From this page you can:
Home |
Search results
16 result(s) search for keyword(s) 'ทัศนคติ.การรับรู้ความสามารถ.การควบคุมพฤติกรรม.การรับประทานยา.ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
อิทธิพลของทัศนคติ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง และการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมต่อความสม่ำเสมอ / สุขุมาล หอมวิเศษวงศา in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Vol.27 No.3 (Sep-Dec) 2015/2558 ([06/27/2016])
[article]
Title : อิทธิพลของทัศนคติ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง และการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมต่อความสม่ำเสมอ : ในการรับประทานยาในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ Original title : The influence of attitude subjective norm and perceived behavior control on medication in patients with coronary artery disease Material Type: printed text Authors: สุขุมาล หอมวิเศษวงศา, Author ; วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล, Author ; วิชชุดา เจริญกิจการ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.119-129 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Vol.27 No.3 (Sep-Dec) 2015/2558 [06/27/2016] . - p.119-129Keywords: ทัศนคติ.การรับรู้ความสามารถ.การควบคุมพฤติกรรม.การรับประทานยา.ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ. Link for e-copy: http://tci-thaijo.org/index.php/CUNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25538 [article] อิทธิพลของทัศนคติ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง และการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมต่อความสม่ำเสมอ = The influence of attitude subjective norm and perceived behavior control on medication in patients with coronary artery disease : ในการรับประทานยาในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ [printed text] / สุขุมาล หอมวิเศษวงศา, Author ; วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล, Author ; วิชชุดา เจริญกิจการ, Author . - 2016 . - p.119-129.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)SIU IS-T. การศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี ที่มีผลอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของกองบังคับการตำรวจจราจรกองบัญชาการตำรวจนครบาล / อนุสรณ์ พิมพ์สว่าง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี ที่มีผลอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของกองบังคับการตำรวจจราจรกองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : The Study of Attitudes and Behaviors of Vehicle Drivers using the Elevated Borommaratchachonnani Road Resulted from Traffic Congestion Solutions of Traffic Police Division, Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: อนุสรณ์ พิมพ์สว่าง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vi, 81 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-18
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบังคับการตำราวจจราจร
[LCSH]จราจรKeywords: ทัศนคติและพฤติกรรม,
การจราจร,
ผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีที่มีผลอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของกองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีที่มีผลอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของ กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล การศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 400 ตัวอย่างโดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบร้อยละ ในการสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราช เป็นการแจกแจงจำนวน (ความถี่) และร้อยละ จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจากข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีเป็นข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 26-35 ปี สถานภาพสมรสแล้วมีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพการทำงานเป็นพนักงานบริษัทเอกชน และรายได้อยู่ระหว่าง 20,001 - 30,000 บาท ในการสรุปผลการวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยที่สำคัญ 6 ด้าน ประกอบด้วย ด้านความบกพร่องทางด้านร่างกาย จิตใจและอารมณ์ ด้านความรู้ความชำนาญ และประสบการณ์ในการใช้ถนน ด้านปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือข้อบังคับ ด้านความระมัดระวัง หรือความไม่ประมาท ด้านสภาพสิ่งแวดล้อมด้านการบริหารและการจัดการที่ส่งผลต่อทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีที่มีผลอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของกองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยมีรายละเอียดดังนี้ ด้านความรู้ความชำนาญ และประสบการณ์ในการใช้ถนน ด้านความระมัดระวัง หรือความไม่ประมาท ด้านสภาพสิ่งแวดล้อม ด้านการบริหารและการจัดการ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีระดับพฤติกรรมของปัจจัยที่ส่งผลต่อผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของ กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือข้อบังคับ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีระดับพฤติกรรมของปัจจัยที่ส่งผลต่อผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของ กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีข้อเสนอแนะคือควรมีการศึกษาพฤติกรรมป้องกันอุบัติเหตุในการขับขี่รถยนต์ โดยศึกษาปัจจัยด้านอื่นๆ ที่มีผลต่อพฤติกรรมป้องกันอุบัติเหตุ ควรศึกษาพฤติกรรมการขับขี่ของผู้ขับขี่รถยนต์ ในเชิงคุณภาพให้มากขึ้น เพื่อนำสู่การแก้ไขปัญหาการเกิดอุบัติเหตุจราจรได้ Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26902 SIU IS-T. การศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี ที่มีผลอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของกองบังคับการตำรวจจราจรกองบัญชาการตำรวจนครบาล = The Study of Attitudes and Behaviors of Vehicle Drivers using the Elevated Borommaratchachonnani Road Resulted from Traffic Congestion Solutions of Traffic Police Division, Metropolitan Police Bureau [printed text] / อนุสรณ์ พิมพ์สว่าง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vi, 81 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-18
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบังคับการตำราวจจราจร
[LCSH]จราจรKeywords: ทัศนคติและพฤติกรรม,
การจราจร,
ผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีที่มีผลอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของกองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีที่มีผลอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของ กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล การศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 400 ตัวอย่างโดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบร้อยละ ในการสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราช เป็นการแจกแจงจำนวน (ความถี่) และร้อยละ จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจากข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีเป็นข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 26-35 ปี สถานภาพสมรสแล้วมีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพการทำงานเป็นพนักงานบริษัทเอกชน และรายได้อยู่ระหว่าง 20,001 - 30,000 บาท ในการสรุปผลการวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยที่สำคัญ 6 ด้าน ประกอบด้วย ด้านความบกพร่องทางด้านร่างกาย จิตใจและอารมณ์ ด้านความรู้ความชำนาญ และประสบการณ์ในการใช้ถนน ด้านปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือข้อบังคับ ด้านความระมัดระวัง หรือความไม่ประมาท ด้านสภาพสิ่งแวดล้อมด้านการบริหารและการจัดการที่ส่งผลต่อทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนีที่มีผลอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของกองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยมีรายละเอียดดังนี้ ด้านความรู้ความชำนาญ และประสบการณ์ในการใช้ถนน ด้านความระมัดระวัง หรือความไม่ประมาท ด้านสภาพสิ่งแวดล้อม ด้านการบริหารและการจัดการ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีระดับพฤติกรรมของปัจจัยที่ส่งผลต่อผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของ กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือข้อบังคับ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีระดับพฤติกรรมของปัจจัยที่ส่งผลต่อผู้ใช้ทางบนถนนคู่ขนานลอยฟ้าอันเกิดจากการแก้ไขปัญหาการจราจรของ กองบังคับการตำรวจจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีข้อเสนอแนะคือควรมีการศึกษาพฤติกรรมป้องกันอุบัติเหตุในการขับขี่รถยนต์ โดยศึกษาปัจจัยด้านอื่นๆ ที่มีผลต่อพฤติกรรมป้องกันอุบัติเหตุ ควรศึกษาพฤติกรรมการขับขี่ของผู้ขับขี่รถยนต์ ในเชิงคุณภาพให้มากขึ้น เพื่อนำสู่การแก้ไขปัญหาการเกิดอุบัติเหตุจราจรได้ Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26902 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593903 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-18 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593879 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-18 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี / ณัฐพงศ์ ขอจุลซ้วน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Resident’s Attitudes toward Services from Traffic Police in Ta-Chana District, Surattani Province Material Type: printed text Authors: ณัฐพงศ์ ขอจุลซ้วน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2015 Pagination: x, 100 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- สุราษฎร์ธานี -- ท่าชนะ
[LCSH]ตำรวจจราจร
[LCSH]ประชาชน -- ทัศนคติ -- ตำรวจKeywords: ทัศนคติ,
การบริการ,
ตำรวจจราจรAbstract: การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และศึกษาข้อเสนอแนะของประชาชน เพื่อปรับปรุงการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจร ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากประชาชนในเขตอำเภอท่าชนะ จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t-test, F-test
ผลการวิจัยพบว่า การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านความเชื่อมั่นไว้วางใจได้ ด้านการให้ความมั่นใจ ด้านการเข้าใจและรู้จัก ด้านความเป็นรูปธรรม และด้านการตอบสนอง ตามลำดับการเปรียบเทียบการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ สถานภาพ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน ข้อเสนอแนะของประชาชนในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน พบว่า สัญญาณไฟจราจรควรเป็นแบบตัวเลข จัดทำป้ายหรือเครื่องหมายจราจรให้ชัดเจน ตำรวจจราจรปฏิบัติหน้าที่อย่างเสมอภาคและมีความซื่อสัตย์สุจริต ในการปฏิบัติหน้าที่รับฟังความคิดเห็นของประชาชน แสดงกิริยามารยาทที่ดีต่อประชาชน และไปถึงที่เกิดเหตุให้รวดเร็ว ควรจัดหาวิธีที่ทำให้ประชาชนมีความรู้สึกปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และควบคุมการจราจรอย่างสม่ำเสมอCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26660 SIU IS-T. การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี = Resident’s Attitudes toward Services from Traffic Police in Ta-Chana District, Surattani Province [printed text] / ณัฐพงศ์ ขอจุลซ้วน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015 . - x, 100 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- สุราษฎร์ธานี -- ท่าชนะ
[LCSH]ตำรวจจราจร
[LCSH]ประชาชน -- ทัศนคติ -- ตำรวจKeywords: ทัศนคติ,
การบริการ,
ตำรวจจราจรAbstract: การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และศึกษาข้อเสนอแนะของประชาชน เพื่อปรับปรุงการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจร ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากประชาชนในเขตอำเภอท่าชนะ จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t-test, F-test
ผลการวิจัยพบว่า การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านความเชื่อมั่นไว้วางใจได้ ด้านการให้ความมั่นใจ ด้านการเข้าใจและรู้จัก ด้านความเป็นรูปธรรม และด้านการตอบสนอง ตามลำดับการเปรียบเทียบการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ สถานภาพ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน ข้อเสนอแนะของประชาชนในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน พบว่า สัญญาณไฟจราจรควรเป็นแบบตัวเลข จัดทำป้ายหรือเครื่องหมายจราจรให้ชัดเจน ตำรวจจราจรปฏิบัติหน้าที่อย่างเสมอภาคและมีความซื่อสัตย์สุจริต ในการปฏิบัติหน้าที่รับฟังความคิดเห็นของประชาชน แสดงกิริยามารยาทที่ดีต่อประชาชน และไปถึงที่เกิดเหตุให้รวดเร็ว ควรจัดหาวิธีที่ทำให้ประชาชนมีความรู้สึกปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และควบคุมการจราจรอย่างสม่ำเสมอCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26660 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593168 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-06 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593135 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-06 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ทัศนคติของประชาชนต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล กรณีศึกษา : เทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี / สุภาพร แย้มกลิ่น / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU IS-T Title : ทัศนคติของประชาชนต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล กรณีศึกษา : เทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี : People’s Attitudes toward Governance Administration : A Case of Nonthaburi Municipal, Nonthaburi Province Material Type: printed text Authors: สุภาพร แย้มกลิ่น, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: viii, 85 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2018-01
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ทัศนคติ
[LCSH]ธรรมาภิบาลKeywords: ทัศนคติ, การบริหาร, ธรรมภิบาล Abstract: วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาระดับทัศนคติและเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล กรณีศึกษาเทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จากผู้ใช้บริการที่เทศบาลนครนนทบุรี จำนวน 400 คน วิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และทดสอบตัวแปรและสมมติฐานโดยใช้สถิติ
t – test, F – test ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง มีอายุอยู่ระหว่าง 41 - 50 ปี มีสถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพเป็นพนักงานบริษัท รายได้เฉลี่ยต่อเดือนสูงกว่า 15,000 บาท ผลวิจัยยังพบว่าประชาชนผู้ใช้บริการมีทัศนคติต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลเทศบาลนครนนทบุรีจังหวัดนนทบุรีอยู่ในระดับดี โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ มีหลักนิติธรรม หลักความคุ้มค่า หลักความรับผิดชอบ หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม และหลักคุณธรรม ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีผลต่อทัศนคติต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลเทศบาลนครนนทบุรีจังหวัดนนทบุรีแตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27773 SIU IS-T. ทัศนคติของประชาชนต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล กรณีศึกษา : เทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี : People’s Attitudes toward Governance Administration : A Case of Nonthaburi Municipal, Nonthaburi Province [printed text] / สุภาพร แย้มกลิ่น, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - viii, 85 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2018-01
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ทัศนคติ
[LCSH]ธรรมาภิบาลKeywords: ทัศนคติ, การบริหาร, ธรรมภิบาล Abstract: วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาระดับทัศนคติและเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล กรณีศึกษาเทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จากผู้ใช้บริการที่เทศบาลนครนนทบุรี จำนวน 400 คน วิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และทดสอบตัวแปรและสมมติฐานโดยใช้สถิติ
