจัยแบ่งเป็น 3ระยะ ได้แก่1)การพัฒนาโมเดลการวัดและแบบวัดความรับผิดชอบ 2)การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือด้วยการวิเคราะห์คุณภาพรายข้อ ความเที่ยงความตรงเชิงโครงสร้างและ3)การกำหนดคะแนนจุดตัดผลการวิจัย พบว่าโมเดลการวัดประกอบด้วย3องค์ประกอบ ได้แก่1)ความรับผิดชอบต่อตนเอง/หน้าที่2)ความรับผิดชอบ ต่อผู้อื่น 3)ความรับผิดชอบต่อสังคม/วิชาชีพ ความเที่ยงแบบความ สอดคล้องภายในโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ .880 การตรวจสอบคุณภาพตามทฤษฎีการทดสอบแบบ ดั้งเดิม (CTT) พบว่า อำนาจจำแนก (r) มีค่าระหว่าง .375 -.546 ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ (IRT) พบว่า พารามิเตอร์อำนาจ จำแนก (a) มีค่าระหว่าง 0 .93-1.69 ความยาก (b) มีค่าระหว่าง-0.92 ถึง-0.25 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยืน พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์คะแนนจุดตัดที่กำหนดด้วยวิธีบุ๊คมาร์คมีค่าเท่ากับระดับความสามารถ (theta)–0.40 ผลการวิจัยสรุปได้ว่า เครื่องมือที่พัฒนาขึ้นมีความเที่ยงและความตรงสามารถประยุกต์ใช้ในการวัดประเมินผลความรับผิดชอบของ นักศึกษาพยาบาลได้ Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27245 การพัฒนาแผลหนองเทียมเพื่อส่งเสริมการฝึกทักษะการเก็บสิ่งคัดหลั่งจากแผลเพาะเชื้อ ในนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 / ณัฎฐชา เจียรนิลกุลชัย in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 ([03/29/2016])
[article]
Title : การพัฒนาแผลหนองเทียมเพื่อส่งเสริมการฝึกทักษะการเก็บสิ่งคัดหลั่งจากแผลเพาะเชื้อ ในนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 Original title : Development of an artificial pus wound medel to improve seconde year nursing student's skill in performing wound swah culture Material Type: printed text Authors: ณัฎฐชา เจียรนิลกุลชัย, Author ; จินดา นันทวงษ์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.32-43 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.32-43Keywords: การพัฒนาแผลหนองเทียม.การส่งเสริมการฝึกทักษะ.การเก็บสิ่งคัดหลั่งจากแผลเพาะเชื้อ.นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25647 [article] การพัฒนาแผลหนองเทียมเพื่อส่งเสริมการฝึกทักษะการเก็บสิ่งคัดหลั่งจากแผลเพาะเชื้อ ในนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 = Development of an artificial pus wound medel to improve seconde year nursing student's skill in performing wound swah culture [printed text] / ณัฎฐชา เจียรนิลกุลชัย, Author ; จินดา นันทวงษ์, Author . - 2016 . - p.32-43.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.32-43Keywords: การพัฒนาแผลหนองเทียม.การส่งเสริมการฝึกทักษะ.การเก็บสิ่งคัดหลั่งจากแผลเพาะเชื้อ.นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25647 การศึกษาตัวชี้บ่งการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับกองและภาควิชากองการศึกษา / ศิริพร พูนชัย in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การศึกษาตัวชี้บ่งการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับกองและภาควิชากองการศึกษา : วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก Material Type: printed text Authors: ศิริพร พูนชัย, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.69-78 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.69-78Keywords: ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา.กองการศึกษา.วิทยาลัยพยาบาลทหารบก.การประเมินคุณภาพการศึกษา. Abstract: การวจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา คัดสรร และสร้างตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับกอง และภาควิชาของกองการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก วิธีการดำเนินการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วมแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ 1 การศึกษา คัดสรร และสร้างตัวบ่งชี้และระยะที่ 2 การตรวจสอบคุณภาพและทดลองใช้ตัวบ่งชี้ผู้เข้าร่วมในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารและอาจารย์ กองการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก จำนวนทั้งสิ้น 40 คน วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้ในการศึกษาเอกสาร การสนทนากลุ่มผู้บริหาร และการสำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยมี 2 ชุด ได้แก่ 1 แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างสำหรับการสนทนากลุ่ม