From this page you can:
Home |
Search results
87 result(s) search for keyword(s) 'เบาหวาน. ผู้ป่วย. การดูแลตนเอง.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ / อารีย์ รัตนพันธ์ / บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2552
Title : ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ Original title : Sale-care experiecne on glycemic controlled in diabetes mellitus patients Material Type: printed text Authors: อารีย์ รัตนพันธ์, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2552 Pagination: 155 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Diabetics -- Care
[LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]ผู้ป่วย -- เบาหวานKeywords: เบาหวาน.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WK815 อ927 2552 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพชนิดปรากฎการณ์วิทยา เพื่อศึกษาประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ราย ซึ่งเป็นผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหารอยู่ระหว่าง 80-120 mg/dl เป็นเวลาติดต่อกันอย่างน้อย 1 ปี และมีรดับ A1C น้อยกว่าร้อยละ 7 จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ระดับลึกร่วมกับการสังเกต การจดบันทึกภาคสนามและการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการของโคไลซี่
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ให้ความหมายของการดูแลตนเองใน 3 ลักษณะ คือ การทำให้ร่างกายดีและแข็งแรง การควบคุมตนเองไม่ให้น่ำตาลในเลือดสูง และการป้องกันตนเองไม่ให้เกิดความเจ็บป่วย ความรู้ที่มีต่อการเป็นโรเบาหวาน แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือ การยอมรับกับการเป็นโรคเบาหวาน และการใส่ใจดูแลตนเอง โดยมีวิธีการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด 5 วิธี คือ
1. การปฎิบัติตามคำแนะนำของทีมสุขภาพ 2. การรู้จักควบคุมตนเอง 3 การจัดการกับความเครียด 4. การทำกิจกรรมสม่ำเสมอ 5 การใช้สมุนไพรมารักษาเสริมCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23212 ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ = Sale-care experiecne on glycemic controlled in diabetes mellitus patients [printed text] / อารีย์ รัตนพันธ์, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552 . - 155 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Diabetics -- Care
[LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]ผู้ป่วย -- เบาหวานKeywords: เบาหวาน.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WK815 อ927 2552 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพชนิดปรากฎการณ์วิทยา เพื่อศึกษาประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ราย ซึ่งเป็นผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหารอยู่ระหว่าง 80-120 mg/dl เป็นเวลาติดต่อกันอย่างน้อย 1 ปี และมีรดับ A1C น้อยกว่าร้อยละ 7 จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ระดับลึกร่วมกับการสังเกต การจดบันทึกภาคสนามและการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการของโคไลซี่
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ให้ความหมายของการดูแลตนเองใน 3 ลักษณะ คือ การทำให้ร่างกายดีและแข็งแรง การควบคุมตนเองไม่ให้น่ำตาลในเลือดสูง และการป้องกันตนเองไม่ให้เกิดความเจ็บป่วย ความรู้ที่มีต่อการเป็นโรเบาหวาน แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือ การยอมรับกับการเป็นโรคเบาหวาน และการใส่ใจดูแลตนเอง โดยมีวิธีการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด 5 วิธี คือ
1. การปฎิบัติตามคำแนะนำของทีมสุขภาพ 2. การรู้จักควบคุมตนเอง 3 การจัดการกับความเครียด 4. การทำกิจกรรมสม่ำเสมอ 5 การใช้สมุนไพรมารักษาเสริมCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23212 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354983 WK815 อ927 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง / กันยารัตน์ มาเกตุ / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2552
Title : การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง : ที่มีการฟื้นความสามารถ Original title : Self management on illness among the recovery stroke patients Material Type: printed text Authors: กันยารัตน์ มาเกตุ, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2552 Pagination: 126 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความเจ็บปวด -- การบำบัด
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]หลอดเลือดสมอง -- โรคKeywords: โรคหลอดเลือดสมอง.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WL355 ก156 2552 Abstract: ศึกษาความหมายและวิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยตามมุมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดทีี่มีการฟื้นความสามารถ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลวัดโบสถ์จังหวัดพิษณุโลก และมีการฟื้นความสามารถโดยการผ่านการประเมินระดับความสามารถในการปฎิบัติกิจวัตรประจำวันอยู่ในเกณฑ์ 75-100 คะแนน จำนวน 13 คน ใช้วิธีการสัมภาษณ์ระดับลึก เครื่องมือที่ใช้คือ แนวคำถามปลายเปิด เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2551 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content anlysis) ตามแนวคิดของ Burnard ผลการศึกษาพบว่า