t – test, F – test ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง มีอายุอยู่ระหว่าง 41 - 50 ปี มีสถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพเป็นพนักงานบริษัท รายได้เฉลี่ยต่อเดือนสูงกว่า 15,000 บาท ผลวิจัยยังพบว่าประชาชนผู้ใช้บริการมีทัศนคติต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลเทศบาลนครนนทบุรีจังหวัดนนทบุรีอยู่ในระดับดี โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ มีหลักนิติธรรม หลักความคุ้มค่า หลักความรับผิดชอบ หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม และหลักคุณธรรม ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีผลต่อทัศนคติต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลเทศบาลนครนนทบุรีจังหวัดนนทบุรีแตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27773 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597821 SIU IS-T: IPAG-MPA-2018-01 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Due for return by 06/22/2024 32002000597797 SIU IS-T: IPAG-MPA-2018-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอย บริเวณแยกราชประสงค์ / สุกัญญา สุขะเต / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอย บริเวณแยกราชประสงค์ Original title : Attitudes of People towards Policy in Arranging Hawkers and Street Vendors at the Ratchaprasong Intersection Material Type: printed text Authors: สุกัญญา สุขะเต, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 84 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-05
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดระเบียบชุมชน
[LCSH]ประชากร -- ทัศนคติ -- หาบเร่แผงลอยKeywords: ทัศนคติ,
หาบเร่แผงลอย,
นโยบายAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ และเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนผู้ใช้เส้นทางบริเวณแยกราชประสงค์ จำนวน 300 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ ทั้ง 5 ด้าน ในภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก เมื่อแยกเป็นรายด้าน อันดับแรกคือ ด้านความเข้าใจ รองลงมาคือ ด้านการจัดสภาพแวดล้อม ด้านนโยบาย ด้านพฤติกรรม และด้านความรู้สึก เป็นอันดับสุดท้าย ผลการทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ พบว่า ประชาชนที่มีเพศ และรายได้ต่างกัน มีทัศนคติต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ ไม่แตกต่างกัน ส่วนประชาชนที่มีอายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน มีทัศนคติต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณราชประสงค์ แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26728 SIU IS-T. ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอย บริเวณแยกราชประสงค์ = Attitudes of People towards Policy in Arranging Hawkers and Street Vendors at the Ratchaprasong Intersection [printed text] / สุกัญญา สุขะเต, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 84 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-05
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดระเบียบชุมชน
[LCSH]ประชากร -- ทัศนคติ -- หาบเร่แผงลอยKeywords: ทัศนคติ,
หาบเร่แผงลอย,
นโยบายAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ และเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนผู้ใช้เส้นทางบริเวณแยกราชประสงค์ จำนวน 300 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ ทั้ง 5 ด้าน ในภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก เมื่อแยกเป็นรายด้าน อันดับแรกคือ ด้านความเข้าใจ รองลงมาคือ ด้านการจัดสภาพแวดล้อม ด้านนโยบาย ด้านพฤติกรรม และด้านความรู้สึก เป็นอันดับสุดท้าย ผลการทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชนที่มีต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ พบว่า ประชาชนที่มีเพศ และรายได้ต่างกัน มีทัศนคติต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณแยกราชประสงค์ ไม่แตกต่างกัน ส่วนประชาชนที่มีอายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน มีทัศนคติต่อนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยบริเวณราชประสงค์ แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26728 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593341 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-05 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593317 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-05 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / ปิติทัต กงทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Factors that Effected for Preventing and Suppressing of Prostitution of Police Sub-Division 4 ATI-Human Trafficking Division, Central Investigation Bureau, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ปิติทัต กงทอง, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 88 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันKeywords: การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
ความผูกพันกับองค์การ
ทัศนคติของผู้บังคับบัญชา
ความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่
การสื่อสารAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับปัจจัยด้านการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ มีผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36-45 ปีขึ้นไป ได้มีการสมรสแล้วเป็นส่วนใหญ่และส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี และมีรายได้ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 10,001 – 20,000 บาท โดยส่วนใหญ่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี และจากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สรุปผลการวิจัยแต่ละปัจจัยหลักมีลำดับความสำคัญดังนี้คือ ลำดับแรก ได้แก่ ด้านความผูกพันสัมพันธ์กับองค์การมีความสำคัญ ลำดับที่สอง ได้แก่ ด้านความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ลำดับที่สาม ได้แก่ ด้านทัศนคติของผู้บังคับบัญชา ลำดับที่สี่ ด้านการสื่อสาร วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ โดยทั้งสี่ลำดับนี้ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบอบถามให้ความสำคัญอยู่ระดับมาก ลำดับที่สี่ ได้แก่ ด้านอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ และลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านการจัดสรรงบประมาณ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาค้นคว้าไปใช้ คือ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน โดยการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมให้มีความพร้อมในเรื่องการสร้างประสบการณ์ในการทำงานด้านการป้องกันและการปราบปรามการค้าประเวณี การเสริมรายได้ไปพร้อม ๆ กับการวางแผนการใช้จ่ายต่อเดือน ส่งเสริมให้ลาศึกษาต่อและฝึกอบรมในด้านที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนให้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เหมาะสม และส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินงานใน ปัจจัยต่าง ๆ คือ ปัจจัยทางด้านนโยบาย ด้านมาตรการการปฏิบัติ
ด้านกฎหมาย ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ และด้านบุคลากร ได้แก่ การทบทวนนโยบาย มาตรการ การจัดระบบขั้นตอนที่เกี่ยวข้องให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี การให้รางวัลและการคุ้มครองเป็นพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ของภาครัฐและประชาชนที่ให้ความร่วมมือในการปราบปรามการค้าประเวณี การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีและการแสวงหาแนวร่วมภาคประชาชน ในการป้องกันปราบปรามการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีให้มากขึ้น โดยการสร้างความร่วมมือกับองค์การ ภาคีต่าง ๆ ทั้ง ภาครัฐ ประชาชน ชุมชน และภาคเอกชน การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทั้งจำนวนที่เหมาะสมและการพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการดำเนินงาน ตลอดจนมีความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26537 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Factors that Effected for Preventing and Suppressing of Prostitution of Police Sub-Division 4 ATI-Human Trafficking Division, Central Investigation Bureau, Royal Thai Police [printed text] / ปิติทัต กงทอง, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 88 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันKeywords: การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
ความผูกพันกับองค์การ
ทัศนคติของผู้บังคับบัญชา
ความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่