และ 2 แบบสำรวจความคิดเห็นต่อ (ร่าง) ตัวบ่งชี้การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้่อหา และการวิเคราะห์หาค่าดัชนีความคิดเห็นสอดคล้องตรงกันผลการศึกษา พบว่า กองการศึกษาควรดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในให้ครบถ้วนทั้ง 9 ประกอบ ทั้งในระดับกอง และระดับภาควิชา โดยควรคัดสรรมาจากตัวบ่งชี้ในระดับวิทยาลัยและเห็นด้วยกับการนำเกณฑ์รับรองสถาบันของสภาการพยาบาลและตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนของมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาพยาบาลศาสตร์ มาใช้ในการสร้างเป็นตัวบ่งชี้เพิ่มเติมให้สอดคล้องกับการดำเนินงานของกองการศึกษา ตัวบ่งขี้ในระดับกองมี 34 ตัวบ่งชี้ และระดับภาควิชามั 25 ร้อยละ 62.50 ส่วนที่มาของตัวบ่งชี้มาจากตัวบ่งชี้ระดับวิทยาลัยมากที่สุดในระดับกอง คิดเป็นร้อยละ 75.00 ผลการตรวจสอบคุณภาพของร่างตัวบ่งชี้การประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ IOC มากกว่า 0.70 ในทุกผลการทดลองใช้ พบว่า ตัวบ่งชี้ส่วนใหญ่มีค่าดัชนีความคิดเห็นสอดคล้องตรงกันในระดับปานกลางขึ้นไป ผลการทดลองใช้ พบว่า ทั้งในระดับกองและภาควิชาสามารถเขียนรายงานและประเมินตนเองได้ในทุกตัวบ่งชี้ ส่วนการเปรียบเทียบผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการประเมินตนอง พบว่า ในระดับกองมีความสอดคล้องกันคิดเป็นร้อยละ 94.28 ส่วนในระดับภาควิชา มีึว่ามสอดคล้องกันคิดเป็นร้อยละ 96.0 Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24954 [article] การศึกษาตัวชี้บ่งการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับกองและภาควิชากองการศึกษา : วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก [printed text] / ศิริพร พูนชัย, Author . - 2015 . - p.69-78.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.69-78Keywords: ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา.กองการศึกษา.วิทยาลัยพยาบาลทหารบก.การประเมินคุณภาพการศึกษา. Abstract: การวจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา คัดสรร และสร้างตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับกอง และภาควิชาของกองการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก วิธีการดำเนินการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วมแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ 1 การศึกษา คัดสรร และสร้างตัวบ่งชี้และระยะที่ 2 การตรวจสอบคุณภาพและทดลองใช้ตัวบ่งชี้ผู้เข้าร่วมในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารและอาจารย์ กองการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก จำนวนทั้งสิ้น 40 คน วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้ในการศึกษาเอกสาร การสนทนากลุ่มผู้บริหาร และการสำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยมี 2 ชุด ได้แก่ 1 แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างสำหรับการสนทนากลุ่ม และ 2 แบบสำรวจความคิดเห็นต่อ (ร่าง) ตัวบ่งชี้การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้่อหา และการวิเคราะห์หาค่าดัชนีความคิดเห็นสอดคล้องตรงกันผลการศึกษา พบว่า กองการศึกษาควรดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในให้ครบถ้วนทั้ง 9 ประกอบ ทั้งในระดับกอง และระดับภาควิชา โดยควรคัดสรรมาจากตัวบ่งชี้ในระดับวิทยาลัยและเห็นด้วยกับการนำเกณฑ์รับรองสถาบันของสภาการพยาบาลและตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนของมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาพยาบาลศาสตร์ มาใช้ในการสร้างเป็นตัวบ่งชี้เพิ่มเติมให้สอดคล้องกับการดำเนินงานของกองการศึกษา ตัวบ่งขี้ในระดับกองมี 34 ตัวบ่งชี้ และระดับภาควิชามั 25 ร้อยละ 62.50 ส่วนที่มาของตัวบ่งชี้มาจากตัวบ่งชี้ระดับวิทยาลัยมากที่สุดในระดับกอง คิดเป็นร้อยละ 75.00 ผลการตรวจสอบคุณภาพของร่างตัวบ่งชี้การประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ IOC มากกว่า 0.70 ในทุกผลการทดลองใช้ พบว่า ตัวบ่งชี้ส่วนใหญ่มีค่าดัชนีความคิดเห็นสอดคล้องตรงกันในระดับปานกลางขึ้นไป ผลการทดลองใช้ พบว่า ทั้งในระดับกองและภาควิชาสามารถเขียนรายงานและประเมินตนเองได้ในทุกตัวบ่งชี้ ส่วนการเปรียบเทียบผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการประเมินตนอง พบว่า ในระดับกองมีความสอดคล้องกันคิดเป็นร้อยละ 94.28 ส่วนในระดับภาควิชา มีึว่ามสอดคล้องกันคิดเป็นร้อยละ 96.0 Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24954 การเลือกตั้งนักเรียนปกครองทางระบบออนไลน์ โดยใช้กูเกิลฟอร์ม / สุพัตรา วัชรเกตุ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การเลือกตั้งนักเรียนปกครองทางระบบออนไลน์ โดยใช้กูเกิลฟอร์ม : กรณีศึกษา วิทยาลัยพยาบาลทหารบก Original title : The election of student commanders via online system by using google from case study at the royal Thai army Nursing college Material Type: printed text Authors: สุพัตรา วัชรเกตุ, Author ; แพนนี่ ตรีวิเชียร, Author ; วีรพล ใบยา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.24-29 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.24-29Keywords: การเลือกตั้ง. นักเรียนปกครองทางระบบออนไลน์. วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก.กูเกิ้ลฟอร์ม. Abstract: การเลือกตั้งเป็นการส่งเสริมและพัฒนาภาวะผู้นำให้กับผู้เรียนโดยใช้วิธีการตามแนวระบอบประชาธิปไตยผ่านกาารเลือกตั้ง ซึ่งปัจจุบันจะเป็นการลงคะแนนเสียงแบบอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับกูเกิ้ล ได้พัฒนากูเกิ้ลฟอร์ม ซึ่งเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ออนไลน์ในการใช้สร้างแบบสอบถามที่ประยุกต์ใช้กับการลงคะแนนเสียง ซึ่งนับว่าเป็นทางเลือกหนึ่งที่ดีที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเลือกตั้งนักเรียนปกครองได้ เพราะจะทำให้ไม่มีบัตรเสียในการเลือกตั้ง สามารถประมวลผลได้ทันทีที่ทำให้เป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายสอดคล้องกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 และส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27209 [article] การเลือกตั้งนักเรียนปกครองทางระบบออนไลน์ โดยใช้กูเกิลฟอร์ม = The election of student commanders via online system by using google from case study at the royal Thai army Nursing college : กรณีศึกษา วิทยาลัยพยาบาลทหารบก [printed text] / สุพัตรา วัชรเกตุ, Author ; แพนนี่ ตรีวิเชียร, Author ; วีรพล ใบยา, Author . - 2017 . - p.24-29.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.24-29Keywords: การเลือกตั้ง. นักเรียนปกครองทางระบบออนไลน์. วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก.กูเกิ้ลฟอร์ม. Abstract: การเลือกตั้งเป็นการส่งเสริมและพัฒนาภาวะผู้นำให้กับผู้เรียนโดยใช้วิธีการตามแนวระบอบประชาธิปไตยผ่านกาารเลือกตั้ง ซึ่งปัจจุบันจะเป็นการลงคะแนนเสียงแบบอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับกูเกิ้ล ได้พัฒนากูเกิ้ลฟอร์ม ซึ่งเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ออนไลน์ในการใช้สร้างแบบสอบถามที่ประยุกต์ใช้กับการลงคะแนนเสียง ซึ่งนับว่าเป็นทางเลือกหนึ่งที่ดีที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเลือกตั้งนักเรียนปกครองได้ เพราะจะทำให้ไม่มีบัตรเสียในการเลือกตั้ง สามารถประมวลผลได้ทันทีที่ทำให้เป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายสอดคล้องกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 และส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27209 กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาลเพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจ ของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฏิบัติ ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สถาบันพระบรมราชชน / ชุลีพร ปิยสุทธิ์, / กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2539
Title : กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาลเพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจ ของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฏิบัติ ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สถาบันพระบรมราชชน Original title : Teaching activities of nursing instructors to empower nursing students in clinical practice as perceived by nursing students in Nursing Colleges, Praboromarajchanok Institute Material Type: printed text Authors: ชุลีพร ปิยสุทธิ์, (2508-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2539 Pagination: ก-ฏ, 136 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-636-394-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การพยาบาลศึกษา)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การรับรู้
[LCSH]การเสริมสร้างพลังอำนาจ
[LCSH]กิจกรรมการเรียน
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พยาบาล -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พยาบาล -- กิจกรรมการสอน
[LCSH]อาจารย์พยาบาลKeywords: การรับรู้.