1. ผู้ให้ข้อมูลได้ให้ความหมายต่อภาวะเจ็บป่วย 3 ความหมาย คือ เป็นโรคที่ตายทั้งเป็น หรือเหมือนคนที่ตายแล้ว โรคเวรโรคกรรมและโรคที่ต้องพึ่งพาเป็นภาระให้กับผู้อื่น 2. ความรู้สึกต่อการเจ็บป่วยนั้นผู้ให้ข้อมูลมีความรู้สึกว่า เป็นชั่วคราวมีความหวังจะหาย เครียด อารมณ์หงุดหงิดที่ดูแลตัวเองไม่ได้และไม่อยากให้เป็นภาระกับผู้อื่น อยากเอาชนะคำสบประมาท 3. วิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยนั้นพบว่า ได้จัีดการกับความทุกข์ทั้งทางร่างกายและจิตใจด้วยการทำใจให้ยอมรับ คิดให้ชีวิตมีความหวัง หาวิธีผ่อนคลายความเครียด คิดเชิงบวกต่อความเจ็บป่วย พยายามช่วยเหลือตนเอง และออกกำลังกายฟื้นฟูร่างกายอย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้สอดคล้องกัีบสภาพร่างกายอันได้แก่ การเลือกและจำกัดอาหาร นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ ใช้การแพทย์แผยไทย แสวงหาวิธีการรักษาต่าง ๆ มาทดลองใช้ รับการรักษษกับแพทย์แผนปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง และเมื่อฟื้นหาย ได้คงวิถีชีวิตที่ดี การปฎิบัติงานช่วยเหลือชุมชนด้วยจิตอาสาCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23201 การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง = Self management on illness among the recovery stroke patients : ที่มีการฟื้นความสามารถ [printed text] / กันยารัตน์ มาเกตุ, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552 . - 126 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความเจ็บปวด -- การบำบัด
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]หลอดเลือดสมอง -- โรคKeywords: โรคหลอดเลือดสมอง.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WL355 ก156 2552 Abstract: ศึกษาความหมายและวิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยตามมุมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดทีี่มีการฟื้นความสามารถ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลวัดโบสถ์จังหวัดพิษณุโลก และมีการฟื้นความสามารถโดยการผ่านการประเมินระดับความสามารถในการปฎิบัติกิจวัตรประจำวันอยู่ในเกณฑ์ 75-100 คะแนน จำนวน 13 คน ใช้วิธีการสัมภาษณ์ระดับลึก เครื่องมือที่ใช้คือ แนวคำถามปลายเปิด เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2551 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content anlysis) ตามแนวคิดของ Burnard ผลการศึกษาพบว่า
1. ผู้ให้ข้อมูลได้ให้ความหมายต่อภาวะเจ็บป่วย 3 ความหมาย คือ เป็นโรคที่ตายทั้งเป็น หรือเหมือนคนที่ตายแล้ว โรคเวรโรคกรรมและโรคที่ต้องพึ่งพาเป็นภาระให้กับผู้อื่น 2. ความรู้สึกต่อการเจ็บป่วยนั้นผู้ให้ข้อมูลมีความรู้สึกว่า เป็นชั่วคราวมีความหวังจะหาย เครียด อารมณ์หงุดหงิดที่ดูแลตัวเองไม่ได้และไม่อยากให้เป็นภาระกับผู้อื่น อยากเอาชนะคำสบประมาท 3. วิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยนั้นพบว่า ได้จัีดการกับความทุกข์ทั้งทางร่างกายและจิตใจด้วยการทำใจให้ยอมรับ คิดให้ชีวิตมีความหวัง หาวิธีผ่อนคลายความเครียด คิดเชิงบวกต่อความเจ็บป่วย พยายามช่วยเหลือตนเอง และออกกำลังกายฟื้นฟูร่างกายอย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้สอดคล้องกัีบสภาพร่างกายอันได้แก่ การเลือกและจำกัดอาหาร นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ ใช้การแพทย์แผยไทย แสวงหาวิธีการรักษาต่าง ๆ มาทดลองใช้ รับการรักษษกับแพทย์แผนปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง และเมื่อฟื้นหาย ได้คงวิถีชีวิตที่ดี การปฎิบัติงานช่วยเหลือชุมชนด้วยจิตอาสาCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23201 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354785 WL355 ก156 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 / หนึ่งฤทัย จันทร์อินทร์ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 Original title : Foot care behavior of older persons with types 2 Diabets Material Type: printed text Authors: หนึ่งฤทัย จันทร์อินทร์, Author Publication Date: 2015 Article on page: 199-212 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - 199-212Keywords: เบาหวานชนิดที่ 2.พฤตจิกรรมการดูแลเท้า.การดูแลตนเอง.ผู้สูงอายุ. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 โดยใช้กรอบแนวคิดการดูแลตนเองของโอเร็ม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับการตรวจรักษาที่ศูนย์เบาหวาน โรงพยาบาลตากสิน เลิือกแบบเจาะจง จำนวน 78 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ตามแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างที่ผุ้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างจำนวน 78 ราย เป็นพศชาย และเพศหญิงจำนวนเท่ากัน อายุเฉลี่ย 68.64 ปี กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่แตกต่างจากเดิมหลังรู้ว่าเป็นเบาหวาน คือ ให้ความสำคัญกับการดูลเท้ามากขึ้น มีการตรวจเท้าด้วยตนเอง เพื่อหาความผิดปกติของเท้า เนื่องจากความกลัวการถูกตัดนิ้ว ตัดขา มีการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าโดยการทาครีมทาผิวที่เท้า ตัดเล็บแนวตรงไม่งัดแงะซอกเล็บ แต่มีบางรายที่มีการแช่เท้าในน่้ำอุ่น โดยไม่ทราบถึงผลเสีน นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างมีปัญหาตามัว มองไม่ชัด และมีภาวะอ้สนลงพุง ทำให้ก้มดูแลเท้าไม่สะดวก แต่มีความคิดริเริ่มใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเพื่อช่วยในการมองเห็นให้ชัดขึ้น หรือขอให้ญาติเป็นผู้ตรวจดูเท้าให้ จากข้อมูลเหล่านี้ แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างกระทำการดูแลตนเองอย่างมีเป้าหมาย มีการไตร่ตรอง และมีทักษะในการปรับการปฏิบัติการดูแลตนเองด้วยวิธีต่าง ๆ รวมทั้งสอดแทรดการดูแลตนเองเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในแบบแผนการดำเนินชีวิต ผลการวิจัยครั้งนี้ทำให้เข้าใจพฤติกรรมและปัญหาในการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 และสามารถนำไปวางแผนการดูแลให้สอดคล้่องกับพฤติกรรม และแบบแผนกาาดำเนินชีวิตตามบริบททางสังคมของผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ดียิ่งขึ้น Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24988 [article] พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 = Foot care behavior of older persons with types 2 Diabets [printed text] / หนึ่งฤทัย จันทร์อินทร์, Author . - 2015 . - 199-212.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - 199-212Keywords: เบาหวานชนิดที่ 2.พฤตจิกรรมการดูแลเท้า.การดูแลตนเอง.ผู้สูงอายุ. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 โดยใช้กรอบแนวคิดการดูแลตนเองของโอเร็ม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับการตรวจรักษาที่ศูนย์เบาหวาน โรงพยาบาลตากสิน เลิือกแบบเจาะจง จำนวน 78 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ตามแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างที่ผุ้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างจำนวน 78 ราย เป็นพศชาย และเพศหญิงจำนวนเท่ากัน อายุเฉลี่ย 68.64 ปี กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่แตกต่างจากเดิมหลังรู้ว่าเป็นเบาหวาน คือ ให้ความสำคัญกับการดูลเท้ามากขึ้น มีการตรวจเท้าด้วยตนเอง เพื่อหาความผิดปกติของเท้า เนื่องจากความกลัวการถูกตัดนิ้ว ตัดขา มีการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าโดยการทาครีมทาผิวที่เท้า ตัดเล็บแนวตรงไม่งัดแงะซอกเล็บ แต่มีบางรายที่มีการแช่เท้าในน่้ำอุ่น โดยไม่ทราบถึงผลเสีน นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างมีปัญหาตามัว มองไม่ชัด และมีภาวะอ้สนลงพุง ทำให้ก้มดูแลเท้าไม่สะดวก แต่มีความคิดริเริ่มใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเพื่อช่วยในการมองเห็นให้ชัดขึ้น หรือขอให้ญาติเป็นผู้ตรวจดูเท้าให้ จากข้อมูลเหล่านี้ แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างกระทำการดูแลตนเองอย่างมีเป้าหมาย มีการไตร่ตรอง และมีทักษะในการปรับการปฏิบัติการดูแลตนเองด้วยวิธีต่าง ๆ รวมทั้งสอดแทรดการดูแลตนเองเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในแบบแผนการดำเนินชีวิต ผลการวิจัยครั้งนี้ทำให้เข้าใจพฤติกรรมและปัญหาในการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 และสามารถนำไปวางแผนการดูแลให้สอดคล้่องกับพฤติกรรม และแบบแผนกาาดำเนินชีวิตตามบริบททางสังคมของผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ดียิ่งขึ้น Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24988 คู่มือ : รายการข้อวินิจฉัยการพยาบาลตามกรอบแนวคิดของโอเร็ม / มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ / ขอนแก่น : คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - 2541
Title : คู่มือ : รายการข้อวินิจฉัยการพยาบาลตามกรอบแนวคิดของโอเร็ม Material Type: printed text Authors: มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2. Publisher: ขอนแก่น : คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Publication Date: 2541 Pagination: (ก-ฎ), 146 หน้า. Size: 29 ซม. ISBN (or other code): 978-974-675-282-6 Price: 90.00 (ถ่ายสำเนา) Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]การพยาบาล, การวินิจฉัย
[LCSH]การพยาบาล, ทฤษฎีKeywords: การดูแลตนเอง.
การพยาบาล.
การวินิจฉัย.
ทฤษฎี.Class number: WY86 ค695 2541 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23823 คู่มือ : รายการข้อวินิจฉัยการพยาบาลตามกรอบแนวคิดของโอเร็ม [printed text] / มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2. . - ขอนแก่น : คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2541 . - (ก-ฎ), 146 หน้า. ; 29 ซม.
