From this page you can:
Home |
Search results
11 result(s) search for keyword(s) 'โรคความดันโลหิตสูง.ปัจจัยทำนาย.การรับประทานยาอย่างสมำ่เสมอต่อเนื่อง.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ปัจจัยทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง / วิภาภรณ์ วังวรตระกูล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง : นผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ Original title : Factors for predicting to medication adherence among patients with essential hypertension Material Type: printed text Authors: วิภาภรณ์ วังวรตระกูล, Author ; นันทวัน สุวรรณรูป, Author ; กนกพร หมู่พยัคฆ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.131-139 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.131-139Keywords: โรคความดันโลหิตสูง.ปัจจัยทำนาย.การรับประทานยาอย่างสมำ่เสมอต่อเนื่อง.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง. Abstract: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของปัจจัยการรับรู้สมรรถนะแห่งตน การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา การได้รับขอ้มูลข่าวสารเกี่ยวกับการรับประทานยา และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์ต่อการรับประทานยาอย่างสมำ่เสมอต่อเนื่องในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ จำนวน 128 ราย ทีี่มารับบริการที่หน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในกรุงเทพฯ และโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดนนทบุรี เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ.
ผลการวิจัย พบว่า การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ ส่่วนใหญ่อยู่ในระดับต่ำ ร้อยละ 61 การรับรู้สมรรถนะตนเอง การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา การได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการรับประทานยา และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 63.30,66.40,69.50 และ 69.50 ตามลำดับ สามารถร่วมกันทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องของตัวอย่างได้ร้อยละ 21 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิิติฯ โดยพบว่า การรับรู้สมรรถนะแห่งตนสามารถทำนายได้มากที่สุด รองลงมาคือ การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา.Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26749 [article] ปัจจัยทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง = Factors for predicting to medication adherence among patients with essential hypertension : นผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ [printed text] / วิภาภรณ์ วังวรตระกูล, Author ; นันทวัน สุวรรณรูป, Author ; กนกพร หมู่พยัคฆ์, Author . - 2017 . - p.131-139.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.131-139Keywords: โรคความดันโลหิตสูง.ปัจจัยทำนาย.การรับประทานยาอย่างสมำ่เสมอต่อเนื่อง.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง. Abstract: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของปัจจัยการรับรู้สมรรถนะแห่งตน การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา การได้รับขอ้มูลข่าวสารเกี่ยวกับการรับประทานยา และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์ต่อการรับประทานยาอย่างสมำ่เสมอต่อเนื่องในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ จำนวน 128 ราย ทีี่มารับบริการที่หน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในกรุงเทพฯ และโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดนนทบุรี เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ.
ผลการวิจัย พบว่า การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ ส่่วนใหญ่อยู่ในระดับต่ำ ร้อยละ 61 การรับรู้สมรรถนะตนเอง การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา การได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการรับประทานยา และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 63.30,66.40,69.50 และ 69.50 ตามลำดับ สามารถร่วมกันทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องของตัวอย่างได้ร้อยละ 21 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิิติฯ โดยพบว่า การรับรู้สมรรถนะแห่งตนสามารถทำนายได้มากที่สุด รองลงมาคือ การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา.Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26749 การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการดูแลตนเอง / สุชาดา เจะดอเลาะ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 ([03/29/2016])
[article]