การสื่อสารAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับปัจจัยด้านการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ มีผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36-45 ปีขึ้นไป ได้มีการสมรสแล้วเป็นส่วนใหญ่และส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี และมีรายได้ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 10,001 – 20,000 บาท โดยส่วนใหญ่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี และจากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สรุปผลการวิจัยแต่ละปัจจัยหลักมีลำดับความสำคัญดังนี้คือ ลำดับแรก ได้แก่ ด้านความผูกพันสัมพันธ์กับองค์การมีความสำคัญ ลำดับที่สอง ได้แก่ ด้านความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ลำดับที่สาม ได้แก่ ด้านทัศนคติของผู้บังคับบัญชา ลำดับที่สี่ ด้านการสื่อสาร วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ โดยทั้งสี่ลำดับนี้ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบอบถามให้ความสำคัญอยู่ระดับมาก ลำดับที่สี่ ได้แก่ ด้านอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ และลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านการจัดสรรงบประมาณ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาค้นคว้าไปใช้ คือ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน โดยการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมให้มีความพร้อมในเรื่องการสร้างประสบการณ์ในการทำงานด้านการป้องกันและการปราบปรามการค้าประเวณี การเสริมรายได้ไปพร้อม ๆ กับการวางแผนการใช้จ่ายต่อเดือน ส่งเสริมให้ลาศึกษาต่อและฝึกอบรมในด้านที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนให้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เหมาะสม และส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินงานใน ปัจจัยต่าง ๆ คือ ปัจจัยทางด้านนโยบาย ด้านมาตรการการปฏิบัติ
ด้านกฎหมาย ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ และด้านบุคลากร ได้แก่ การทบทวนนโยบาย มาตรการ การจัดระบบขั้นตอนที่เกี่ยวข้องให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี การให้รางวัลและการคุ้มครองเป็นพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ของภาครัฐและประชาชนที่ให้ความร่วมมือในการปราบปรามการค้าประเวณี การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีและการแสวงหาแนวร่วมภาคประชาชน ในการป้องกันปราบปรามการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีให้มากขึ้น โดยการสร้างความร่วมมือกับองค์การ ภาคีต่าง ๆ ทั้ง ภาครัฐ ประชาชน ชุมชน และภาคเอกชน การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทั้งจำนวนที่เหมาะสมและการพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการดำเนินงาน ตลอดจนมีความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26537 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591790 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591808 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล / ไตรรัตน์ ธนะประกอบกรณ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล Original title : The Influence of Artificial Intelligence on Customers of Thai Commercial Banks: A Case Study of Customers in Bangkok Metropolitan Area Material Type: printed text Authors: ไตรรัตน์ ธนะประกอบกรณ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xxvii, 312 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2019-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ธนาคารพาณิชย์ -- ไทย -- กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
[LCSH]ปัญญาประดิษฐ์ -- ผลกระทบ
[LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภคKeywords: ทัศนคติ, พฤติกรรมการใช้บริการ, คุณภาพบริการ, ผลิตภัณฑ์/บริการ,
ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์Abstract: การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ ปัจจัยคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์/บริการ และผลกระทบของการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการทางด้านการเงินกับผู้ใช้บริการ 2) เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบของปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ ปัจจัยคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์/บริการที่มีต่อการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการทางด้านการเงินกับผู้ใช้บริการ โดยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์ไทยเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 405 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน คือ การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ (Multiple Linear Regression Analysis) เพื่อทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์ไทยเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31-40 ปี ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ปริญญาโท อาชีพส่วนใหญ่เป็นเจ้าของกิจการ/ธุรกิจส่วนตัว ระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนส่วนใหญ่ 30,001-40,000 บาท ธนาคารพาณิชย์ไทยที่ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) และประเภทของบริการทางด้านการเงินที่ใช้บริการ ส่วนใหญ่โอนเงินระหว่างบัญชี นอกเหนือจากการใช้บริการที่เคาน์เตอร์ธนาคาร ช่องทางการให้บริการทางด้านการเงินอื่นที่ท่านใช้บริการ ส่วนใหญ่ผ่านช่องทางเครื่องเอทีเอ็ม รองลงมาโทรศัพท์เคลื่อนที่
ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยด้านทัศนคติ 2) ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ3) ปัจจัยคุณภาพบริการ และ 4) ปัจจัยผลิตภัณฑ์/บริการมีอิทธิพลต่อผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ที่มีต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ดังนั้นสถาบันการเงินสามารถนำผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการพิจารณาวางแผนแก้ไข และพัฒนาการออกแบบกลยุทธ์ทางการตลาดที่เป็นการขยายช่องทางการให้บริการทางการเงินที่สามารถตอบสนองความพึงพอใจให้กับลูกค้าผู้ใช้บริการได้อย่างทั่วถึงและสอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้อย่างยั่งยืนCurricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27933 SIU THE-T. ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล = The Influence of Artificial Intelligence on Customers of Thai Commercial Banks: A Case Study of Customers in Bangkok Metropolitan Area [printed text] / ไตรรัตน์ ธนะประกอบกรณ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xxvii, 312 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2019-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ธนาคารพาณิชย์ -- ไทย -- กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
[LCSH]ปัญญาประดิษฐ์ -- ผลกระทบ
[LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภคKeywords: ทัศนคติ, พฤติกรรมการใช้บริการ, คุณภาพบริการ, ผลิตภัณฑ์/บริการ,
ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์Abstract: การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ ปัจจัยคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์/บริการ และผลกระทบของการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการทางด้านการเงินกับผู้ใช้บริการ 2) เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบของปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ ปัจจัยคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์/บริการที่มีต่อการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการทางด้านการเงินกับผู้ใช้บริการ โดยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์ไทยเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 405 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน คือ การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ (Multiple Linear Regression Analysis) เพื่อทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์ไทยเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31-40 ปี ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ปริญญาโท อาชีพส่วนใหญ่เป็นเจ้าของกิจการ/ธุรกิจส่วนตัว ระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนส่วนใหญ่ 30,001-40,000 บาท ธนาคารพาณิชย์ไทยที่ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) และประเภทของบริการทางด้านการเงินที่ใช้บริการ ส่วนใหญ่โอนเงินระหว่างบัญชี นอกเหนือจากการใช้บริการที่เคาน์เตอร์ธนาคาร ช่องทางการให้บริการทางด้านการเงินอื่นที่ท่านใช้บริการ ส่วนใหญ่ผ่านช่องทางเครื่องเอทีเอ็ม รองลงมาโทรศัพท์เคลื่อนที่
ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยด้านทัศนคติ 2) ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ3) ปัจจัยคุณภาพบริการ และ 4) ปัจจัยผลิตภัณฑ์/บริการมีอิทธิพลต่อผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ที่มีต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ดังนั้นสถาบันการเงินสามารถนำผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการพิจารณาวางแผนแก้ไข และพัฒนาการออกแบบกลยุทธ์ทางการตลาดที่เป็นการขยายช่องทางการให้บริการทางการเงินที่สามารถตอบสนองความพึงพอใจให้กับลูกค้าผู้ใช้บริการได้อย่างทั่วถึงและสอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้อย่างยั่งยืนCurricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27933 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607978 SIU THE-T: SOM-DBA-2019-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607977 SIU THE-T: SOM-DBA-2019-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม / สาคร เหล็กแย้ม in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม : การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ Material Type: printed text Authors: สาคร เหล็กแย้ม, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, Author ; ผจงจิต ไกรถาวร, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.126-137 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.126-137Keywords: ความรู้. ทัศนคติ. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร. ภาวะน้ำหนักเกิน. โปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ. Abstract: วัตถุประสงค์: ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชน
สัมพันธ์ในระยะ 3 เดือน และเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ของผู้ที่มีน้ำหนักเกิน ก่อนและหลัง
เข้าร่วมโปรแกรมในระยะ 3 เดือน 6 เดือน และ1 ปี
การออกแบบวิจัย : การวิจัยเชิงพรรณนาติดตามระยะยาว
การดำเนินการวิจัย : ตัวอย่างจำนวน 79 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจง และได้รับโปรแกรม
ให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการ
ประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง
ผลการวิจัย: ผลการทดสอบทีคู่พบว่าหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน ค่าเฉลี่ยของความรู้
ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของตัวอย่างดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < .001) ผลสถิติ
วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำภาวะโภชนาการหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี
ดีกว่า พบว่าค่าเฉลี่ยของดัชนีมวลกาย ( p <.001) ค่าเฉลี่ยของเส้นรอบเอว ( p< .001) ค่าเฉลี่ยของ
ระดับน้ำตาลในเลือด (p<.001) และค่าเฉลี่ยปริมาณไขมันสะสมในร่างกาย ( p< .001) น้อยกว่าก่อน
เข้าร่วมโปรแกรม
ข้อเสนอแนะ : พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนควรปรับใช้โปรแกรมการให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ
และชุมชนสัมพันธ์ ในการประเมินและส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชนในชุมชน
ที่มีน้ำหนักเกิน รวมทั้งวางแผน หาแนวทางที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละชุมชน ติดตาม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลต่อภาวะ
โภชนาการที่เหมาะสมและยั่งยืน
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27360 [article] การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม : การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ [printed text] / สาคร เหล็กแย้ม, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, Author ; ผจงจิต ไกรถาวร, Author . - 2017 . - p.126-137.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.126-137Keywords: ความรู้. ทัศนคติ. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร. ภาวะน้ำหนักเกิน. โปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ. Abstract: วัตถุประสงค์: ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชน
สัมพันธ์ในระยะ 3 เดือน และเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ของผู้ที่มีน้ำหนักเกิน ก่อนและหลัง
เข้าร่วมโปรแกรมในระยะ 3 เดือน 6 เดือน และ1 ปี
การออกแบบวิจัย : การวิจัยเชิงพรรณนาติดตามระยะยาว
การดำเนินการวิจัย : ตัวอย่างจำนวน 79 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจง และได้รับโปรแกรม
ให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการ
ประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง
ผลการวิจัย: ผลการทดสอบทีคู่พบว่าหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน ค่าเฉลี่ยของความรู้
ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของตัวอย่างดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < .001) ผลสถิติ
วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำภาวะโภชนาการหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี
ดีกว่า พบว่าค่าเฉลี่ยของดัชนีมวลกาย ( p <.001) ค่าเฉลี่ยของเส้นรอบเอว ( p< .001) ค่าเฉลี่ยของ
ระดับน้ำตาลในเลือด (p<.001) และค่าเฉลี่ยปริมาณไขมันสะสมในร่างกาย ( p< .001) น้อยกว่าก่อน
เข้าร่วมโปรแกรม
ข้อเสนอแนะ : พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนควรปรับใช้โปรแกรมการให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ
และชุมชนสัมพันธ์ ในการประเมินและส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชนในชุมชน
ที่มีน้ำหนักเกิน รวมทั้งวางแผน หาแนวทางที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละชุมชน ติดตาม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลต่อภาวะ
โภชนาการที่เหมาะสมและยั่งยืน
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27360 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติต่อวิชาชีพ รูปแบบการใช้ชีวิตของนักศึกษา / ยุคลธร แจ่มฤทธิ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติต่อวิชาชีพ รูปแบบการใช้ชีวิตของนักศึกษา : การดูแลนักศึกษาของอาจารย์ และบรรยากาศการเรียนรู้ กับการใฝ่รู้ของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : Relationships between personal factors professional attitudes nursing students : life styles instructor's caring behavior and learning climates with inquiry of nursing students nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: ยุคลธร แจ่มฤทธิ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ฎ, 165 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-170-201-9 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การพยาบาลศึกษา]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]การเรียนรู้
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: วิชาชีพพยาบาล.
ทัศนคติ.
วิทยานิพนธ์.Class number: WY125 ย641 2544 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23119 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติต่อวิชาชีพ รูปแบบการใช้ชีวิตของนักศึกษา = Relationships between personal factors professional attitudes nursing students : life styles instructor's caring behavior and learning climates with inquiry of nursing students nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health : การดูแลนักศึกษาของอาจารย์ และบรรยากาศการเรียนรู้ กับการใฝ่รู้ของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข [printed text] / ยุคลธร แจ่มฤทธิ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ฎ, 165 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-170-201-9 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การพยาบาลศึกษา]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]การเรียนรู้
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: วิชาชีพพยาบาล.
ทัศนคติ.
วิทยานิพนธ์.Class number: WY125 ย641 2544 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23119 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354454 WY125 ย641 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษากับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข / ธิดารัตน์ คำบุญ, 2521- / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษากับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : Relationships between attitude toward nursing profession, perceived student affairs management, and characteristics of effective nursing students, nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: ธิดารัตน์ คำบุญ, 2521-, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ญ, 114 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-179-770-2 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]]-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติKeywords: ทัศนคติ
วิชาชีพพยาบาล.