ISSN : 978-974-675-282-6 : 90.00 (ถ่ายสำเนา)
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]การพยาบาล, การวินิจฉัย
[LCSH]การพยาบาล, ทฤษฎีKeywords: การดูแลตนเอง.
การพยาบาล.
การวินิจฉัย.
ทฤษฎี.Class number: WY86 ค695 2541 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23823 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000397271 WY86 ค695 2541 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. หมอประจำบ้าน เล่ม 2 (หมวด ผ-อ) / 2555
Collection Title: Old book collection Title : หมอประจำบ้าน เล่ม 2 (หมวด ผ-อ) : ตำราเรียนรู้เรื่องสุขภาพ Original title : The doctors book of home remedies Material Type: printed text Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publication Date: 2555 Pagination: 379 หน้า. Size: 25 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-507078-2 Price: 350.00 General note: คู่มือหมอประจำบ้าน 2 (หมวด ผ-อ) ประกอบด้วย 79 ภาวะ Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง
[LCSH]การรักษาโรค
[LCSH]การใช้ยารักษาตนเอง
[LCSH]ปฐมพยาบาล -- คู่มือKeywords: การรักษาโรค.
การดูแลตนเอง.Class number: WB327 ค695 2555 Contents note: หมวด ผ.-- หมวด ฝ.-- หมวด พ.-- หมวด ภ.-- หมวด ม.-- หมวด ร.-- หมวด ล.-- หมวด ว.-- หมวด ส.-- หมวด ส.-- หมวด อ.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23721 Old book collection. หมอประจำบ้าน เล่ม 2 (หมวด ผ-อ) = The doctors book of home remedies : ตำราเรียนรู้เรื่องสุขภาพ [printed text] . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - 2555 . - 379 หน้า. ; 25 ซม.
ISBN : 978-6-16-507078-2 : 350.00
คู่มือหมอประจำบ้าน 2 (หมวด ผ-อ) ประกอบด้วย 79 ภาวะ
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง
[LCSH]การรักษาโรค
[LCSH]การใช้ยารักษาตนเอง
[LCSH]ปฐมพยาบาล -- คู่มือKeywords: การรักษาโรค.
การดูแลตนเอง.Class number: WB327 ค695 2555 Contents note: หมวด ผ.-- หมวด ฝ.-- หมวด พ.-- หมวด ภ.-- หมวด ม.-- หมวด ร.-- หมวด ล.-- หมวด ว.-- หมวด ส.-- หมวด ส.-- หมวด อ.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23721 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000393288 WB327 ค695 2555 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000393304 WB327 ค695 2555 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000393262 WB327 ค695 2555 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000393270 WB327 ค695 2555 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000393296 WB327 ค695 2555 c.5 Book Main Library Library Counter Available การจัดการข้อมูลในการบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง / รสสคุนธ์ วาริทสกุล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : การจัดการข้อมูลในการบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง Original title : Data management in healtcare delivery for chronic kidney disease patients Material Type: printed text Authors: รสสคุนธ์ วาริทสกุล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.6-14 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.6-14Keywords: การจัดการข้อมูล.การบริการสุขภาพ.โรคไตเรื้อรัง.ผู้ป่วยโรตไตเรื้อรัง.Chronic kidney disease patients. Abstract: ปัจจุบัน พยาบาลมักเผชิญปัญหาในการจัดการกับข้อมูลที่เกิดจากการให้บริการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง หากพยาบาลสามารถจัดการกับข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้พยาบาลสามารถให้บริการสุขภาพที่รวดเร็ว ลดความซ้ำซ้อนทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยได้มากยิ่งขึ้น บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการอธิบายกระบวนการจัดการกับข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการให้บริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังให้เป็นสารสนเทศทางสุขภาพที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการต่อไป กระบวนการจัดการข้อมูลประกอบด้วย การกำหนดชุดข้อมูลจำเป็น การเก็บรวบรวมข้อมูลสุขภาพเพื่อการจัดการข้อมูล การสร้างฐานข้อมูลสุขภาพขนาดเล็ก การประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศไปใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพการบริการ ดังนั้น เพื่อให้การจัดการข้อมูลสุขภาพมีความหมายและใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น พยาบาลจะต้องให้ความสำคัญกับการเตรียมรวบรวมข้อมูล ตลอดจนขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูลให้สอดคล้องกับวิธีที่จะวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26735 [article] การจัดการข้อมูลในการบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง = Data management in healtcare delivery for chronic kidney disease patients [printed text] / รสสคุนธ์ วาริทสกุล, Author . - 2017 . - p.6-14.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.6-14Keywords: การจัดการข้อมูล.การบริการสุขภาพ.โรคไตเรื้อรัง.ผู้ป่วยโรตไตเรื้อรัง.Chronic kidney disease patients. Abstract: ปัจจุบัน พยาบาลมักเผชิญปัญหาในการจัดการกับข้อมูลที่เกิดจากการให้บริการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง หากพยาบาลสามารถจัดการกับข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้พยาบาลสามารถให้บริการสุขภาพที่รวดเร็ว ลดความซ้ำซ้อนทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยได้มากยิ่งขึ้น บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการอธิบายกระบวนการจัดการกับข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการให้บริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังให้เป็นสารสนเทศทางสุขภาพที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการต่อไป กระบวนการจัดการข้อมูลประกอบด้วย การกำหนดชุดข้อมูลจำเป็น การเก็บรวบรวมข้อมูลสุขภาพเพื่อการจัดการข้อมูล การสร้างฐานข้อมูลสุขภาพขนาดเล็ก การประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศไปใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพการบริการ ดังนั้น เพื่อให้การจัดการข้อมูลสุขภาพมีความหมายและใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น พยาบาลจะต้องให้ความสำคัญกับการเตรียมรวบรวมข้อมูล ตลอดจนขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูลให้สอดคล้องกับวิธีที่จะวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26735 การจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม / สุชาวดี รุ่งแจ้ง in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 ([11/16/2017])