Title : การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการดูแลตนเอง : สำหรับชาวไทยมุสลิมที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง Original title : A computer assisted self care programme for Thai muslims with Hypertension Material Type: printed text Authors: สุชาดา เจะดอเลาะ, Author ; จุฬารักษ์ กวีวิวิธชัย, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; นรีมาลย์ นีละไพจิตร, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.83-94 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.83-94Keywords: บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.การดูแลตนเอง.ชาวไทยมุสลิม.โรคความดันโลหิตสูง. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25653 [article] การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการดูแลตนเอง = A computer assisted self care programme for Thai muslims with Hypertension : สำหรับชาวไทยมุสลิมที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง [printed text] / สุชาดา เจะดอเลาะ, Author ; จุฬารักษ์ กวีวิวิธชัย, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; นรีมาลย์ นีละไพจิตร, Author . - 2016 . - p.83-94.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.83-94Keywords: บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.การดูแลตนเอง.ชาวไทยมุสลิม.โรคความดันโลหิตสูง. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25653 ปัจจัยทำนายการคิดฆ่าตัวตายในวัยรุ่นชาวไทย / เบญจมาภรณ์ รุ่งสาง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายการคิดฆ่าตัวตายในวัยรุ่นชาวไทย Original title : predictiors of suicide ldeation among the adolescents Material Type: printed text Authors: เบญจมาภรณ์ รุ่งสาง, Author ; นุจรี ไชยมงคล, Author ; วรรณี เตียวอิศเรศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.64-73 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.64-73Keywords: การคิดฆ่าตัวตาย.วัยรุ่นไทย.ปัจจัยทำนาย.พฤติกรรมการแสดงออกในทางลบ. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26742 [article] ปัจจัยทำนายการคิดฆ่าตัวตายในวัยรุ่นชาวไทย = predictiors of suicide ldeation among the adolescents [printed text] / เบญจมาภรณ์ รุ่งสาง, Author ; นุจรี ไชยมงคล, Author ; วรรณี เตียวอิศเรศ, Author . - 2017 . - p.64-73.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.64-73Keywords: การคิดฆ่าตัวตาย.วัยรุ่นไทย.ปัจจัยทำนาย.พฤติกรรมการแสดงออกในทางลบ. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26742 ปัจจัยทำนายการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลผู้ได้รับบาดเจ็บไขสันหลัง / สุภาพ เหมือนชู in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 ([03/29/2016])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลผู้ได้รับบาดเจ็บไขสันหลัง Original title : Predictive factors in stress-coping ability of caregivers of cord injury patients Material Type: printed text Authors: สุภาพ เหมือนชู, Author ; ภาวนา กีรติยุตวงศ์, Author ; วริยา วชิราวัธน์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.124 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.124Keywords: การเผชิญความเครียด.ผู้บาดเจ็บไขสันหลัง.ปัจจัยทำนาย. Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25654 [article] ปัจจัยทำนายการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลผู้ได้รับบาดเจ็บไขสันหลัง = Predictive factors in stress-coping ability of caregivers of cord injury patients [printed text] / สุภาพ เหมือนชู, Author ; ภาวนา กีรติยุตวงศ์, Author ; วริยา วชิราวัธน์, Author . - 2016 . - p.124.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปัจจัยทำนายผลการสอบขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ของบัณฑิตพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก / ศิริญญา คงอยู่ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายผลการสอบขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ของบัณฑิตพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก Original title : Predictors of the Result of the License Examination of Graduated Nurses, Royal Thai Army Nurse College Material Type: printed text Authors: ศิริญญา คงอยู่, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.228-237 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.228-237Keywords: ปัจจัยทำนาย. ผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ. Factors. Result of Tha License Examination. Abstract: การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยคัดสรร ประกอบด้วย ปัจจัยด้านบุคคล และปัจจัยด้านการ สนับสนุนจากวิทยาลัย ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ และสร้างสมการทำนายผลการสอบ ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งของบัณฑิตพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล กองทัพบกกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตรุ่นที่49 ปีการศึกษา2558วิทยาลัยพยาบาลกองทัพ บก จำนวน 79 คน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้Regression analysis ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยด้านบุคคล กลุ่มตัวอย่างมีเกรดเฉลี่ยสะสมอยู่ในช่วง 3.01-4.00 คิดเป็นร้อยละ 92.9 ผลการ สอบผ่านการสอบรวบยอดสาขาพยาบาลศาสตร์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล(ในการสอบครั้งแรก) ทั้ง8รายวิชาคิด เป็นร้อยละ59.5มีพฤติกรรมการเตรียมตัวสอบ อยู่ในระดับมาก(M = 3.76,SD = 0.47)มีความวิตกกังวลในการสอบ อยู่ในระดับ ปานกลาง (M = 2.72, SD = 0.67) มีทัศนคติต่อการสอบ อยู่ในระดับมาก (M = 4.19, SD = 0.60) มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการเต รียมตัวสอบ อยู่ในระดับมากที่สุด(M = 4.44, SD = 0.50)ส่วนปัจจัยด้านการสนับสนุนจากวิทยาลัยด้านวิชาการอยู่ในระดับมาก (M = 3.67, SD = 0.80) ด้านกิจกรรม อยู่ในระดับปานกลาง (M=3.30, SD=0.90) และด้านสิ่งอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับ ปานกลาง (M = 3.35, SD = 1.02) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ ได้แก่ เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร (r = .269)ผลการสอบรวบยอดสาขาพยาบาลศาสตร์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล(r = .468)และทัศนคติต่อการสอบ (r = .391) และสมการทำนายผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ เป็นดังนี้ผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ = 5.760+ 0.177 ผลการสอบรวบยอด + 0.021 ทัศนคติต่อการสอบ ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ผลการวิจัยที่ได้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาคุณภาพของสถาบันการศึกษาและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของสภาการพยาบาล ต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27247 [article] ปัจจัยทำนายผลการสอบขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ของบัณฑิตพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก = Predictors of the Result of the License Examination of Graduated Nurses, Royal Thai Army Nurse College [printed text] / ศิริญญา คงอยู่, Author . - 2017 . - p.228-237.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.228-237Keywords: ปัจจัยทำนาย. ผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ. Factors. Result of Tha License Examination. Abstract: การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยคัดสรร ประกอบด้วย ปัจจัยด้านบุคคล และปัจจัยด้านการ สนับสนุนจากวิทยาลัย ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ และสร้างสมการทำนายผลการสอบ ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งของบัณฑิตพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล กองทัพบกกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตรุ่นที่49 ปีการศึกษา2558วิทยาลัยพยาบาลกองทัพ บก จำนวน 79 คน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้Regression analysis ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยด้านบุคคล กลุ่มตัวอย่างมีเกรดเฉลี่ยสะสมอยู่ในช่วง 3.01-4.00 คิดเป็นร้อยละ 92.9 ผลการ สอบผ่านการสอบรวบยอดสาขาพยาบาลศาสตร์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล(ในการสอบครั้งแรก) ทั้ง8รายวิชาคิด เป็นร้อยละ59.5มีพฤติกรรมการเตรียมตัวสอบ อยู่ในระดับมาก(M = 3.76,SD = 0.47)มีความวิตกกังวลในการสอบ อยู่ในระดับ ปานกลาง (M = 2.72, SD = 0.67) มีทัศนคติต่อการสอบ อยู่ในระดับมาก (M = 4.19, SD = 0.60) มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการเต รียมตัวสอบ อยู่ในระดับมากที่สุด(M = 4.44, SD = 0.50)ส่วนปัจจัยด้านการสนับสนุนจากวิทยาลัยด้านวิชาการอยู่ในระดับมาก (M = 3.67, SD = 0.80) ด้านกิจกรรม อยู่ในระดับปานกลาง (M=3.30, SD=0.90) และด้านสิ่งอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับ ปานกลาง (M = 3.35, SD = 1.02) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ ได้แก่ เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร (r = .269)ผลการสอบรวบยอดสาขาพยาบาลศาสตร์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล(r = .468)และทัศนคติต่อการสอบ (r = .391) และสมการทำนายผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ เป็นดังนี้ผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ = 5.760+ 0.177 ผลการสอบรวบยอด + 0.021 ทัศนคติต่อการสอบ ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ผลการวิจัยที่ได้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาคุณภาพของสถาบันการศึกษาและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของสภาการพยาบาล ต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27247 ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร / ทิพนันท์ ปันคำ in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 ([11/16/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร Original title : Predicting factors of health behaviors in patients with cardiac permanent pacemaker Material Type: printed text Authors: ทิพนันท์ ปันคำ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.129-141 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.129-141Keywords: พฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วย.พฤติกรรมสุขภาพ.เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร.ปัจจัยทำนาย. Abstract: การวิจัยเชิงพยากรณ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาอำนาจการทำนายของปัจจัยนำ (ความรู้ อัตมโนทัศน์ และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง) ปัจจัยเสริม (การสนับสนุนทางสังคม) และปัจจัยเอื้อ (การเข้าถึงบริการของสถานบริการสุขภาพ) ต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยจำนวน 128 คน ที่มารับบริการแผนกผู้ป่วยนอก คลินิกเครื่องกระตุ้นหัวใจ โรงพยาบาลตติยภูมิสามแห่งในเขตกรุงเทพมหานคร คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความรู้ แบบวัดอัตมโนทัศน์ แบบวัดความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง แบบวัดการสนับสนุนทางสังคม แบบวัดการเข้าถึงบริการของสถานบริการสุขภาพ และแบบวัดพฤติกรรมสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสถิติถดถอยพหุคูณแบบเข้าทีละตัว
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี (mean = 33.3, SD = 3.9) การสนับสนุนทางสังคมความรู้ และอัตมโนทัศน์ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง (r =.523, .508 และ .369 ตามลำดับ) แต่ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและการเข้าถึงบริการของสถานบริการสุขภาพไม่มีความสัมพันธ์ทางสถิติกับพฤติกรรมสุขภาพ ความรู้ อัตมโนทัศน์ ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง การสนับสนุนทางสังคม และการเข้าถึงบริการของสถานบริการสุขภาพ สามารถร่วมทำนายพฤติกรรมสุขภาพ ได้ร้อยละ 44
ผลการศึกษาครั้งนี้ พยาบาลสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร โดยเน้นการให้ความรู้ การส่งเสริมอัตมโนทัศน์ และการส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคม เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสมRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27503 [article] ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร = Predicting factors of health behaviors in patients with cardiac permanent pacemaker [printed text] / ทิพนันท์ ปันคำ, Author . - 2017 . - p.129-141.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.129-141Keywords: พฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วย.พฤติกรรมสุขภาพ.เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร.ปัจจัยทำนาย. Abstract: การวิจัยเชิงพยากรณ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาอำนาจการทำนายของปัจจัยนำ (ความรู้ อัตมโนทัศน์ และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง) ปัจจัยเสริม (การสนับสนุนทางสังคม) และปัจจัยเอื้อ (การเข้าถึงบริการของสถานบริการสุขภาพ) ต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยจำนวน 128 คน ที่มารับบริการแผนกผู้ป่วยนอก คลินิกเครื่องกระตุ้นหัวใจ โรงพยาบาลตติยภูมิสามแห่งในเขตกรุงเทพมหานคร คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความรู้ แบบวัดอัตมโนทัศน์ แบบวัดความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง แบบวัดการสนับสนุนทางสังคม แบบวัดการเข้าถึงบริการของสถานบริการสุขภาพ และแบบวัดพฤติกรรมสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสถิติถดถอยพหุคูณแบบเข้าทีละตัว
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี (mean = 33.3, SD = 3.9) การสนับสนุนทางสังคมความรู้ และอัตมโนทัศน์ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง (r =.523, .508 และ .369 ตามลำดับ) แต่ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและการเข้าถึงบริการของสถานบริการสุขภาพไม่มีความสัมพันธ์ทางสถิติกับพฤติกรรมสุขภาพ ความรู้ อัตมโนทัศน์ ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง การสนับสนุนทางสังคม และการเข้าถึงบริการของสถานบริการสุขภาพ สามารถร่วมทำนายพฤติกรรมสุขภาพ ได้ร้อยละ 44
ผลการศึกษาครั้งนี้ พยาบาลสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร โดยเน้นการให้ความรู้ การส่งเสริมอัตมโนทัศน์ และการส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคม เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสมRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27503 ปัจจัยทำนายภาวะสุขภาพของผู้ป่วยภายหลังได้รับการผ่าตัดเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ / ทีปทัศน์ ชินตาปัญญากุล in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 ([11/16/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายภาวะสุขภาพของผู้ป่วยภายหลังได้รับการผ่าตัดเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ Original title : Predicting factors of health status among patients after coronary artery bypass graft surgery Material Type: printed text Authors: ทีปทัศน์ ชินตาปัญญากุล, Author ; นรลักขณ์ เอื้อกิจ, Author ; สุชาต ไชยโรจน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.96-110 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.96-110Keywords: ผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ.ภาวะสุขภาพ.ปัจจัยทำนาย. Abstract: การวิจัยเชิงทำนายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพ ความสัมพันธ์และอำนาจการทำนายของปัจจัยทำนายได้แก่ อายุ ระดับสมรรถภาพของหัวใจก่อนผ่าตัด ค่าการบีบตัวของหัวใจ โรคร่วม ความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัด และพฤติกรรมการดูแลตนเองที่มีต่อภาวะสุขภาพของผู้ป่วยผ่าตัดเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ
กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจทั้งเพศชายและหญิงที่มีอายุ 18-59 ปี จำนวน 123 คน ที่มารับบริการ ณ แผนกผู้ป่วยนอกศัลยกรรม โรงพยาบาลรามาธิบดี และโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกโรคร่วม แบบสอบถามความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัด แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเอง และแบบสอบถามภาวะสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีภาวะสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี (Mean = 58.03, S.D. = 3.90) พฤติกรรมการดูแลตนเอง ค่าการบีบตัวของหัวใจและความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง (r = .678, r = .583 และ r = .549 ตามลำดับ) โรคร่วม อายุและระดับสมรรถภาพของหัวใจก่อนผ่าตัดมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง (r = -.565, r = -.554 และ r = -.537 ตามลำดับ) พฤติกรรมการดูแลตนเอง โรคร่วม ระดับสมรรถภาพของหัวใจก่อนผ่าตัด อายุ ค่าการบีบตัวของหัวใจและความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัดสามารถร่วมทำนายภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างได้ร้อยละ 74
ผลการศึกษานี้ทำให้เกิดความเข้าใจในการพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องโรค พฤติกรรมการดูแลตนเองให้กับผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27501 [article] ปัจจัยทำนายภาวะสุขภาพของผู้ป่วยภายหลังได้รับการผ่าตัดเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ = Predicting factors of health status among patients after coronary artery bypass graft surgery [printed text] / ทีปทัศน์ ชินตาปัญญากุล, Author ; นรลักขณ์ เอื้อกิจ, Author ; สุชาต ไชยโรจน์, Author . - 2017 . - p.96-110.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.96-110Keywords: ผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ.ภาวะสุขภาพ.ปัจจัยทำนาย. Abstract: การวิจัยเชิงทำนายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพ ความสัมพันธ์และอำนาจการทำนายของปัจจัยทำนายได้แก่ อายุ ระดับสมรรถภาพของหัวใจก่อนผ่าตัด ค่าการบีบตัวของหัวใจ โรคร่วม ความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัด และพฤติกรรมการดูแลตนเองที่มีต่อภาวะสุขภาพของผู้ป่วยผ่าตัดเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ
กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจทั้งเพศชายและหญิงที่มีอายุ 18-59 ปี จำนวน 123 คน ที่มารับบริการ ณ แผนกผู้ป่วยนอกศัลยกรรม โรงพยาบาลรามาธิบดี และโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกโรคร่วม แบบสอบถามความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัด แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเอง และแบบสอบถามภาวะสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีภาวะสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี (Mean = 58.03, S.D. = 3.90) พฤติกรรมการดูแลตนเอง ค่าการบีบตัวของหัวใจและความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง (r = .678, r = .583 และ r = .549 ตามลำดับ) โรคร่วม อายุและระดับสมรรถภาพของหัวใจก่อนผ่าตัดมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง (r = -.565, r = -.554 และ r = -.537 ตามลำดับ) พฤติกรรมการดูแลตนเอง โรคร่วม ระดับสมรรถภาพของหัวใจก่อนผ่าตัด อายุ ค่าการบีบตัวของหัวใจและความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัดสามารถร่วมทำนายภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างได้ร้อยละ 74
ผลการศึกษานี้ทำให้เกิดความเข้าใจในการพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องโรค พฤติกรรมการดูแลตนเองให้กับผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27501 ปัจจัยทำนายอาการทางจิตของผู้ป่วยจิตเภท / กชพร รัตนสมพร in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([06/20/2016])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายอาการทางจิตของผู้ป่วยจิตเภท Original title : Predicting factors of psychiatric symptoms in persons with schizophrenia Material Type: printed text Authors: กชพร รัตนสมพร, Author ; อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย, Author ; รัชนีกร เกิดโชค, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.99-112 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 [06/20/2016] . - p.99-112Keywords: อาการทางจิต.ผู้ป่วยจิตเภท.ปัจจัยทำนาย. Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25555 [article] ปัจจัยทำนายอาการทางจิตของผู้ป่วยจิตเภท = Predicting factors of psychiatric symptoms in persons with schizophrenia [printed text] / กชพร รัตนสมพร, Author ; อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย, Author ; รัชนีกร เกิดโชค, Author . - 2016 . - p.99-112.