นักศึกษาพยาบาล.
วิทยาลัยพยาบาล.Class number: WY100 ธ434 2545 Abstract: การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา ความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล และหาความสัมพันธ์ระหว่าง เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา กับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลที่กำลังศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ชั้นปีที่ 1, 2, 3 และ 4 จำนวน 385 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล แบบสอบถามการรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา และแบบวัดความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาความเที่ยงของแบบสอบถามโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคมีค่าความเที่ยง เท่ากับ .82, .88 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาคะแนนเต็ม คะแนนสูงสุด คะแนนต่ำสุด ค่าเฉลี่ย ร้อยละของค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความเบ้ ความโด่งและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านลักษณะวิชาชีพ และร้อยละของค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านความสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน ผู้ป่วยและญาติ 2. การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษาของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ งานการจัดปฐมนิเทศนักศึกษา งานบริการแนะแนว และงานบริการอนามัย 3. ความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ร่วมแรงร่วมใจ เข้าใจผู้อื่น และเตรียมพร้อมตลอดเวลา 4. เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล และการรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา มีความสัมพันธ์ทางบวก กับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = .475 และ .391 ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23188 ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษากับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข = Relationships between attitude toward nursing profession, perceived student affairs management, and characteristics of effective nursing students, nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health [printed text] / ธิดารัตน์ คำบุญ, 2521-, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ญ, 114 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-179-770-2 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]]-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติKeywords: ทัศนคติ
วิชาชีพพยาบาล.
นักศึกษาพยาบาล.
วิทยาลัยพยาบาล.Class number: WY100 ธ434 2545 Abstract: การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา ความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล และหาความสัมพันธ์ระหว่าง เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา กับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลที่กำลังศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ชั้นปีที่ 1, 2, 3 และ 4 จำนวน 385 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล แบบสอบถามการรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา และแบบวัดความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาความเที่ยงของแบบสอบถามโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคมีค่าความเที่ยง เท่ากับ .82, .88 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาคะแนนเต็ม คะแนนสูงสุด คะแนนต่ำสุด ค่าเฉลี่ย ร้อยละของค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความเบ้ ความโด่งและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านลักษณะวิชาชีพ และร้อยละของค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านความสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน ผู้ป่วยและญาติ 2. การรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษาของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกคือ งานการจัดปฐมนิเทศนักศึกษา งานบริการแนะแนว และงานบริการอนามัย 3. ความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาล ที่มีร้อยละของค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ร่วมแรงร่วมใจ เข้าใจผู้อื่น และเตรียมพร้อมตลอดเวลา 4. เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล และการรับรู้การดำเนินการด้านกิจการนักศึกษา มีความสัมพันธ์ทางบวก กับความเป็นผู้มีประสิทธิผลของนักศึกษาพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = .475 และ .391 ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23188 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383784 WY100 ธ434 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available ปัจจัยทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง / วิภาภรณ์ วังวรตระกูล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง : นผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ Original title : Factors for predicting to medication adherence among patients with essential hypertension Material Type: printed text Authors: วิภาภรณ์ วังวรตระกูล, Author ; นันทวัน สุวรรณรูป, Author ; กนกพร หมู่พยัคฆ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.131-139 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.131-139Keywords: โรคความดันโลหิตสูง.ปัจจัยทำนาย.การรับประทานยาอย่างสมำ่เสมอต่อเนื่อง.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง. Abstract: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของปัจจัยการรับรู้สมรรถนะแห่งตน การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา การได้รับขอ้มูลข่าวสารเกี่ยวกับการรับประทานยา และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์ต่อการรับประทานยาอย่างสมำ่เสมอต่อเนื่องในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ จำนวน 128 ราย ทีี่มารับบริการที่หน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในกรุงเทพฯ และโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดนนทบุรี เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ.
ผลการวิจัย พบว่า การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ ส่่วนใหญ่อยู่ในระดับต่ำ ร้อยละ 61 การรับรู้สมรรถนะตนเอง การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา การได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการรับประทานยา และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 63.30,66.40,69.50 และ 69.50 ตามลำดับ สามารถร่วมกันทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องของตัวอย่างได้ร้อยละ 21 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิิติฯ โดยพบว่า การรับรู้สมรรถนะแห่งตนสามารถทำนายได้มากที่สุด รองลงมาคือ การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา.Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26749 [article] ปัจจัยทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง = Factors for predicting to medication adherence among patients with essential hypertension : นผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ [printed text] / วิภาภรณ์ วังวรตระกูล, Author ; นันทวัน สุวรรณรูป, Author ; กนกพร หมู่พยัคฆ์, Author . - 2017 . - p.131-139.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.131-139Keywords: โรคความดันโลหิตสูง.ปัจจัยทำนาย.การรับประทานยาอย่างสมำ่เสมอต่อเนื่อง.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง. Abstract: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของปัจจัยการรับรู้สมรรถนะแห่งตน การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา การได้รับขอ้มูลข่าวสารเกี่ยวกับการรับประทานยา และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์ต่อการรับประทานยาอย่างสมำ่เสมอต่อเนื่องในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ จำนวน 128 ราย ทีี่มารับบริการที่หน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในกรุงเทพฯ และโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดนนทบุรี เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ.
