From this page you can:
Home |
Search results
3 result(s) search for keyword(s) 'การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วย.โรคจิตเภท.ผู้ป่วยโรคจิตเภท.โรงพยาบาลสวนสราญรมย์.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
การพัฒนารุปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ / จลี เจริญสรรค์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([06/20/2016])
[article]
Title : การพัฒนารุปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ Original title : The development of schizophrenia care model in saunsaranrom psychiatric hospital Material Type: printed text Authors: จลี เจริญสรรค์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.85-98 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 [06/20/2016] . - p.85-98Keywords: การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วย.โรคจิตเภท.ผู้ป่วยโรคจิตเภท.โรงพยาบาลสวนสราญรมย์. Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25554 [article] การพัฒนารุปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ = The development of schizophrenia care model in saunsaranrom psychiatric hospital [printed text] / จลี เจริญสรรค์, Author . - 2016 . - p.85-98.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลชุมชน / น้ำทิพย์ สวงนบุญญพงษฺ์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลชุมชน : จังหวัดฉะเชิงเทรา Material Type: printed text Authors: น้ำทิพย์ สวงนบุญญพงษฺ์, Author ; สายใจ พัวพันธ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.229-246 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.229-246Keywords: การขาดนัดการรักษา.ผู้ป่วยโรคจิตเภท.โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดฉะเชิงเทรา. Abstract: เป็นการศึกษาเชิงพรรณา เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดฉะเชิงเทรา กลุ่มตัวอย่างจำนวน 154 คน คือผู้ป่วยโรคจิตเภทที่มีอายุตั้งแต่ 20-60 ปี ที่มีประวัติขาดนัดการรักษา เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสัมภาษณ์บริบทการมารับการรักษา แบบสัมภาษณ์ความร่วมมือในการรักษาด้วยยา แบบสัมภาษณ์สนับสนุนทางสังคม และ แบบสัมภาษณ์ความรู้เรื่องโรคและการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยโรคจิตเภท
ผลการวิจัย พบว่า การขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภท ปีงบประมาณ 2555 มีการขาดนัดการรักษา 1-4 ครั้ง ขาดนัดการรักษา 1 ครั้ง (ร้อยละ 69.5) จากการทดสอบความสัมพันธ์ พบว่า อายุมีความสัมพันธ์ด้านลบกับการขาดนัดการรักษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สถานภาพามรส รายได้ บุคคลที่อาศัยอยู่ด้วยกัน ระยะเวลาที่ป่วย และเหตุผลของการขาดนัด 11 เหตุผล จาก 14 เหตุผล มีความสัมพันธ์ด้านบวกกับการขาดนัดการรักษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการศึกษาครั้งนี้ พยาบาลวิชาชีพประจำโรงพยาบาลระดับปฐมภูมิสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนปฏิบัติการพยาบาลเชิงรุก สำหรับการฟื้นฟูสุขภาพ สร้างเสริมสุขภาพ และสนับสนุนให้ผู้ป่วยจิตเภทได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ความสามารถในการพึ่งพาตนเองของผู้ป่วยจิตเภทก็จะมีความเป็นไปได้มากขึ้นLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26758 [article] ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลชุมชน : จังหวัดฉะเชิงเทรา [printed text] / น้ำทิพย์ สวงนบุญญพงษฺ์, Author ; สายใจ พัวพันธ์, Author . - 2017 . - p.229-246.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.229-246Keywords: การขาดนัดการรักษา.ผู้ป่วยโรคจิตเภท.โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดฉะเชิงเทรา. Abstract: เป็นการศึกษาเชิงพรรณา เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดฉะเชิงเทรา กลุ่มตัวอย่างจำนวน 154 คน คือผู้ป่วยโรคจิตเภทที่มีอายุตั้งแต่ 20-60 ปี ที่มีประวัติขาดนัดการรักษา เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสัมภาษณ์บริบทการมารับการรักษา แบบสัมภาษณ์ความร่วมมือในการรักษาด้วยยา แบบสัมภาษณ์สนับสนุนทางสังคม และ แบบสัมภาษณ์ความรู้เรื่องโรคและการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยโรคจิตเภท
ผลการวิจัย พบว่า การขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภท ปีงบประมาณ 2555 มีการขาดนัดการรักษา 1-4 ครั้ง ขาดนัดการรักษา 1 ครั้ง (ร้อยละ 69.5) จากการทดสอบความสัมพันธ์ พบว่า อายุมีความสัมพันธ์ด้านลบกับการขาดนัดการรักษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สถานภาพามรส รายได้ บุคคลที่อาศัยอยู่ด้วยกัน ระยะเวลาที่ป่วย และเหตุผลของการขาดนัด 11 เหตุผล จาก 14 เหตุผล มีความสัมพันธ์ด้านบวกกับการขาดนัดการรักษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการศึกษาครั้งนี้ พยาบาลวิชาชีพประจำโรงพยาบาลระดับปฐมภูมิสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนปฏิบัติการพยาบาลเชิงรุก สำหรับการฟื้นฟูสุขภาพ สร้างเสริมสุขภาพ และสนับสนุนให้ผู้ป่วยจิตเภทได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ความสามารถในการพึ่งพาตนเองของผู้ป่วยจิตเภทก็จะมีความเป็นไปได้มากขึ้นLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26758 ผลของโปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับประคอง / ปรียนันท์ สละสวัสดิ์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับประคอง : ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตเภท Original title : Effects of group supportive pschotherapy programon depression in patients with schizophrenia Material Type: printed text Authors: ปรียนันท์ สละสวัสดิ์, Author ; รัชภร สุนทราเดชากิจ, Author ; ปิยะวรรณ กลางประพันธ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.121-134 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.121-134Keywords: โปรแกรมกลุ่มจิตบำบัด. การรักษาแบบประคับประคอง. ภาวะซึมเศร้า. ผู้ป่วยโรคจิตเภท. แผนกผู้ป่วยใน. สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา. schizophrenia. psychizophrenia. Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับประคองต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตเภทวิธีการศึกษา: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบทดลอง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ได้รับการรักษาแผนกผู้ป่วยในสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา ระหว่างวันที่ 1-31 มกราคม 2557 เกณฑ์การคัดเข้าคือ ผู้ป่วยอายุระหว่าง 20-59 ปี สามารถอ่านออกเขียนได้ ไม่มีปัญหาการพูดการได้ยินและการมองเห็น ไม่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านเศร้า ไม่ได้รับการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้ามาก่อน 3 เดือน ไม่ใช้สารเสพติด คะแนน Brief Psychiatric Rating Scale อยู่ระหว่าง 0-30 คะแนน และคะแนน Beck Depression Inventory-II ≥ 20 คะแนน ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 44 คน เป็นเพศชาย 20 คน เพศหญิง 24 คน สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบง่ายโดยการจับฉลากเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองเท่ากัน คือ เพศชายกลุ่มละ 10 คน และเพศหญิง กลุ่มละ 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินอาการทางจิต(Brief Psychiatric Rating Scale: BPRS) แบบประเมินภาวะซึมเศร้าของเบค (Beck Depression Inventory-II) และโปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับประคอง สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและt-testผลการศึกษา: ผลการวิจัยนี้บ่งชี้ว่า ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตเภทในกลุ่มทดลองลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติสรุป: โปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับป.ระคองมีประสิทธิภาพในการช่วยลดภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตเภท.Objective: To study the effects of group supportive psychotherapy program on depression in patients with schizophrenia.Methods: This is an experimental research. Samples were patients with schizophrenia admitted at Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry during January 1-31, 2014. Inclusion criteria were age of 20-59 years, could read and write, no speech, nohearing and vision problems, did not take antidepressant drugs, did not receive electroconvulsive therapy within previous 3 months, did not use narcotics, had BPRS score 0-30, had Beck Depression Inventory-II score from 20 and upward and voluntarily entered the experiment. Theexperimental group with simple random sampling using lottery method consisted of 10 male patients and 12 female patients. The control group consisted of equal number of male and female patients who received regular nursing. The research tools were demographic data, Brief Psychiatric Rating Scale, Beck Depression Inventory-II: BDI - II and group supportive psychotherapy Program. We used percentage, mean, standard deviation and t-test for statistical analysis.Results: The results of the study indicate that depression of patients with schizophrenia in the experimental group was decreased statistical significantly.Conclusion: Group supportive psychotherapy Program has efficiency to decreasing depression in schizophrenic patients. Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27377 [article] ผลของโปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับประคอง = Effects of group supportive pschotherapy programon depression in patients with schizophrenia : ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตเภท [printed text] / ปรียนันท์ สละสวัสดิ์, Author ; รัชภร สุนทราเดชากิจ, Author ; ปิยะวรรณ กลางประพันธ์, Author . - 2017 . - p.121-134.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.121-134Keywords: โปรแกรมกลุ่มจิตบำบัด. การรักษาแบบประคับประคอง. ภาวะซึมเศร้า. ผู้ป่วยโรคจิตเภท. แผนกผู้ป่วยใน. สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา. schizophrenia. psychizophrenia. Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับประคองต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตเภทวิธีการศึกษา: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบทดลอง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ได้รับการรักษาแผนกผู้ป่วยในสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา ระหว่างวันที่ 1-31 มกราคม 2557 เกณฑ์การคัดเข้าคือ ผู้ป่วยอายุระหว่าง 20-59 ปี สามารถอ่านออกเขียนได้ ไม่มีปัญหาการพูดการได้ยินและการมองเห็น ไม่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านเศร้า ไม่ได้รับการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้ามาก่อน 3 เดือน ไม่ใช้สารเสพติด คะแนน Brief Psychiatric Rating Scale อยู่ระหว่าง 0-30 คะแนน และคะแนน Beck Depression Inventory-II ≥ 20 คะแนน ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 44 คน เป็นเพศชาย 20 คน เพศหญิง 24 คน สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบง่ายโดยการจับฉลากเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองเท่ากัน คือ เพศชายกลุ่มละ 10 คน และเพศหญิง กลุ่มละ 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินอาการทางจิต(Brief Psychiatric Rating Scale: BPRS) แบบประเมินภาวะซึมเศร้าของเบค (Beck Depression Inventory-II) และโปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับประคอง สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและt-testผลการศึกษา: ผลการวิจัยนี้บ่งชี้ว่า ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตเภทในกลุ่มทดลองลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติสรุป: โปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับป.ระคองมีประสิทธิภาพในการช่วยลดภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตเภท.Objective: To study the effects of group supportive psychotherapy program on depression in patients with schizophrenia.Methods: This is an experimental research. Samples were patients with schizophrenia admitted at Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry during January 1-31, 2014. Inclusion criteria were age of 20-59 years, could read and write, no speech, nohearing and vision problems, did not take antidepressant drugs, did not receive electroconvulsive therapy within previous 3 months, did not use narcotics, had BPRS score 0-30, had Beck Depression Inventory-II score from 20 and upward and voluntarily entered the experiment. Theexperimental group with simple random sampling using lottery method consisted of 10 male patients and 12 female patients. The control group consisted of equal number of male and female patients who received regular nursing. The research tools were demographic data, Brief Psychiatric Rating Scale, Beck Depression Inventory-II: BDI - II and group supportive psychotherapy Program. We used percentage, mean, standard deviation and t-test for statistical analysis.Results: The results of the study indicate that depression of patients with schizophrenia in the experimental group was decreased statistical significantly.Conclusion: Group supportive psychotherapy Program has efficiency to decreasing depression in schizophrenic patients. Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27377