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเอง ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ / กชกร ธรรมนำศีล in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol. 29 No. 2 (May-Aug) 2015 ([09/17/2015])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเอง ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ : โรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ เขตกรุงเทพมหานคร Original title : Effects of self-care promoting program on self-care behavior among older adults with uncontrolled hypertension in Bangkok metoprolitan Material Type: printed text Authors: กชกร ธรรมนำศีล, Author ; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ, Author ; พัชราภา เกิดมงคล, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.42-55 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol. 29 No. 2 (May-Aug) 2015 [09/17/2015] . - p.42-55Keywords: การส่งเสริมการดูแลตนเอง.พฤติกรรมการดูแลตนเอง.ผู้สูงอายุ.โรคความดันโลหิตสูง.กรุงเทพมหานคร. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ในชุมชน กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 60 คน เป็นผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่มีอายุ 60-79 ปี มีระดับความดันโลหิตสูงกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา สุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างจาก 2 ชุมชน เขตเมือง กรุงเทพมหานคร เป็นกลุ่มทดลอง (n=30) และกลุ่มเปรียบเทียบ (n=30) กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเองเป็นเวลา 6 สัปดาห์ ประกอบด้วย การให้ความรู้และการฝึกทักษะการดูแลตนเอง ในเรื่องโรความดันโลหิตสูง การป้องกันภาวะแทรกซ้อน และการจัดการตนเอง การเยี่ยมบ้าน การสนับสนุนและให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์สัปดาห์ละ 1 ครั้ง การอภิปรายกลุ่ม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ในขณะที่กลุ่มเปรียบเทียบได้รับบริการตามปกติ เก็บข้อมูลโดยผู้วิจัยด้วยแบบสัมภาษณ์ก่อนและหลังได้รับโปรแกรม
Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24965 [article] ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเอง ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ = Effects of self-care promoting program on self-care behavior among older adults with uncontrolled hypertension in Bangkok metoprolitan : โรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ เขตกรุงเทพมหานคร [printed text] / กชกร ธรรมนำศีล, Author ; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ, Author ; พัชราภา เกิดมงคล, Author . - 2015 . - p.42-55.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol. 29 No. 2 (May-Aug) 2015 [09/17/2015] . - p.42-55Keywords: การส่งเสริมการดูแลตนเอง.พฤติกรรมการดูแลตนเอง.ผู้สูงอายุ.โรคความดันโลหิตสูง.กรุงเทพมหานคร. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ในชุมชน กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 60 คน เป็นผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่มีอายุ 60-79 ปี มีระดับความดันโลหิตสูงกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา สุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างจาก 2 ชุมชน เขตเมือง กรุงเทพมหานคร เป็นกลุ่มทดลอง (n=30) และกลุ่มเปรียบเทียบ (n=30) กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเองเป็นเวลา 6 สัปดาห์ ประกอบด้วย การให้ความรู้และการฝึกทักษะการดูแลตนเอง ในเรื่องโรความดันโลหิตสูง การป้องกันภาวะแทรกซ้อน และการจัดการตนเอง การเยี่ยมบ้าน การสนับสนุนและให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์สัปดาห์ละ 1 ครั้ง การอภิปรายกลุ่ม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ในขณะที่กลุ่มเปรียบเทียบได้รับบริการตามปกติ เก็บข้อมูลโดยผู้วิจัยด้วยแบบสัมภาษณ์ก่อนและหลังได้รับโปรแกรม
Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24965 ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ : พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน Original title : Impact of a blood pressure regulating programme on health beliefs health behavior amount of sodium intake and hypertension leveld in community members with hypertension Material Type: printed text Authors: ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.63-75 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.63-75Keywords: โปรแกรมควบคุมความด้นโลหิต. ความเชื่อด้านสุขภาพ. พฤติกรรมสุขภาพ. โรคความดันโลหิตสูง. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
การออกแบบงานวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง ศึกษาสองกลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกตัวอย่างตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 64 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง
34 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ประกอบด้วยการรให้ความรู้โดยใช้วิดีทัศน์ และแบบจำลองจำนวนจานอาหารสุขภาพ พร้อมแจกคู่มือกำรบริโภคอาหารจานเดียวและแผ่นพับเรื่องอาหารแลกเปลี่ยน ร่วมกับการติดตามเยี่ยมบ้าน 3 ครั้ง กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ความเชื่อด้านสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพเพื่อควบคุมความดันโลหิต และแบบบันทึกการรับประทานอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย paired t-test และ independent t-test
ผลการวิจัย: พบว่า กลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรม มีคะแนนความเชื่อด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
กว่าก่อนทดลอง และมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น (p<.01) และมีค่ำเฉลี่ยของระดับความดันโลหิต น้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) รวมถึงมีปริมาณโซเดียมที่ได้รับน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
ข้อเสนอแนะ: นำโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ไปใช้กับผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน เพื่อควบคุมโรคและป้องกันกำรเกิดภาวะแทรกซ้อนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27050 [article] ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ = Impact of a blood pressure regulating programme on health beliefs health behavior amount of sodium intake and hypertension leveld in community members with hypertension : พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน [printed text] / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author . - 2017 . - p.63-75.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.63-75Keywords: โปรแกรมควบคุมความด้นโลหิต. ความเชื่อด้านสุขภาพ. พฤติกรรมสุขภาพ. โรคความดันโลหิตสูง. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
การออกแบบงานวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง ศึกษาสองกลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกตัวอย่างตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 64 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง
34 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ประกอบด้วยการรให้ความรู้โดยใช้วิดีทัศน์ และแบบจำลองจำนวนจานอาหารสุขภาพ พร้อมแจกคู่มือกำรบริโภคอาหารจานเดียวและแผ่นพับเรื่องอาหารแลกเปลี่ยน ร่วมกับการติดตามเยี่ยมบ้าน 3 ครั้ง กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ความเชื่อด้านสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพเพื่อควบคุมความดันโลหิต และแบบบันทึกการรับประทานอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย paired t-test และ independent t-test
ผลการวิจัย: พบว่า กลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรม มีคะแนนความเชื่อด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
กว่าก่อนทดลอง และมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น (p<.01) และมีค่ำเฉลี่ยของระดับความดันโลหิต น้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) รวมถึงมีปริมาณโซเดียมที่ได้รับน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
ข้อเสนอแนะ: นำโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ไปใช้กับผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน เพื่อควบคุมโรคและป้องกันกำรเกิดภาวะแทรกซ้อนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27050 ผลของโปรแกรมความสำเร็จตามจุดมุ่งหมายต่อพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ / จีรพัชร ทานุเมาะ in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 ([03/24/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมความสำเร็จตามจุดมุ่งหมายต่อพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ : และระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง Original title : Effect of goal attainment program on alcchol consumption behaviors and blood pressure level in Hypertensive patients Material Type: printed text Authors: จีรพัชร ทานุเมาะ, Author ; นงนุช โอบะ, Author ; สมบูรณ์ ตันสุภสวัสดิกุล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.96-107 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 [03/24/2017] . - p.96-107Keywords: พฤติกรรมการบริโภค.เครื่องดืื่มแอลกอฮอล์.ระดับความดันโลหิตสูง.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26886 [article] ผลของโปรแกรมความสำเร็จตามจุดมุ่งหมายต่อพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ = Effect of goal attainment program on alcchol consumption behaviors and blood pressure level in Hypertensive patients : และระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง [printed text] / จีรพัชร ทานุเมาะ, Author ; นงนุช โอบะ, Author ; สมบูรณ์ ตันสุภสวัสดิกุล, Author . - 2017 . - p.96-107.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)