ผลการวิจัย พบว่า การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ ส่่วนใหญ่อยู่ในระดับต่ำ ร้อยละ 61 การรับรู้สมรรถนะตนเอง การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา การได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการรับประทานยา และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 63.30,66.40,69.50 และ 69.50 ตามลำดับ สามารถร่วมกันทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องของตัวอย่างได้ร้อยละ 21 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิิติฯ โดยพบว่า การรับรู้สมรรถนะแห่งตนสามารถทำนายได้มากที่สุด รองลงมาคือ การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา.Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26749 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชัก / ชุติมาภรณ์ กังวาฬ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชัก Original title : Factors Related to Medication Adherence among Children with Epilepsy Material Type: printed text Authors: ชุติมาภรณ์ กังวาฬ, Author ; ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล, Author ; วันทนา มณีศรีวงศ์กูล, Author ; อนันต์นิตย์ วิสุทธิพันธ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.44-59 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.44-59Keywords: การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ. เด็กโรคลมชัก. ผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก. Abstract: การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับประทานยากันชักอย่างสม่ำเสมอและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยากันชักอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชักกลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กและผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก จำนวน 109 คู่ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ตามเกณฑ์ที่กำหนด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของเด็กและผู้ดูแลแบบประเมินความสม่ำเสมอในการรับประทานยา แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้ยาบำบัดโรค และแบบสอบถามความรู้โรคลมชักของผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก ผลการศึกษา พบว่า เด็กโรคลมชักร้อยละ 92.70 มีการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ ความรู้เกี่ยวกับโรคลมชักของผู้ดูแล ชนิดของ
การรักษาด้วยยา และความถี่ในการรับประทานยาต่อวัน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอในเด็กโรคลมชักอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนระยะเวลาในการเจ็บป่วย ความพึงพอใจในการใช้ยาของผ้ดูแล ไม่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่่ำเสมอในเด็กโรคลมชัก ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือควรมีการประเมินและส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีความรู้เกี่ยวกับโรคลมชัก และควรหาวิธีส่งเสริมการรับประทานยาอย่างสมLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26993 [article] ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชัก = Factors Related to Medication Adherence among Children with Epilepsy [printed text] / ชุติมาภรณ์ กังวาฬ, Author ; ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล, Author ; วันทนา มณีศรีวงศ์กูล, Author ; อนันต์นิตย์ วิสุทธิพันธ์, Author . - 2017 . - p.44-59.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.44-59Keywords: การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ. เด็กโรคลมชัก. ผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก. Abstract: การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับประทานยากันชักอย่างสม่ำเสมอและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยากันชักอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชักกลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กและผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก จำนวน 109 คู่ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ตามเกณฑ์ที่กำหนด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของเด็กและผู้ดูแลแบบประเมินความสม่ำเสมอในการรับประทานยา แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้ยาบำบัดโรค และแบบสอบถามความรู้โรคลมชักของผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก ผลการศึกษา พบว่า เด็กโรคลมชักร้อยละ 92.70 มีการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ ความรู้เกี่ยวกับโรคลมชักของผู้ดูแล ชนิดของ
การรักษาด้วยยา และความถี่ในการรับประทานยาต่อวัน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอในเด็กโรคลมชักอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนระยะเวลาในการเจ็บป่วย ความพึงพอใจในการใช้ยาของผ้ดูแล ไม่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่่ำเสมอในเด็กโรคลมชัก ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือควรมีการประเมินและส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีความรู้เกี่ยวกับโรคลมชัก และควรหาวิธีส่งเสริมการรับประทานยาอย่างสมLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26993 ปัจจัยที่มีอิทธพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิต in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิต : ของผู้ป่วยโรคหลอดเลิือดหัวใจ Original title : The factor inuencing the self-care agency and quality of life of patients with coronary artery disease Material Type: printed text Publication Date: 2015 Article on page: pp.104-118 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.104-118Keywords: ความสามารถในการดูแลตนเอง. คุณภาพชีวิต.ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ. Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ คัดเลิือกกลุ่มตัวอย่างโรคหลอดเลือดหัวใจแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 99 คน ที่มาใช้บริการ คลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ 1.แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2.แบบวัดความสามรถในการดูแลตนเอง 3.แบบสอบถามคุณภาพชีวิตวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงบรรยาย และ Multiple regression ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 70.4 มีีคะแนน ความสามารถในการด฿ูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโรคหลอดเลือดหัวใจแบบเฺฉพาะเ้จาะจง จำนวน 99 คน ที่มาใช้บริการคลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ 1. แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2.แบบวัดความสามารถในการดูแลตนเอง และ 3. แบบสอบถามคุณภาพชีวิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงบรรยาย และ Multiple Regression ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 70.4 มีคะแนนความสามารถในการดูแลตนเองอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ (Mean=20.05 SD=9.84) คะแนนคุณภาพชีวิต รายด้านทีมีคะแนนในระดับดี คือด้านครอบครัว และพบว่า ระดับการศึกษา การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และ คะแนนความสามารถในการดูแลตนเอง เป็นปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลิือดหัวใจที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ .039 และอำนาจในการทำนายร้อยละ 56. ผลการศึกษาครั้งนี้ ช่วยให้ผู้บริการทางสุขภาพเข้าใจและเห็นความสำคัญของกิจกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เพื่อนำไปสู่การจัดการระบบการดูแล และพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งจะช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดต่อไป Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25002 [article] ปัจจัยที่มีอิทธพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิต = The factor inuencing the self-care agency and quality of life of patients with coronary artery disease : ของผู้ป่วยโรคหลอดเลิือดหัวใจ [printed text] . - 2015 . - pp.104-118.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.104-118Keywords: ความสามารถในการดูแลตนเอง. คุณภาพชีวิต.ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ. Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ คัดเลิือกกลุ่มตัวอย่างโรคหลอดเลือดหัวใจแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 99 คน ที่มาใช้บริการ คลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ 1.แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2.แบบวัดความสามรถในการดูแลตนเอง 3.แบบสอบถามคุณภาพชีวิตวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงบรรยาย และ Multiple regression ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 70.4 มีีคะแนน ความสามารถในการด฿ูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโรคหลอดเลือดหัวใจแบบเฺฉพาะเ้จาะจง จำนวน 99 คน ที่มาใช้บริการคลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ 1. แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2.