[article]
Title : การจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม Original title : สุชาวดี รุ่งแจ้ง, รัชนี นามจันทรา Material Type: printed text Authors: สุชาวดี รุ่งแจ้ง, Author ; รัชนี นามจันทรา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.43-57 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.43-57Keywords: ผู้ป่วยมะเร็งปอด.มะเร็งปอดระยะลุกลาม.อาการ.วิธีการจัดการอาการ. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) อาการ และความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม และ 2) วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
กลุ่มตัวอย่างเลือกอย่างเฉพาะเจาะจงจากผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามที่มารับบริการ ณ หน่วยผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ จำนวน 83 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย และแบบสัมภาษณ์อาการ ความรุนแรงของอาการ วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า อาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก ได้แก่ ปวด ไอ เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และเบื่ออาหาร เรียงลำดับตามความรุนแรงในอาการที่พบบ่อยได้เป็น เบื่ออาหาร ปวด เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และไอ ตามลำดับ โดยอาการปวดเป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด ในขณะที่อาการเบื่ออาหารมีค่าเฉลี่ยความรุนแรงสูงที่สุด ผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามใช้วิธีการหลายๆ วิธีในการจัดการอาการแต่ละอาการ วิธีการจัดการอาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก มีดังนี้ 1) อาการปวด ใช้วิธีการรับประทานยาแก้ปวดทุกครั้งที่มีอาการ 2) อาการไอ ใช้วิธีจิบน้ำอุ่น/ดื่มน้ำ และรับประทานยาละลายเสมหะ 3) อาการเหนื่อยล้า ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพักช่วงกลางวัน 4) อาการหายใจลำบาก ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพัก และ 5) อาการเบื่ออาหาร ใช้วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น รับประทานอาหารหรือผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว หรือดื่มเครื่องดื่มอาหารเสริมระหว่างมื้ออาหาร ผลลัพธ์ของการจัดการอาการของผู้ป่วยโดยรวมเป็นไปในทางที่ดี คือ มีอาการทุเลา
ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลในการวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม เพื่อลดความรุนแรงและบรรเทาอาการจากโรค ในการให้ข้อมูล ให้คำปรึกษา รวมทั้งสนับสนุนให้ผู้ป่วยและญาติมีการจัดการอาการด้วยตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการในการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27488 [article] การจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม = สุชาวดี รุ่งแจ้ง, รัชนี นามจันทรา [printed text] / สุชาวดี รุ่งแจ้ง, Author ; รัชนี นามจันทรา, Author . - 2017 . - p.43-57.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.43-57Keywords: ผู้ป่วยมะเร็งปอด.มะเร็งปอดระยะลุกลาม.อาการ.วิธีการจัดการอาการ. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) อาการ และความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม และ 2) วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
กลุ่มตัวอย่างเลือกอย่างเฉพาะเจาะจงจากผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามที่มารับบริการ ณ หน่วยผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ จำนวน 83 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย และแบบสัมภาษณ์อาการ ความรุนแรงของอาการ วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า อาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก ได้แก่ ปวด ไอ เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และเบื่ออาหาร เรียงลำดับตามความรุนแรงในอาการที่พบบ่อยได้เป็น เบื่ออาหาร ปวด เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และไอ ตามลำดับ โดยอาการปวดเป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด ในขณะที่อาการเบื่ออาหารมีค่าเฉลี่ยความรุนแรงสูงที่สุด ผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามใช้วิธีการหลายๆ วิธีในการจัดการอาการแต่ละอาการ วิธีการจัดการอาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก มีดังนี้ 1) อาการปวด ใช้วิธีการรับประทานยาแก้ปวดทุกครั้งที่มีอาการ 2) อาการไอ ใช้วิธีจิบน้ำอุ่น/ดื่มน้ำ และรับประทานยาละลายเสมหะ 3) อาการเหนื่อยล้า ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพักช่วงกลางวัน 4) อาการหายใจลำบาก ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพัก และ 5) อาการเบื่ออาหาร ใช้วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น รับประทานอาหารหรือผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว หรือดื่มเครื่องดื่มอาหารเสริมระหว่างมื้ออาหาร ผลลัพธ์ของการจัดการอาการของผู้ป่วยโดยรวมเป็นไปในทางที่ดี คือ มีอาการทุเลา
ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลในการวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม เพื่อลดความรุนแรงและบรรเทาอาการจากโรค ในการให้ข้อมูล ให้คำปรึกษา รวมทั้งสนับสนุนให้ผู้ป่วยและญาติมีการจัดการอาการด้วยตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการในการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27488 การดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประักอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออก / เยาวลักษณ์ บรรจงปรุ / คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา - 2535
Title : การดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประักอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออก Original title : Self care related to health of industrial workers in the Eastern region of Thailand Material Type: printed text Authors: เยาวลักษณ์ บรรจงปรุ, ; บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร, Author ; วนิดา โอฬารกิจอนันต์, Author Publisher: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา Publication Date: 2535 Pagination: 104 หน้า. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-596-809-9 Price: บริจาค. General note: สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2535. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]แรงงาน -- โรงงานอุตสาหกรรม -- ภาคตะวันออก -- วิจัยKeywords: การดูแลตนเอง.