อาจารย์พยาบาล.
นักศึกษาพยาบาล.
กิจการการสอน.
กิจกรรมการเรียน.Class number: WY18 ช247 2539 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฎิบัติ ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สถาบันพระบรมราชชนกและเปรียบเทียบการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์ เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาจำแนกตามระดับชั้นปีคะแนนเฉลี่ยสะสม และแบบการเรียนของนักศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 และ 4 จำนวน 618 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบบสอบถามเกี่ยวกับ แบบการเรียนของนักศึกษา และกิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษา ในการฝึกปฏิบัติที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงและความเที่ยงแล้ว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาในการฝึกภาคปฏิบัิติ ด้านการเสริมสร้างความมีอิสระแห่งวิชาชีพอยู่ในระดับสูง ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง
2. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมนร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 สูงกว่าของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิิติที่ระดับ .05
3. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของพยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่แตกต่างกัน
4. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลที่มีแบบการเรียนแตกต่างกัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 โดยที่นักศึกษาที่มีแบบการเรียนแบบอิสระ และแบบมีส่วนร่วม จะรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์ เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาได้สูงกว่านักศึกษาที่มีแบบการเรียนแบบหลีกเลี่ยง และพึ่งพา นักศึกษาที่มีแบบการเรียนแบบร่วมมือ จะรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาได้สูงกว่าที่มีแบบการเรียนแบบหลีกเลี่ยงRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23308 กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาลเพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจ ของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฏิบัติ ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สถาบันพระบรมราชชน = Teaching activities of nursing instructors to empower nursing students in clinical practice as perceived by nursing students in Nursing Colleges, Praboromarajchanok Institute [printed text] / ชุลีพร ปิยสุทธิ์, (2508-), Author . - กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 . - ก-ฏ, 136 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-636-394-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การพยาบาลศึกษา)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การรับรู้
[LCSH]การเสริมสร้างพลังอำนาจ
[LCSH]กิจกรรมการเรียน
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พยาบาล -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พยาบาล -- กิจกรรมการสอน
[LCSH]อาจารย์พยาบาลKeywords: การรับรู้.
อาจารย์พยาบาล.
นักศึกษาพยาบาล.
กิจการการสอน.
กิจกรรมการเรียน.Class number: WY18 ช247 2539 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฎิบัติ ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สถาบันพระบรมราชชนกและเปรียบเทียบการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์ เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาจำแนกตามระดับชั้นปีคะแนนเฉลี่ยสะสม และแบบการเรียนของนักศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 และ 4 จำนวน 618 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบบสอบถามเกี่ยวกับ แบบการเรียนของนักศึกษา และกิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษา ในการฝึกปฏิบัติที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงและความเที่ยงแล้ว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาในการฝึกภาคปฏิบัิติ ด้านการเสริมสร้างความมีอิสระแห่งวิชาชีพอยู่ในระดับสูง ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง
2. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมนร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 สูงกว่าของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิิติที่ระดับ .05
3. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของพยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่แตกต่างกัน
4. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาพยาบาลที่มีแบบการเรียนแตกต่างกัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 โดยที่นักศึกษาที่มีแบบการเรียนแบบอิสระ และแบบมีส่วนร่วม จะรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์ เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาได้สูงกว่านักศึกษาที่มีแบบการเรียนแบบหลีกเลี่ยง และพึ่งพา นักศึกษาที่มีแบบการเรียนแบบร่วมมือ จะรับรู้กิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาล เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของนักศึกษาได้สูงกว่าที่มีแบบการเรียนแบบหลีกเลี่ยงRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23308 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000384675 THE WY18 ช247 2539 Book Main Library General Shelf Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านนักศึกษาคุณลักษณะครูพี่เลี้ยงสภาพแวดล้อมทางคลินิกกับการเรียนภาคปฎิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข / นิตยา ยงภูมิพุทธา, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2543
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านนักศึกษาคุณลักษณะครูพี่เลี้ยงสภาพแวดล้อมทางคลินิกกับการเรียนภาคปฎิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : Relationships between student factors, preceptorship characteristic, clinical environment and happiness in clinical learning of nursing student, nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: นิตยา ยงภูมิพุทธา, (2516-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2543 Pagination: ก-ญ, 104 แผ่น Layout: แผนภูมิ, ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-130-938-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2543 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]การเรียนรู้ -- นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- จิตวิทยาKeywords: นักศึกษาพยาบาล.
