From this page you can:
Home |
Search results
1 result(s) search for keyword(s) 'ความสามารถในการดูแลตนเอง. คุณภาพชีวิต.ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ปัจจัยที่มีอิทธพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิต in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิต : ของผู้ป่วยโรคหลอดเลิือดหัวใจ Original title : The factor inuencing the self-care agency and quality of life of patients with coronary artery disease Material Type: printed text Publication Date: 2015 Article on page: pp.104-118 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.104-118Keywords: ความสามารถในการดูแลตนเอง. คุณภาพชีวิต.ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ. Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ คัดเลิือกกลุ่มตัวอย่างโรคหลอดเลือดหัวใจแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 99 คน ที่มาใช้บริการ คลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ 1.แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2.แบบวัดความสามรถในการดูแลตนเอง 3.แบบสอบถามคุณภาพชีวิตวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงบรรยาย และ Multiple regression ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 70.4 มีีคะแนน ความสามารถในการด฿ูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโรคหลอดเลือดหัวใจแบบเฺฉพาะเ้จาะจง จำนวน 99 คน ที่มาใช้บริการคลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ 1. แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2.แบบวัดความสามารถในการดูแลตนเอง และ 3. แบบสอบถามคุณภาพชีวิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงบรรยาย และ Multiple Regression ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 70.4 มีคะแนนความสามารถในการดูแลตนเองอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ (Mean=20.05 SD=9.84) คะแนนคุณภาพชีวิต รายด้านทีมีคะแนนในระดับดี คือด้านครอบครัว และพบว่า ระดับการศึกษา การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และ คะแนนความสามารถในการดูแลตนเอง เป็นปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลิือดหัวใจที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ .039 และอำนาจในการทำนายร้อยละ 56. ผลการศึกษาครั้งนี้ ช่วยให้ผู้บริการทางสุขภาพเข้าใจและเห็นความสำคัญของกิจกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เพื่อนำไปสู่การจัดการระบบการดูแล และพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งจะช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดต่อไป Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25002 [article] ปัจจัยที่มีอิทธพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิต = The factor inuencing the self-care agency and quality of life of patients with coronary artery disease : ของผู้ป่วยโรคหลอดเลิือดหัวใจ [printed text] . - 2015 . - pp.104-118.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.104-118Keywords: ความสามารถในการดูแลตนเอง. คุณภาพชีวิต.ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ. Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ คัดเลิือกกลุ่มตัวอย่างโรคหลอดเลือดหัวใจแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 99 คน ที่มาใช้บริการ คลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ 1.แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2.แบบวัดความสามรถในการดูแลตนเอง 3.แบบสอบถามคุณภาพชีวิตวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงบรรยาย และ Multiple regression ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 70.4 มีีคะแนน ความสามารถในการด฿ูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโรคหลอดเลือดหัวใจแบบเฺฉพาะเ้จาะจง จำนวน 99 คน ที่มาใช้บริการคลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ 1. แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2.แบบวัดความสามารถในการดูแลตนเอง และ 3. แบบสอบถามคุณภาพชีวิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงบรรยาย และ Multiple Regression ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 70.4 มีคะแนนความสามารถในการดูแลตนเองอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ (Mean=20.05 SD=9.84) คะแนนคุณภาพชีวิต รายด้านทีมีคะแนนในระดับดี คือด้านครอบครัว และพบว่า ระดับการศึกษา การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และ คะแนนความสามารถในการดูแลตนเอง เป็นปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลิือดหัวใจที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ .039 และอำนาจในการทำนายร้อยละ 56. ผลการศึกษาครั้งนี้ ช่วยให้ผู้บริการทางสุขภาพเข้าใจและเห็นความสำคัญของกิจกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เพื่อนำไปสู่การจัดการระบบการดูแล และพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งจะช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดต่อไป Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25002