แรงงาน.
แรงงานอุตสหกรรม.Class number: WY100 ย166 2535 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรม การดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออก ตลอดจนศึกษาปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์ต่อการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพ ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ และคุณภาพ ด้วยการใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ฝ่้ายบุคคล ซึ่งเป็นผู้ประสานงานฝึกอบรมและนิเทศ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้รับแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ฉบับสมบรูณ์ จำนวน 300 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100.00 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าเอฟ วิเคราะห์ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์ต่อการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพ โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณชนิดลด หรือเพิ่มตัวแปรเป็นขั้น ๆ
ผลการศึกษาพบว่า
1. ผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออกโดยส่วนรวม มีความรู้ และเจตคติในการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ 73.12 และร้อยละ 86.60 ตามลำดับ) ส่วนพฤติกรรมในการดูแลตนเองพบว่า อยู่ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 54.24)
2 เมื่อเปรียบเทียบ ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมทั้ง 3 จังหวัด ในภาพรวมพบว่าแตกต่างกัน P<.05 เมื่อทดสอบรายคู่พบว่า ผู้ประกอบอาชีพโรงงานอุตสาหกรรมเขตพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา มีการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพดีกว่าจังหวัีดชลบุรี และจังหวัดระยอง แต่การดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมของจังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยองไม่แตกต่างกัน P>.05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านความรู้ และด้านเจตคติในการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพ ของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมเขตพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ดีกว่าจังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยอง แต่ไม่พบความแตกต่างกันของจังหวัดชลบุรี และจังหวัีดระยอง สำหรับด้านพฤติกรรมการดูแลตนเองทั้ง 3 จังหวัด นั้นไม่พบความแตกต่างกัน P>.05
3. การศึกษาปัจจัยคัดสรร พบว่าตัวแปรที่มีความสีมพันธ์กับการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออก มีเพียงตัวแปรเดียวคือ จำนวนปีที่ศึกษาอธิบายได้ว่าจำนวนปีที่ศึกษาเพิ่มขึ้น 1 ปี จะทำให้การดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 0.61 คะแนนCurricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23336 การดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประักอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออก = Self care related to health of industrial workers in the Eastern region of Thailand [printed text] / เยาวลักษณ์ บรรจงปรุ, ; บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร, Author ; วนิดา โอฬารกิจอนันต์, Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2535 . - 104 หน้า. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-596-809-9 : บริจาค.
สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2535.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]แรงงาน -- โรงงานอุตสาหกรรม -- ภาคตะวันออก -- วิจัยKeywords: การดูแลตนเอง.
แรงงาน.