การฝึกปฎิบัิติ.Class number: WY87 น534 2543 Abstract: ry ศึกษาการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาล และหาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยด้านนักศึกษา คุณลักษณะครูพี่เลี้ยง สภาพแวดล้อมทางคลินิก กับการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2, 3, 4 วิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 385 คน ได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดทัศนคติต่อวิชาชีพการพยาบาล แบบสอบถามคุณลักษณะครูพี่เลี้ยง แบบสอบถามสภาพแวดล้อมทางคลินิก และแบบวัดการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของ นักศึกษาพยาบาล ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและมีค่าความเที่ยง เท่ากับ .86, .93, .89 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย ความเบ้ ความโด่ง ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ แบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. นักศึกษาพยาบาลส่วนใหญ่มีคะแนนการเรียนภาคปฎิบัติอย่างมีความสุขค่อนไปทางข้างน้อยกว่าค่าเฉลี่ย 2. ปัจจัยด้านนักศึกษาได้แก่ จำนวนปีที่ศึกษา ทัศนคติต่อวิชาชีพการพยาบาล ปัจจัยคุณลักษณะครูพี่เลี้ยง ปัจจัยสภาพแวดล้อมทางคลินิก มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 กับการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาล (r = .123, .474, .486 และ .598 ตามลำดับ) ส่วนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่มีความสัมพันธ์กับการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาล 3. ปัจจัยที่สามารถร่วมกันพยากรณ์การเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือสภาพแวดล้อมทางคลินิก ทัศนคติต่อวิชาชีพการพยาบาล และคุณลักษณะครูพี่เลี้ยง โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 44.1 (R2 = .441) ได้สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานดังนี้ Zy = .408*Z ENV + .221*Z ATTI + .191*Z PRE Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23204 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านนักศึกษาคุณลักษณะครูพี่เลี้ยงสภาพแวดล้อมทางคลินิกกับการเรียนภาคปฎิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข = Relationships between student factors, preceptorship characteristic, clinical environment and happiness in clinical learning of nursing student, nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health [printed text] / นิตยา ยงภูมิพุทธา, (2516-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 . - ก-ญ, 104 แผ่น : แผนภูมิ, ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-130-938-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2543
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]การเรียนรู้ -- นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- จิตวิทยาKeywords: นักศึกษาพยาบาล.
การฝึกปฎิบัิติ.Class number: WY87 น534 2543 Abstract: ry ศึกษาการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาล และหาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยด้านนักศึกษา คุณลักษณะครูพี่เลี้ยง สภาพแวดล้อมทางคลินิก กับการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2, 3, 4 วิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 385 คน ได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดทัศนคติต่อวิชาชีพการพยาบาล แบบสอบถามคุณลักษณะครูพี่เลี้ยง แบบสอบถามสภาพแวดล้อมทางคลินิก และแบบวัดการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของ นักศึกษาพยาบาล ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและมีค่าความเที่ยง เท่ากับ .86, .93, .89 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย ความเบ้ ความโด่ง ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ แบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. นักศึกษาพยาบาลส่วนใหญ่มีคะแนนการเรียนภาคปฎิบัติอย่างมีความสุขค่อนไปทางข้างน้อยกว่าค่าเฉลี่ย 2. ปัจจัยด้านนักศึกษาได้แก่ จำนวนปีที่ศึกษา ทัศนคติต่อวิชาชีพการพยาบาล ปัจจัยคุณลักษณะครูพี่เลี้ยง ปัจจัยสภาพแวดล้อมทางคลินิก มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 กับการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาล (r = .123, .474, .486 และ .598 ตามลำดับ) ส่วนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่มีความสัมพันธ์กับการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาล 3. ปัจจัยที่สามารถร่วมกันพยากรณ์การเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือสภาพแวดล้อมทางคลินิก ทัศนคติต่อวิชาชีพการพยาบาล และคุณลักษณะครูพี่เลี้ยง โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีความสุขของนักศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 44.1 (R2 = .441) ได้สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานดังนี้ Zy = .408*Z ENV + .221*Z ATTI + .191*Z PRE Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23204 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355535 WY87 น534 2543 Thesis Main Library Thesis Corner Available