แบบวัดความสามารถในการดูแลตนเอง และ 3. แบบสอบถามคุณภาพชีวิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงบรรยาย และ Multiple Regression ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 70.4 มีคะแนนความสามารถในการดูแลตนเองอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ (Mean=20.05 SD=9.84) คะแนนคุณภาพชีวิต รายด้านทีมีคะแนนในระดับดี คือด้านครอบครัว และพบว่า ระดับการศึกษา การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และ คะแนนความสามารถในการดูแลตนเอง เป็นปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลิือดหัวใจที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ .039 และอำนาจในการทำนายร้อยละ 56. ผลการศึกษาครั้งนี้ ช่วยให้ผู้บริการทางสุขภาพเข้าใจและเห็นความสำคัญของกิจกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เพื่อนำไปสู่การจัดการระบบการดูแล และพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งจะช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดต่อไป Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25002 ผลของโปรแกรมการรับรู้ความสามารถของผู้ดูแลในการตอบสนองความต้องการพื้นฐานทารก / วนิสา ทะยีเซะ in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 ([05/24/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการรับรู้ความสามารถของผู้ดูแลในการตอบสนองความต้องการพื้นฐานทารก : ต่อภาวะสุขภาพทารกแรกเกิดก่อนกำหนดมุสลิมในจังหวัดนราธิวาส Original title : Effects of a perceived self-efficacy promption program for caregivers responding to the basic needs of healthy muslim preterm infants in Naradiwas province Material Type: printed text Authors: วนิสา ทะยีเซะ, Author ; ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, Author ; ศิราคริน พิชัยสงคราม, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.60-74 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 [05/24/2017] . - p.60-74Keywords: การรับรู้ความสามารถตนเอง.การตอบสนองความต้องการพื้นฐาน.ภาวะสุขภาพ.ทารกเกิดก่อนกำหนด.มุสลิมจังหวัดนราธิวาส. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26763 [article] ผลของโปรแกรมการรับรู้ความสามารถของผู้ดูแลในการตอบสนองความต้องการพื้นฐานทารก = Effects of a perceived self-efficacy promption program for caregivers responding to the basic needs of healthy muslim preterm infants in Naradiwas province : ต่อภาวะสุขภาพทารกแรกเกิดก่อนกำหนดมุสลิมในจังหวัดนราธิวาส [printed text] / วนิสา ทะยีเซะ, Author ; ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์, Author ; ศิราคริน พิชัยสงคราม, Author . - 2017 . - p.60-74.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์ และพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการดื้มแอลกอฮออล์ของนักเรียนชั้นมัธยมปลาย อำเภอบ่อทองจังหวัดชลบุรี / อโนทัย ฟุุ้งขจร in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์ และพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการดื้มแอลกอฮออล์ของนักเรียนชั้นมัธยมปลาย อำเภอบ่อทองจังหวัดชลบุรี Original title : Effects of self-efficacy enhancement on perceived self -efficacy outcome expectancy and alcohol drinking refusal late secondary school students in bothong district Chonburi province Material Type: printed text Authors: อโนทัย ฟุุ้งขจร, Author ; ยุวดี รอดจากภัย, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.41-54 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.41-54Keywords: โปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตน.การรับรู้ความสามารถตนเอง.ความคาดหวังในผลลัพธ์.การหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. Abstract: เครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง คนที่ดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมาก จะทำให้มีนเมา หมดสติและอาจตายได้ นักเรียนและวัยรุ่นมีการดื้มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประมาณ 20 % และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น การวิจัยนี้จึงต้องการศึกษาผลของโปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์ และพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยม กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 60 คน จากโรงเรียนแห่งหนึ่งในอำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี สุ่มด้วยการจับสลากมา 2 ห้อง และสุ่มเข้ากลุ่มด้วยการจับสลากให้เป็นกลุ่มทดลอง 1 ห้อง มีนักเรียน 30 คน ในเต่ละกลุ่ม เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามส่งให้ตอบในห้องเรียนก่อนการทดลอง และหลังการทดลอง ซึ่งส่วนที่วัดการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์และพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีความเที่ยงแบบอัลฟ่า 0.94 0.89 และ 0.85 ตามลำดับ นักเรียนกลุ่มทดลองให้โปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตน 6 สัปดาห์ ๆ ละ 50 นาที ดำเนินกิจกรรมโดยผู้วิจัยและู้ช่วยสอน สำหรับนักเรียนกลุ่มเปรีบเทียบเรียนตามปกติ ข้อมูลวิเคราะห์ต้วยร้อยละ คะแนนเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน paired t-test และ independent t-test ผลการวิจัย พบว่า
หลักงการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์ และพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์เพิ่มมากขึ้นมากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญที่ 0.001 และหลังการทดลอง นักเรีนกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นมากกว่านักเรียนกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญที่ 0.001 แสดงว่าโปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนที่สร้างขึ้นให้ผลดีม่ส่วนทำให้นักเรียนที่ได้รับโปรแกรมมีพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ดีขึ้น ดังนั้นจึงควรสนับสนุนให้อาจารย์นำโปรแกรมนี้ไปใช้สอนนักเรียนในระดัยมัธยมศึกษาตอนปลายต่อไปCurricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26522 [article] ผลของโปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์ และพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการดื้มแอลกอฮออล์ของนักเรียนชั้นมัธยมปลาย อำเภอบ่อทองจังหวัดชลบุรี = Effects of self-efficacy enhancement on perceived self -efficacy outcome expectancy and alcohol drinking refusal late secondary school students in bothong district Chonburi province [printed text] / อโนทัย ฟุุ้งขจร, Author ; ยุวดี รอดจากภัย, Author . - 2017 . - p.41-54.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.41-54Keywords: โปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตน.การรับรู้ความสามารถตนเอง.ความคาดหวังในผลลัพธ์.การหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. Abstract: เครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง คนที่ดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมาก จะทำให้มีนเมา หมดสติและอาจตายได้ นักเรียนและวัยรุ่นมีการดื้มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประมาณ 20 % และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น การวิจัยนี้จึงต้องการศึกษาผลของโปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์ และพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยม กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 60 คน จากโรงเรียนแห่งหนึ่งในอำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี สุ่มด้วยการจับสลากมา 2 ห้อง และสุ่มเข้ากลุ่มด้วยการจับสลากให้เป็นกลุ่มทดลอง 1 ห้อง มีนักเรียน 30 คน ในเต่ละกลุ่ม เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามส่งให้ตอบในห้องเรียนก่อนการทดลอง และหลังการทดลอง ซึ่งส่วนที่วัดการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์และพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีความเที่ยงแบบอัลฟ่า 0.94 0.89 และ 0.85 ตามลำดับ นักเรียนกลุ่มทดลองให้โปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตน 6 สัปดาห์ ๆ ละ 50 นาที ดำเนินกิจกรรมโดยผู้วิจัยและู้ช่วยสอน สำหรับนักเรียนกลุ่มเปรีบเทียบเรียนตามปกติ ข้อมูลวิเคราะห์ต้วยร้อยละ คะแนนเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน paired t-test และ independent t-test ผลการวิจัย พบว่า
หลักงการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์ และพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์เพิ่มมากขึ้นมากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญที่ 0.001 และหลังการทดลอง นักเรีนกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นมากกว่านักเรียนกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญที่ 0.001 แสดงว่าโปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนที่สร้างขึ้นให้ผลดีม่ส่วนทำให้นักเรียนที่ได้รับโปรแกรมมีพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ดีขึ้น ดังนั้นจึงควรสนับสนุนให้อาจารย์นำโปรแกรมนี้ไปใช้สอนนักเรียนในระดัยมัธยมศึกษาตอนปลายต่อไปCurricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26522