แรงงานอุตสหกรรม.Class number: WY100 ย166 2535 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรม การดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออก ตลอดจนศึกษาปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์ต่อการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพ ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ และคุณภาพ ด้วยการใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ฝ่้ายบุคคล ซึ่งเป็นผู้ประสานงานฝึกอบรมและนิเทศ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้รับแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ฉบับสมบรูณ์ จำนวน 300 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100.00 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าเอฟ วิเคราะห์ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์ต่อการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพ โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณชนิดลด หรือเพิ่มตัวแปรเป็นขั้น ๆ
ผลการศึกษาพบว่า
1. ผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออกโดยส่วนรวม มีความรู้ และเจตคติในการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ 73.12 และร้อยละ 86.60 ตามลำดับ) ส่วนพฤติกรรมในการดูแลตนเองพบว่า อยู่ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 54.24)
2 เมื่อเปรียบเทียบ ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมทั้ง 3 จังหวัด ในภาพรวมพบว่าแตกต่างกัน P<.05 เมื่อทดสอบรายคู่พบว่า ผู้ประกอบอาชีพโรงงานอุตสาหกรรมเขตพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา มีการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพดีกว่าจังหวัีดชลบุรี และจังหวัดระยอง แต่การดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมของจังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยองไม่แตกต่างกัน P>.05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านความรู้ และด้านเจตคติในการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพ ของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมเขตพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ดีกว่าจังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยอง แต่ไม่พบความแตกต่างกันของจังหวัดชลบุรี และจังหวัีดระยอง สำหรับด้านพฤติกรรมการดูแลตนเองทั้ง 3 จังหวัด นั้นไม่พบความแตกต่างกัน P>.05
3. การศึกษาปัจจัยคัดสรร พบว่าตัวแปรที่มีความสีมพันธ์กับการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออก มีเพียงตัวแปรเดียวคือ จำนวนปีที่ศึกษาอธิบายได้ว่าจำนวนปีที่ศึกษาเพิ่มขึ้น 1 ปี จะทำให้การดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 0.61 คะแนนCurricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23336 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000468940 WY100 ย166 2535 Book Main Library General Shelf Available การประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช / บุญทิวา สุวิทย์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Material Type: printed text Authors: บุญทิวา สุวิทย์, Author ; ขจี พงศธรวิบูลย์, Author ; ชูจิต หวังขจรเกียรติ, Author ; สุณี พนาสกุลการ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.194-202 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.194-202Keywords: การประเมินความต้องการจำเป็น. ความผาสุกทางจิตวิญญาณ. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. Needs assessment. spiritual well-being. Head and neck cancer patients. Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบพรรณนาเชิงประเมิน ศึกษาในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่เข้ามารับการรักษาในหอผู้ป่วยโสต ศอ นาสิก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชจำนวน 86 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบ ประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) มีค่า IOC = 1 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Cronbach’s Alpha Coefficient) = 0.763 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และ กำหนดความต้องการจำเป็นโดยใช้สูตร Prioritization Needs Index (PNIModified) ผลการวิจัยพบว่าความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.86, SD = 0.52) และทุกองค์ประกอบของความผาสุกทางจิตวิญญาณอยู่ในระดับมาก อย่างไรก็ตามผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอมีความ ต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ 3 อันดับแรกคือ 1) รู้สึกว้าวุ่นใจ กระวนกระวายใจ และไม่มีความสุข ตั้งแต่รับรู้ว่า ตนเองเจ็บป่วย (PNIModified = 0.86) 2) แม้จะได้รับการรักษาแล้วแต่เมื่อโรคมีอาการรุนแรงขึ้น ก็ยังคงรู้สึกทุกข์ทรมานใจมากขึ้น (PNIModified = 0.77) และ 3) รู้สึกกลัวทุกครั้งเมื่อนึกถึงความเจ็บป่วยที่รุนแรง (PNIModified = 0.70) Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27243 [article] การประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / บุญทิวา สุวิทย์, Author ; ขจี พงศธรวิบูลย์, Author ; ชูจิต หวังขจรเกียรติ, Author ; สุณี พนาสกุลการ, Author . - 2017 . - p.194-202.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.194-202Keywords: การประเมินความต้องการจำเป็น. ความผาสุกทางจิตวิญญาณ. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. Needs assessment. spiritual well-being. Head and neck cancer patients. Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบพรรณนาเชิงประเมิน ศึกษาในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่เข้ามารับการรักษาในหอผู้ป่วยโสต ศอ นาสิก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชจำนวน 86 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบ ประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) มีค่า IOC = 1 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Cronbach’s Alpha Coefficient) = 0.763 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และ กำหนดความต้องการจำเป็นโดยใช้สูตร Prioritization Needs Index (PNIModified) ผลการวิจัยพบว่าความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.86, SD = 0.52) และทุกองค์ประกอบของความผาสุกทางจิตวิญญาณอยู่ในระดับมาก อย่างไรก็ตามผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอมีความ ต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ 3 อันดับแรกคือ 1) รู้สึกว้าวุ่นใจ กระวนกระวายใจ และไม่มีความสุข ตั้งแต่รับรู้ว่า ตนเองเจ็บป่วย (PNIModified = 0.86) 2) แม้จะได้รับการรักษาแล้วแต่เมื่อโรคมีอาการรุนแรงขึ้น ก็ยังคงรู้สึกทุกข์ทรมานใจมากขึ้น (PNIModified = 0.77) และ 3) รู้สึกกลัวทุกครั้งเมื่อนึกถึงความเจ็บป่วยที่รุนแรง (PNIModified = 0.70) Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27243 การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน / รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน : บทบาทพยาบาล Original title : Assessment of foot ulcer risk and nursing management in patients with diabetess the role of nurses Material Type: printed text Authors: รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย, Author ; พิมผกา ปัญโญใหญ่, Author ; สรัญญา พิจารณ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.145-155 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.145-155Keywords: ผู้ป่วยเบาหวาน.การจัดการแผลที่เท้า.การประเมินความเสี่ยง.บทบาทพยาบาล. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26876 [article] การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน = Assessment of foot ulcer risk and nursing management in patients with diabetess the role of nurses : บทบาทพยาบาล [printed text] / รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย, Author ; พิมผกา ปัญโญใหญ่, Author ; สรัญญา พิจารณ์, Author . - 2017 . - p.145-155.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง / สุปรีดา มั่นคง in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน Material Type: printed text Authors: สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.84-101 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 [article] การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน [printed text] / สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author . - 2017 . - p.84-101.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะช็อก / วิลาวัลย์ อุดมการเกษตร / กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรังสิต - 2557
Title : การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะช็อก Material Type: printed text Authors: วิลาวัลย์ อุดมการเกษตร, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรังสิต Publication Date: 2557 Pagination: 107 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-768735-3 Price: 85.00 General note: School of Nursing Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ช็อค
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]ผู้ป่วย -- การพยาบาลKeywords: ผู้ป่วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24544 การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะช็อก [printed text] / วิลาวัลย์ อุดมการเกษตร, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557 . - 107 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม.
