From this page you can:
Home |
Search results
9 result(s) search for keyword(s) 'พฤติกรรมการบริโภค.เครื่องดืื่มแอลกอฮอล์.ระดับความดันโลหิตสูง.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ผลของโปรแกรมความสำเร็จตามจุดมุ่งหมายต่อพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ / จีรพัชร ทานุเมาะ in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 ([03/24/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมความสำเร็จตามจุดมุ่งหมายต่อพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ : และระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง Original title : Effect of goal attainment program on alcchol consumption behaviors and blood pressure level in Hypertensive patients Material Type: printed text Authors: จีรพัชร ทานุเมาะ, Author ; นงนุช โอบะ, Author ; สมบูรณ์ ตันสุภสวัสดิกุล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.96-107 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 [03/24/2017] . - p.96-107Keywords: พฤติกรรมการบริโภค.เครื่องดืื่มแอลกอฮอล์.ระดับความดันโลหิตสูง.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26886 [article] ผลของโปรแกรมความสำเร็จตามจุดมุ่งหมายต่อพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ = Effect of goal attainment program on alcchol consumption behaviors and blood pressure level in Hypertensive patients : และระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง [printed text] / จีรพัชร ทานุเมาะ, Author ; นงนุช โอบะ, Author ; สมบูรณ์ ตันสุภสวัสดิกุล, Author . - 2017 . - p.96-107.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม / สาคร เหล็กแย้ม in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม : การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ Material Type: printed text Authors: สาคร เหล็กแย้ม, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, Author ; ผจงจิต ไกรถาวร, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.126-137 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.126-137Keywords: ความรู้. ทัศนคติ. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร. ภาวะน้ำหนักเกิน. โปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ. Abstract: วัตถุประสงค์: ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชน
สัมพันธ์ในระยะ 3 เดือน และเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ของผู้ที่มีน้ำหนักเกิน ก่อนและหลัง
เข้าร่วมโปรแกรมในระยะ 3 เดือน 6 เดือน และ1 ปี
การออกแบบวิจัย : การวิจัยเชิงพรรณนาติดตามระยะยาว
การดำเนินการวิจัย : ตัวอย่างจำนวน 79 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจง และได้รับโปรแกรม
ให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการ
ประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง
ผลการวิจัย: ผลการทดสอบทีคู่พบว่าหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน ค่าเฉลี่ยของความรู้
ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของตัวอย่างดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < .001) ผลสถิติ
วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำภาวะโภชนาการหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี
ดีกว่า พบว่าค่าเฉลี่ยของดัชนีมวลกาย ( p <.001) ค่าเฉลี่ยของเส้นรอบเอว ( p< .001) ค่าเฉลี่ยของ
ระดับน้ำตาลในเลือด (p<.001) และค่าเฉลี่ยปริมาณไขมันสะสมในร่างกาย ( p< .001) น้อยกว่าก่อน
เข้าร่วมโปรแกรม
ข้อเสนอแนะ : พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนควรปรับใช้โปรแกรมการให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ
และชุมชนสัมพันธ์ ในการประเมินและส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชนในชุมชน
ที่มีน้ำหนักเกิน รวมทั้งวางแผน หาแนวทางที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละชุมชน ติดตาม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลต่อภาวะ
โภชนาการที่เหมาะสมและยั่งยืน
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27360 [article] การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม : การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ [printed text] / สาคร เหล็กแย้ม, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, Author ; ผจงจิต ไกรถาวร, Author . - 2017 . - p.126-137.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.126-137Keywords: ความรู้. ทัศนคติ. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร. ภาวะน้ำหนักเกิน. โปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ. Abstract: วัตถุประสงค์: ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชน
สัมพันธ์ในระยะ 3 เดือน และเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ของผู้ที่มีน้ำหนักเกิน ก่อนและหลัง
เข้าร่วมโปรแกรมในระยะ 3 เดือน 6 เดือน และ1 ปี
การออกแบบวิจัย : การวิจัยเชิงพรรณนาติดตามระยะยาว
การดำเนินการวิจัย : ตัวอย่างจำนวน 79 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจง และได้รับโปรแกรม
ให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการ
ประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง
ผลการวิจัย: ผลการทดสอบทีคู่พบว่าหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน ค่าเฉลี่ยของความรู้
ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของตัวอย่างดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < .001) ผลสถิติ
วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำภาวะโภชนาการหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี
ดีกว่า พบว่าค่าเฉลี่ยของดัชนีมวลกาย ( p <.001) ค่าเฉลี่ยของเส้นรอบเอว ( p< .001) ค่าเฉลี่ยของ
ระดับน้ำตาลในเลือด (p<.001) และค่าเฉลี่ยปริมาณไขมันสะสมในร่างกาย ( p< .001) น้อยกว่าก่อน
เข้าร่วมโปรแกรม
ข้อเสนอแนะ : พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนควรปรับใช้โปรแกรมการให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ
และชุมชนสัมพันธ์ ในการประเมินและส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชนในชุมชน
ที่มีน้ำหนักเกิน รวมทั้งวางแผน หาแนวทางที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละชุมชน ติดตาม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลต่อภาวะ
โภชนาการที่เหมาะสมและยั่งยืน
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27360 ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารธุรกิจประเภทร้านไอศกรีมกับความพึงพอใจของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร / นิภาพร บุญเจริญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารธุรกิจประเภทร้านไอศกรีมกับความพึงพอใจของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร Original title : Relationship between Ice Cream Business Management and Satisfaction among Bangkok Consumer Material Type: printed text Authors: นิภาพร บุญเจริญ, Author ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: x, 85 p. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2014-09
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การศึกษา -- การบริการ
[LCSH]ธุรกิจ -- การสำรวจ
[LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภค -- กรุงเทพฯKeywords: พฤติกรรมการบริโภค
ผู้บริโภค
ร้านไอศกรีม
ไอศกรีมรสเดี่ยว
ไอศกรีมผสมAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารธุรกิจประเภทร้านไอศกรีมกับความพึงพอใจของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการเลือกกินไอศกรีม เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผู้บริโภคในการกินไอศกรีม เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริการกับความพึงพอใจของผู้บริโภค ซึ่งเป็นการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ (Survey research) ทำการรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ใช้กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริโภคที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26207 ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารธุรกิจประเภทร้านไอศกรีมกับความพึงพอใจของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร = Relationship between Ice Cream Business Management and Satisfaction among Bangkok Consumer [printed text] / นิภาพร บุญเจริญ, Author ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - x, 85 p. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2014-09
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การศึกษา -- การบริการ
[LCSH]ธุรกิจ -- การสำรวจ
[LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภค -- กรุงเทพฯKeywords: พฤติกรรมการบริโภค
ผู้บริโภค
ร้านไอศกรีม
ไอศกรีมรสเดี่ยว
ไอศกรีมผสมAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารธุรกิจประเภทร้านไอศกรีมกับความพึงพอใจของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการเลือกกินไอศกรีม เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผู้บริโภคในการกินไอศกรีม เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริการกับความพึงพอใจของผู้บริโภค ซึ่งเป็นการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ (Survey research) ทำการรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ใช้กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริโภคที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26207 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000506830 SIU IS-T: SOM-MBA-2014-09 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available ปัจจัยทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง / วิภาภรณ์ วังวรตระกูล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง : นผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ Original title : Factors for predicting to medication adherence among patients with essential hypertension Material Type: printed text Authors: วิภาภรณ์ วังวรตระกูล, Author ; นันทวัน สุวรรณรูป, Author ; กนกพร หมู่พยัคฆ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.131-139 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.131-139Keywords: โรคความดันโลหิตสูง.ปัจจัยทำนาย.การรับประทานยาอย่างสมำ่เสมอต่อเนื่อง.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง. Abstract: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของปัจจัยการรับรู้สมรรถนะแห่งตน การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา การได้รับขอ้มูลข่าวสารเกี่ยวกับการรับประทานยา และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์ต่อการรับประทานยาอย่างสมำ่เสมอต่อเนื่องในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ จำนวน 128 ราย ทีี่มารับบริการที่หน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในกรุงเทพฯ และโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดนนทบุรี เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ.
ผลการวิจัย พบว่า การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ ส่่วนใหญ่อยู่ในระดับต่ำ ร้อยละ 61 การรับรู้สมรรถนะตนเอง การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา การได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการรับประทานยา และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 63.30,66.40,69.50 และ 69.50 ตามลำดับ สามารถร่วมกันทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องของตัวอย่างได้ร้อยละ 21 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิิติฯ โดยพบว่า การรับรู้สมรรถนะแห่งตนสามารถทำนายได้มากที่สุด รองลงมาคือ การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา.Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26749 [article] ปัจจัยทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง = Factors for predicting to medication adherence among patients with essential hypertension : นผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ [printed text] / วิภาภรณ์ วังวรตระกูล, Author ; นันทวัน สุวรรณรูป, Author ; กนกพร หมู่พยัคฆ์, Author . - 2017 . - p.131-139.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.131-139Keywords: โรคความดันโลหิตสูง.ปัจจัยทำนาย.การรับประทานยาอย่างสมำ่เสมอต่อเนื่อง.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง. Abstract: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของปัจจัยการรับรู้สมรรถนะแห่งตน การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา การได้รับขอ้มูลข่าวสารเกี่ยวกับการรับประทานยา และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์ต่อการรับประทานยาอย่างสมำ่เสมอต่อเนื่องในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ จำนวน 128 ราย ทีี่มารับบริการที่หน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในกรุงเทพฯ และโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดนนทบุรี เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ.
ผลการวิจัย พบว่า การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ ส่่วนใหญ่อยู่ในระดับต่ำ ร้อยละ 61 การรับรู้สมรรถนะตนเอง การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา การได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการรับประทานยา และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 63.30,66.40,69.50 และ 69.50 ตามลำดับ สามารถร่วมกันทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องของตัวอย่างได้ร้อยละ 21 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิิติฯ โดยพบว่า การรับรู้สมรรถนะแห่งตนสามารถทำนายได้มากที่สุด รองลงมาคือ การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา.Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26749 ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองด้านอาหารและการออกกำลังกายต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร / ยุพา หนูฟอง in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 ([12/27/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองด้านอาหารและการออกกำลังกายต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร : การออกกำลังกายและน้ำหนักของนักศึกษาที่ภาวะอ้วน Original title : The effects of dietary and exercise self-regulation program on dietary and exercise behavior and body weight of obese students Material Type: printed text Authors: ยุพา หนูฟอง, Author ; ไหมมูน๊ะ อาแย, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.78-92 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.78-92Keywords: ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองด้านอาหาร.ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองด้านการออกกำลังกาย.พฤติกรรมการบริโภคอาหาร.การออกกำลังกาย.น้ำหนักนักศึกษาที่มีภาวะอ้วน. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25912 [article] ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองด้านอาหารและการออกกำลังกายต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร = The effects of dietary and exercise self-regulation program on dietary and exercise behavior and body weight of obese students : การออกกำลังกายและน้ำหนักของนักศึกษาที่ภาวะอ้วน [printed text] / ยุพา หนูฟอง, Author ; ไหมมูน๊ะ อาแย, Author . - 2016 . - p.78-92.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการดูแลสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพและระดับความดันโลหิตสูงของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง / รุ่งโรจน์ พรมอยู่ in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 ([03/24/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการดูแลสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพและระดับความดันโลหิตสูงของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง Original title : Effect of health care program on health behaviors and blood pressure level among hypertensive patients Material Type: printed text Authors: รุ่งโรจน์ พรมอยู่, Author ; สุภาพร แนวบุตร, Author ; ชมนาด วรรณพรศิริ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.108-120 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 [03/24/2017] . - p.108-120Keywords: การดูแลสุขภาพ.