ISBN : 978-6-16-768735-3 : 85.00
School of Nursing
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ช็อค
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]ผู้ป่วย -- การพยาบาลKeywords: ผู้ป่วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24544 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000461911 RC685 ว719ก 2557 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000461945 RC685 ว719ก 2557 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000461937 RC685 ว719ก 2557 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000461960 RC685 ว719ก 2557 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000461952 RC685 ว719ก 2557 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available การพัฒนาคู่มือการกินยาด้วยตนเอง สำหรับผู้สูงอายุมุสลิมที่เป็นเบาหวาน / พัชณี สะแม in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 ([12/27/2016])
[article]
Title : การพัฒนาคู่มือการกินยาด้วยตนเอง สำหรับผู้สูงอายุมุสลิมที่เป็นเบาหวาน Original title : Development of an oral medications self-management handbook for elderly muslim patients diabetes Material Type: printed text Authors: พัชณี สะแม, Author ; พัชรี คมจักรพันธุ์, Author ; ศิริวรรณ พิริยคุณธร, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.171-180. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.171-180.Keywords: การพัฒนาคู้มือ.การกินยาด่วยตนเอง.ผู้สูงอายุมุสลิม.ผู้ป่วยเบาหวาน. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25919 [article] การพัฒนาคู่มือการกินยาด้วยตนเอง สำหรับผู้สูงอายุมุสลิมที่เป็นเบาหวาน = Development of an oral medications self-management handbook for elderly muslim patients diabetes [printed text] / พัชณี สะแม, Author ; พัชรี คมจักรพันธุ์, Author ; ศิริวรรณ พิริยคุณธร, Author . - 2016 . - p.171-180.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.171-180.Keywords: การพัฒนาคู้มือ.การกินยาด่วยตนเอง.ผู้สูงอายุมุสลิม.ผู้ป่วยเบาหวาน. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25919 การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการดูแลตนเอง / สุชาดา เจะดอเลาะ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 ([03/29/2016])
[article]
Title : การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการดูแลตนเอง : สำหรับชาวไทยมุสลิมที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง Original title : A computer assisted self care programme for Thai muslims with Hypertension Material Type: printed text Authors: สุชาดา เจะดอเลาะ, Author ; จุฬารักษ์ กวีวิวิธชัย, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; นรีมาลย์ นีละไพจิตร, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.83-94 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.83-94Keywords: บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.การดูแลตนเอง.ชาวไทยมุสลิม.โรคความดันโลหิตสูง. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25653 [article] การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการดูแลตนเอง = A computer assisted self care programme for Thai muslims with Hypertension : สำหรับชาวไทยมุสลิมที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง [printed text] / สุชาดา เจะดอเลาะ, Author ; จุฬารักษ์ กวีวิวิธชัย, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; นรีมาลย์ นีละไพจิตร, Author . - 2016 . - p.83-94.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.83-94Keywords: บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.การดูแลตนเอง.ชาวไทยมุสลิม.โรคความดันโลหิตสูง. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25653 การพัฒนารุปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ / จลี เจริญสรรค์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([06/20/2016])
[article]
Title : การพัฒนารุปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ Original title : The development of schizophrenia care model in saunsaranrom psychiatric hospital Material Type: printed text Authors: จลี เจริญสรรค์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.85-98 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 [06/20/2016] . - p.85-98Keywords: การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วย.โรคจิตเภท.ผู้ป่วยโรคจิตเภท.โรงพยาบาลสวนสราญรมย์. Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25554 [article] การพัฒนารุปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ = The development of schizophrenia care model in saunsaranrom psychiatric hospital [printed text] / จลี เจริญสรรค์, Author . - 2016 . - p.85-98.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)