พฤติกรรมสุขภาพ.ระดับความดันโลหิตสูง.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง. Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26887 [article] ผลของโปรแกรมการดูแลสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพและระดับความดันโลหิตสูงของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง = Effect of health care program on health behaviors and blood pressure level among hypertensive patients [printed text] / รุ่งโรจน์ พรมอยู่, Author ; สุภาพร แนวบุตร, Author ; ชมนาด วรรณพรศิริ, Author . - 2017 . - p.108-120.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยชุมชนมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร / ธัญจิรา พิลาศรี in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Vol.27 No.3 (Sep-Dec) 2015/2558 ([06/27/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยชุมชนมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร : พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และภาวะโภชนาการในผู้หญิงที่มีความเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงในชุมชน Original title : Effect of behavioral modification program using community participation on food consumption behaviors alcohol consumption behaviors and nutritional status in women at risk for metabolic syndrome in communities Material Type: printed text Authors: ธัญจิรา พิลาศรี, Author ; นพวรรณ เปียชื่อ, Author ; สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.10-25 General note:
1. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และภาวะโภชนาการของกลุ่มทดลองระหว่างก่อนและหลังได้รับโปรแกรม และ 2. เปรียบเทียบพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และภาวะโภชนาการระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง ใช้รูปแบบการวิจัย แบบกึ่งทดลอง ประชากรที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้หญิงที่มีความเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงในชุมชน 2 แห่ง ของจังหวัดสุรินทร์ เป็นกลุ่มควบคุม 35 ราย และกลุ่มทดลอง 35 ราย ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย สถิติที และสถิติแมนวิทนีย์ อู ผลการวิจัย 1. พฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p น้อยกว่า .001) และดีกว่ากลุ่มควบคุม (p น้อยกว่า .001) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของกลุ่มทดลองในระยะหลักทดลองดีกว่าก่อนทดลอง (p น้อยกว่า .001) และดีกว่ากลุ่มควบคุม (p เท่ากับ .02) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ 3. ภาวะโภชนาการ ได้แก่ เส้นรอบเอว ระดับน้ำตาลในเลือด และไตรกลีเซอไรด์ในหลอดเลือดของกลุ่มทดลองดีกว่ากลุ่มก่อนทดลอง (p น้อยกว่า .001) และดีกว่ากลุ่มควบคุม (p น้อยกว่า .001) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุป ผลการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะต่อพยาบาล เจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพ และเครือข่ายชุมชนในการติดตามภาวะเสี่ยงของโรคอ้วนลงพุง และส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการดูแลสุขภาพทั้งการบริโภคอาหาร การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพื่อให้สามารถควบคุมภาวะเสี่ยงโรคอ้วนลงพุงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Vol.27 No.3 (Sep-Dec) 2015/2558 [06/27/2016] . - p.10-25Keywords: โปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม.ชุมชนมีส่วนร่วม.พฤติกรรมการบริโภคอาหารพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอลฺ.ภาวะโภชนาการ.โรคอ้วนลงพุง Link for e-copy: http://tci-thaijo.org/index.php/CUNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25530 [article] ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยชุมชนมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร = Effect of behavioral modification program using community participation on food consumption behaviors alcohol consumption behaviors and nutritional status in women at risk for metabolic syndrome in communities : พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และภาวะโภชนาการในผู้หญิงที่มีความเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงในชุมชน [printed text] / ธัญจิรา พิลาศรี, Author ; นพวรรณ เปียชื่อ, Author ; สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, Author . - 2016 . - p.10-25.
1. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และภาวะโภชนาการของกลุ่มทดลองระหว่างก่อนและหลังได้รับโปรแกรม และ 2. เปรียบเทียบพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และภาวะโภชนาการระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง ใช้รูปแบบการวิจัย แบบกึ่งทดลอง ประชากรที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้หญิงที่มีความเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงในชุมชน 2 แห่ง ของจังหวัดสุรินทร์ เป็นกลุ่มควบคุม 35 ราย และกลุ่มทดลอง 35 ราย ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย สถิติที และสถิติแมนวิทนีย์ อู ผลการวิจัย 1. พฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p น้อยกว่า .001) และดีกว่ากลุ่มควบคุม (p น้อยกว่า .001) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของกลุ่มทดลองในระยะหลักทดลองดีกว่าก่อนทดลอง (p น้อยกว่า .001) และดีกว่ากลุ่มควบคุม (p เท่ากับ .02) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ 3. ภาวะโภชนาการ ได้แก่ เส้นรอบเอว ระดับน้ำตาลในเลือด และไตรกลีเซอไรด์ในหลอดเลือดของกลุ่มทดลองดีกว่ากลุ่มก่อนทดลอง (p น้อยกว่า .001) และดีกว่ากลุ่มควบคุม (p น้อยกว่า .001) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุป ผลการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะต่อพยาบาล เจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพ และเครือข่ายชุมชนในการติดตามภาวะเสี่ยงของโรคอ้วนลงพุง และส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการดูแลสุขภาพทั้งการบริโภคอาหาร การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพื่อให้สามารถควบคุมภาวะเสี่ยงโรคอ้วนลงพุงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหารโดยใช้อินเตอร์เน็ตต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักตัวในวัยรุ่นที่มีภาวะโภชนาการเกิน / ผลิดา หนุดละ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหารโดยใช้อินเตอร์เน็ตต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักตัวในวัยรุ่นที่มีภาวะโภชนาการเกิน Original title : Effect of Internet-Based Dietary Self-Monitoring Program on Dietary Behavior and Body Weight Among Overnutrition Adolescents Material Type: printed text Authors: ผลิดา หนุดละ, Author ; ปิยะนุช จิตตนูนท์, Author ; กาญจน์สุนภัส บาลทิพย์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.32-46 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.32-46Keywords: โปรแกรมการเตือนตนเอง. อินเตอร์เน็ต. พฤติกรรมการบริโภค. น้ำหนักตัว. ภาวะโภชนาการเกิน. วัยรุ่น. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหาร
โดยใช้อินเตอร์เน็ตต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักตัวในวัยรุ่นที่มีภาวะโภชนาการเกิน
การออกแบบวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจากโรงเรียนมัธยมที่มีขนาดใหญ่พิเศษในเขตเทศบาลนครแห่งหนึ่ง จำนวน 2 โรงเรียน โดยใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างนักเรียนวัยรุ่นที่มีภาวะโภชนาการเกินของแต่ละโรงเรียนแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด และจับคู่กลุ่มตัวอย่างทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมตามระดับภาวะโภชนาการ กลุ่มละ 24 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหารโดยใช้อินเตอร์เน็ต เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ กลุ่มควบคุมไม่ได้รับโปรแกรมดังกล่าว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหารโดยใช้อินเตอร์เน็ต 2) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิตอล เครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหารผ่านการตรวจสอบความเที่ยงในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 20 ราย ได้ค่าสัมประสิทธิแอลฟ่าของครอนบาคเท่ากับ .80 และเครื่องชั่งน้ำหนักตรวจสอบความเที่ยงโดยการเปรียบเทียบกับเครื่องมือมาตรฐานก่อนการชั่งทุกครั้ง วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลโดยสถิติบรรยาย วิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักตัวภายในกลุ่มก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมโดยสถิติทีคู่ วิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักตัวระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยสถิติที
ผลการวิจัย: กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารหลังการทดลองสูงกว่า
ก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) และนำ้หนักตัวตำ่กว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
(p<.01) กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารหลังการทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติ (p<.01) และนำ้หนักตัวกลุ่มทดลองหลังการทดลองตำ่กว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ (p<.05)
สรุปผลการวิจัย: ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า โปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหาร
โดยใช้อินเตอร์เน็ต สามารถทำให้วัยรุ่นในโรงเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคอาหารและทำให้นำ้หนักตัวลดลงได้ ดังนั้นจึงควรนำไปใช้เพื่อจัดการภาวะโภชนาการเกินสำหรับวัยรุ่นในระบบการศึกษาหรือปรับใช้กับวัยรุ่นโดยทั่วไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26982 [article] ผลของโปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหารโดยใช้อินเตอร์เน็ตต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักตัวในวัยรุ่นที่มีภาวะโภชนาการเกิน = Effect of Internet-Based Dietary Self-Monitoring Program on Dietary Behavior and Body Weight Among Overnutrition Adolescents [printed text] / ผลิดา หนุดละ, Author ; ปิยะนุช จิตตนูนท์, Author ; กาญจน์สุนภัส บาลทิพย์, Author . - 2017 . - p.32-46.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.32-46Keywords: โปรแกรมการเตือนตนเอง. อินเตอร์เน็ต. พฤติกรรมการบริโภค. น้ำหนักตัว. ภาวะโภชนาการเกิน. วัยรุ่น. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหาร
โดยใช้อินเตอร์เน็ตต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักตัวในวัยรุ่นที่มีภาวะโภชนาการเกิน
การออกแบบวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจากโรงเรียนมัธยมที่มีขนาดใหญ่พิเศษในเขตเทศบาลนครแห่งหนึ่ง จำนวน 2 โรงเรียน โดยใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างนักเรียนวัยรุ่นที่มีภาวะโภชนาการเกินของแต่ละโรงเรียนแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด และจับคู่กลุ่มตัวอย่างทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมตามระดับภาวะโภชนาการ กลุ่มละ 24 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหารโดยใช้อินเตอร์เน็ต เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ กลุ่มควบคุมไม่ได้รับโปรแกรมดังกล่าว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหารโดยใช้อินเตอร์เน็ต 2) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิตอล เครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหารผ่านการตรวจสอบความเที่ยงในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 20 ราย ได้ค่าสัมประสิทธิแอลฟ่าของครอนบาคเท่ากับ .80 และเครื่องชั่งน้ำหนักตรวจสอบความเที่ยงโดยการเปรียบเทียบกับเครื่องมือมาตรฐานก่อนการชั่งทุกครั้ง วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลโดยสถิติบรรยาย วิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักตัวภายในกลุ่มก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมโดยสถิติทีคู่ วิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักตัวระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยสถิติที
ผลการวิจัย: กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารหลังการทดลองสูงกว่า
ก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) และนำ้หนักตัวตำ่กว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
(p<.01) กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารหลังการทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติ (p<.01) และนำ้หนักตัวกลุ่มทดลองหลังการทดลองตำ่กว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ (p<.05)
สรุปผลการวิจัย: ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า โปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหาร
โดยใช้อินเตอร์เน็ต สามารถทำให้วัยรุ่นในโรงเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคอาหารและทำให้นำ้หนักตัวลดลงได้ ดังนั้นจึงควรนำไปใช้เพื่อจัดการภาวะโภชนาการเกินสำหรับวัยรุ่นในระบบการศึกษาหรือปรับใช้กับวัยรุ่นโดยทั่วไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26982 ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและระดับคอเลสเตอรอล ในเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ตำบลทะนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร / เพ็ญพร สายวิจิตร in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.11 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2560 ([03/20/2018])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและระดับคอเลสเตอรอล ในเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ตำบลทะนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร Original title : Effects of Health Promotion Program on Food Consumption Behavior and Cholesterol Level Among Farmers in Tanong Sub-District, Phothalae District, Pichit Province Material Type: printed text Authors: เพ็ญพร สายวิจิตร, Author ; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร, Author Publication Date: 2018 Article on page: p.18-28 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.11 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2560 [03/20/2018] . - p.18-28Keywords: ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพด้านอาหาร.พฤติกรรมการบริโภคอาหาร.ระดับคอเลสเตอรอล. เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง. Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27569 [article] ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและระดับคอเลสเตอรอล ในเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ตำบลทะนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร = Effects of Health Promotion Program on Food Consumption Behavior and Cholesterol Level Among Farmers in Tanong Sub-District, Phothalae District, Pichit Province [printed text] / เพ็ญพร สายวิจิตร, Author ; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร, Author . - 2018 . - p.18-28.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)