From this page you can:
Home |
Search results
77 result(s) search for keyword(s) 'ผู้ป่วย'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
การจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม / สุชาวดี รุ่งแจ้ง in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 ([11/16/2017])
[article]
Title : การจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม Original title : สุชาวดี รุ่งแจ้ง, รัชนี นามจันทรา Material Type: printed text Authors: สุชาวดี รุ่งแจ้ง, Author ; รัชนี นามจันทรา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.43-57 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.43-57Keywords: ผู้ป่วยมะเร็งปอด.มะเร็งปอดระยะลุกลาม.อาการ.วิธีการจัดการอาการ. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) อาการ และความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม และ 2) วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
กลุ่มตัวอย่างเลือกอย่างเฉพาะเจาะจงจากผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามที่มารับบริการ ณ หน่วยผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ จำนวน 83 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย และแบบสัมภาษณ์อาการ ความรุนแรงของอาการ วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า อาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก ได้แก่ ปวด ไอ เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และเบื่ออาหาร เรียงลำดับตามความรุนแรงในอาการที่พบบ่อยได้เป็น เบื่ออาหาร ปวด เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และไอ ตามลำดับ โดยอาการปวดเป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด ในขณะที่อาการเบื่ออาหารมีค่าเฉลี่ยความรุนแรงสูงที่สุด ผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามใช้วิธีการหลายๆ วิธีในการจัดการอาการแต่ละอาการ วิธีการจัดการอาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก มีดังนี้ 1) อาการปวด ใช้วิธีการรับประทานยาแก้ปวดทุกครั้งที่มีอาการ 2) อาการไอ ใช้วิธีจิบน้ำอุ่น/ดื่มน้ำ และรับประทานยาละลายเสมหะ 3) อาการเหนื่อยล้า ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพักช่วงกลางวัน 4) อาการหายใจลำบาก ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพัก และ 5) อาการเบื่ออาหาร ใช้วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น รับประทานอาหารหรือผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว หรือดื่มเครื่องดื่มอาหารเสริมระหว่างมื้ออาหาร ผลลัพธ์ของการจัดการอาการของผู้ป่วยโดยรวมเป็นไปในทางที่ดี คือ มีอาการทุเลา
ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลในการวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม เพื่อลดความรุนแรงและบรรเทาอาการจากโรค ในการให้ข้อมูล ให้คำปรึกษา รวมทั้งสนับสนุนให้ผู้ป่วยและญาติมีการจัดการอาการด้วยตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการในการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27488 [article] การจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม = สุชาวดี รุ่งแจ้ง, รัชนี นามจันทรา [printed text] / สุชาวดี รุ่งแจ้ง, Author ; รัชนี นามจันทรา, Author . - 2017 . - p.43-57.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.43-57Keywords: ผู้ป่วยมะเร็งปอด.มะเร็งปอดระยะลุกลาม.อาการ.วิธีการจัดการอาการ. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) อาการ และความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม และ 2) วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
กลุ่มตัวอย่างเลือกอย่างเฉพาะเจาะจงจากผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามที่มารับบริการ ณ หน่วยผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ จำนวน 83 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย และแบบสัมภาษณ์อาการ ความรุนแรงของอาการ วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า อาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก ได้แก่ ปวด ไอ เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และเบื่ออาหาร เรียงลำดับตามความรุนแรงในอาการที่พบบ่อยได้เป็น เบื่ออาหาร ปวด เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และไอ ตามลำดับ โดยอาการปวดเป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด ในขณะที่อาการเบื่ออาหารมีค่าเฉลี่ยความรุนแรงสูงที่สุด ผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามใช้วิธีการหลายๆ วิธีในการจัดการอาการแต่ละอาการ วิธีการจัดการอาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก มีดังนี้ 1) อาการปวด ใช้วิธีการรับประทานยาแก้ปวดทุกครั้งที่มีอาการ 2) อาการไอ ใช้วิธีจิบน้ำอุ่น/ดื่มน้ำ และรับประทานยาละลายเสมหะ 3) อาการเหนื่อยล้า ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพักช่วงกลางวัน 4) อาการหายใจลำบาก ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพัก และ 5) อาการเบื่ออาหาร ใช้วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น รับประทานอาหารหรือผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว หรือดื่มเครื่องดื่มอาหารเสริมระหว่างมื้ออาหาร ผลลัพธ์ของการจัดการอาการของผู้ป่วยโดยรวมเป็นไปในทางที่ดี คือ มีอาการทุเลา
ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลในการวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม เพื่อลดความรุนแรงและบรรเทาอาการจากโรค ในการให้ข้อมูล ให้คำปรึกษา รวมทั้งสนับสนุนให้ผู้ป่วยและญาติมีการจัดการอาการด้วยตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการในการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27488 การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน / รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน : บทบาทพยาบาล Original title : Assessment of foot ulcer risk and nursing management in patients with diabetess the role of nurses Material Type: printed text Authors: รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย, Author ; พิมผกา ปัญโญใหญ่, Author ; สรัญญา พิจารณ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.145-155 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.145-155Keywords: ผู้ป่วยเบาหวาน.การจัดการแผลที่เท้า.การประเมินความเสี่ยง.บทบาทพยาบาล. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26876 [article] การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน = Assessment of foot ulcer risk and nursing management in patients with diabetess the role of nurses : บทบาทพยาบาล [printed text] / รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย, Author ; พิมผกา ปัญโญใหญ่, Author ; สรัญญา พิจารณ์, Author . - 2017 . - p.145-155.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง / สุปรีดา มั่นคง in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน Material Type: printed text Authors: สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.84-101 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 [article] การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน [printed text] / สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author . - 2017 . - p.84-101.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะช็อก / วิลาวัลย์ อุดมการเกษตร / กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรังสิต - 2557
Title : การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะช็อก Material Type: printed text Authors: วิลาวัลย์ อุดมการเกษตร, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรังสิต Publication Date: 2557 Pagination: 107 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-768735-3 Price: 85.00 General note: School of Nursing Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ช็อค
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]ผู้ป่วย -- การพยาบาลKeywords: ผู้ป่วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24544 การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะช็อก [printed text] / วิลาวัลย์ อุดมการเกษตร, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557 . - 107 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม.
ISBN : 978-6-16-768735-3 : 85.00
School of Nursing
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ช็อค
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]ผู้ป่วย -- การพยาบาลKeywords: ผู้ป่วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24544 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000461911 RC685 ว719ก 2557 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000461945 RC685 ว719ก 2557 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000461937 RC685 ว719ก 2557 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000461960 RC685 ว719ก 2557 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000461952 RC685 ว719ก 2557 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available การใช้ผู้ป่วยจำลองในการศึกษาพยาบาล / ประทุม สร้อยวงศ์ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([03/07/2016])
[article]
Title : การใช้ผู้ป่วยจำลองในการศึกษาพยาบาล Original title : The use of standardized patients in nursing education Material Type: printed text Authors: ประทุม สร้อยวงศ์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.289-296 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.289-296Keywords: ผู้ป่วยจำลองการศึกษาพยาบาลการใช้ผู้ป่วยจำลอง Abstract: ผู้ป่วยจำจอง หมายถึง บุคคลทั่วไปที่มีสุขภาพดี หรือผู้ป่วยหรือที่ได้รับการเตรียมหรือฝึกให้แสดงบทบาทของการเป็นผู้ป่วย การใช้ผู้ป่วยจำลองในการศึกษาพยาบาลมีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้และเกิดทักษะที่ต้องการโดยผ่านการมีปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียนกับผู้ป่วยจำลองพบว่า เป็นวิธีการสอนที่ดีวิธีหนึ่ง ที่ช่วยส่งเสริมทักษะการสื่อสาร ความมั่นใจทักษะ และความสามารถของนักศึกษาในการประเมินสุขภาพ ช่วยให้นักศึกษาได้ฝึกการคิดเชิงวิเคราะห์ และช่วยลดความกลัว หรือความกังวลของนักศึกษาได้ เนื้อหาของบทความรี้ ประกอบด้วยลักษณะของผู้ป่วยจำลอง ข้อดี ข้อเสียในการใช้ผู้ป่วยจำลอง ประเด็นที่ควรพิจารณหากสถาบันการศึกษาจะนำผู้ป่วยจำลองไปใช้เป็นวิธีการหนึ่งในการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งนำเสนอตัวอย่างการใช้ผู้ป่วยจำลองในการสอนทางคลินิก เรื่อง การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็ง ในการฝึกปฏิบัติการพยายาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 สำหรับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 จำนวน 36 คน ผลการประเมินของนักศึกษา พบว่า ผู้เรียนร้อยละ 61.10 มีความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งในระดับดี ผู้เรียนร้อยละ 94 มีความมั่นใจในระดับสูงในการนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติและร้อยละ 97 มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดต่อการเรียนรู้ด้วยวิธีนี้ นอกจากนี้นักศึกษาประเมินว่าการเรียนด้วยวิธีนี้สนุก ได้ประสบการณ์ตรงในการให้การพยาบาลผู้ป่วยจำลองที่เหมือนในสถานการณ์จริงและทำให้ตระหนักถึงความรู้สึกของผู้ป่วย Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25405 [article] การใช้ผู้ป่วยจำลองในการศึกษาพยาบาล = The use of standardized patients in nursing education [printed text] / ประทุม สร้อยวงศ์, Author . - 2016 . - p.289-296.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.289-296Keywords: ผู้ป่วยจำลองการศึกษาพยาบาลการใช้ผู้ป่วยจำลอง Abstract: ผู้ป่วยจำจอง หมายถึง บุคคลทั่วไปที่มีสุขภาพดี หรือผู้ป่วยหรือที่ได้รับการเตรียมหรือฝึกให้แสดงบทบาทของการเป็นผู้ป่วย การใช้ผู้ป่วยจำลองในการศึกษาพยาบาลมีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้และเกิดทักษะที่ต้องการโดยผ่านการมีปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียนกับผู้ป่วยจำลองพบว่า เป็นวิธีการสอนที่ดีวิธีหนึ่ง ที่ช่วยส่งเสริมทักษะการสื่อสาร ความมั่นใจทักษะ และความสามารถของนักศึกษาในการประเมินสุขภาพ ช่วยให้นักศึกษาได้ฝึกการคิดเชิงวิเคราะห์ และช่วยลดความกลัว หรือความกังวลของนักศึกษาได้ เนื้อหาของบทความรี้ ประกอบด้วยลักษณะของผู้ป่วยจำลอง ข้อดี ข้อเสียในการใช้ผู้ป่วยจำลอง ประเด็นที่ควรพิจารณหากสถาบันการศึกษาจะนำผู้ป่วยจำลองไปใช้เป็นวิธีการหนึ่งในการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งนำเสนอตัวอย่างการใช้ผู้ป่วยจำลองในการสอนทางคลินิก เรื่อง การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็ง ในการฝึกปฏิบัติการพยายาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 สำหรับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 จำนวน 36 คน ผลการประเมินของนักศึกษา พบว่า ผู้เรียนร้อยละ 61.10 มีความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งในระดับดี ผู้เรียนร้อยละ 94 มีความมั่นใจในระดับสูงในการนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติและร้อยละ 97 มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดต่อการเรียนรู้ด้วยวิธีนี้ นอกจากนี้นักศึกษาประเมินว่าการเรียนด้วยวิธีนี้สนุก ได้ประสบการณ์ตรงในการให้การพยาบาลผู้ป่วยจำลองที่เหมือนในสถานการณ์จริงและทำให้ตระหนักถึงความรู้สึกของผู้ป่วย Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25405 บทบาทของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลอบบประคับประคอง in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : บทบาทของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลอบบประคับประคอง : การศึกษาเบื้องต้นเชิงคุณภาพ Original title : Role of family caregivers of palliative care patients prelimininary qualitative syudy Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: p.104-121 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.104-121Keywords: ผู้ป่วยระยะประคับประคอง.การดูแลระยะประคับประคอง.บทบาทของญาติผู้ดูแล. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาบทบาทของญาติผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองในสถานบริการต่าง ๆ
การออกแบบงานวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพ
วิธีการดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ให้การดูแลผู้ป่วยในระยะประคับประคองจำนวน 28 ราย คุณสมบัติของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เป็นญาติ
ผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองในสถานบริกำรที่มีการดูแลเฉพาะ การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และองค์กรทางศาสนา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย
แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลแบบสัมภาษณ์ญาติผู้ดูแลรายกลุ่มและรายบุคคล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองส่วนใหญ่เป็นโรคมะเร็ง มีบทบาทดังนี้ 1) ผู้ให้การดูแลเพื่อตอบสนองความต้องการการดูแลของผู้ป่วย
2) ผู้ประสานงานการจัดการการดูแลในครอบครัว และ 3) ผู้ตัดสินใจเตรียมพร้อมสำหรับความตาย
ข้อเสนอแนะ: สถำนบริการที่ให้การดูแลผู้ป่วยระยะประคับประคอง เป็นแหล่งสนับสนุน
ทางสังคมที่สำคัญสำหรับผู้ป่วยระยะประคับประคองและญาติผู้ดูแล กำรเข้าใจบทบาทของ
ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยในแต่ละสถานบริการ เป็นแนวทางในการช่วยเหลือและตอบสนองความต้องการ
ของญาติผู้ดูแลที่ให้การดูแลผู้ป่วยระยะประคับประคองLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27053 [article] บทบาทของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลอบบประคับประคอง = Role of family caregivers of palliative care patients prelimininary qualitative syudy : การศึกษาเบื้องต้นเชิงคุณภาพ [printed text] . - 2017 . - p.104-121.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.104-121Keywords: ผู้ป่วยระยะประคับประคอง.การดูแลระยะประคับประคอง.บทบาทของญาติผู้ดูแล. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาบทบาทของญาติผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองในสถานบริการต่าง ๆ
การออกแบบงานวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพ
วิธีการดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ให้การดูแลผู้ป่วยในระยะประคับประคองจำนวน 28 ราย คุณสมบัติของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เป็นญาติ
ผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองในสถานบริกำรที่มีการดูแลเฉพาะ การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และองค์กรทางศาสนา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย
แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลแบบสัมภาษณ์ญาติผู้ดูแลรายกลุ่มและรายบุคคล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองส่วนใหญ่เป็นโรคมะเร็ง มีบทบาทดังนี้ 1) ผู้ให้การดูแลเพื่อตอบสนองความต้องการการดูแลของผู้ป่วย
2) ผู้ประสานงานการจัดการการดูแลในครอบครัว และ 3) ผู้ตัดสินใจเตรียมพร้อมสำหรับความตาย
ข้อเสนอแนะ: สถำนบริการที่ให้การดูแลผู้ป่วยระยะประคับประคอง เป็นแหล่งสนับสนุน
ทางสังคมที่สำคัญสำหรับผู้ป่วยระยะประคับประคองและญาติผู้ดูแล กำรเข้าใจบทบาทของ
ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยในแต่ละสถานบริการ เป็นแนวทางในการช่วยเหลือและตอบสนองความต้องการ
ของญาติผู้ดูแลที่ให้การดูแลผู้ป่วยระยะประคับประคองLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27053 ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย / เบญจมาศ ตระกูลงามเด่น in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย : ในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร และคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Original title : Predicting factors of quality of life among patients with terminal cancer at out-patient Department of Hospitals in Medical service Department, Bangkon Metropolitan and Faculty of Medical Vajira hospitals Navarmindradhiraj university Material Type: printed text Authors: เบญจมาศ ตระกูลงามเด่น, Author ; สุภวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.199-216 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.199-216Keywords: ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย.คุณภาพชีวิตผู็ป่วยมะเร็ง.ผูู้ป่วยนอก.โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์.คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล. Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26784 [article] ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย = Predicting factors of quality of life among patients with terminal cancer at out-patient Department of Hospitals in Medical service Department, Bangkon Metropolitan and Faculty of Medical Vajira hospitals Navarmindradhiraj university : ในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร และคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / เบญจมาศ ตระกูลงามเด่น, Author ; สุภวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์, Author . - 2017 . - p.199-216.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความต้องการมีส่วนร่วมในการดูแลของ / คนีงนิจ พงศ์ถาวรกมล in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.2 (May-Aug) 2017/2560 ([10/18/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความต้องการมีส่วนร่วมในการดูแลของ : ผู้ป่วยมะเร็งโลหิตวิทยา ระหว่างเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล Original title : Factor associated with hematological cancer patients preferences for participation in care during hospitalization Material Type: printed text Authors: คนีงนิจ พงศ์ถาวรกมล, Author ; พิจิตรา เล็กดำรงกุล, Author ; นพดล ศิริธนารัตนกุล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.415-159 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.2 (May-Aug) 2017/2560 [10/18/2017] . - p.415-159Keywords: ผู้ป่วยมะเร็ง.โลหิตวิทยา.การเข้ารับการรักษา.โรงพยาบาล.การดุแลผู้ป่วยมะเร็งการมีส่วนร่วม. Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27383 [article] ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความต้องการมีส่วนร่วมในการดูแลของ = Factor associated with hematological cancer patients preferences for participation in care during hospitalization : ผู้ป่วยมะเร็งโลหิตวิทยา ระหว่างเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล [printed text] / คนีงนิจ พงศ์ถาวรกมล, Author ; พิจิตรา เล็กดำรงกุล, Author ; นพดล ศิริธนารัตนกุล, Author . - 2017 . - p.415-159.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปััจัยทำนายพฤติกรรมการรับประทานอาหารของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 / พรทิพย์ สมตัว in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/09/2016])
[article]
Title : ปััจัยทำนายพฤติกรรมการรับประทานอาหารของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 Original title : Predictive factors of dieatary consumtion among diabates melitus type 2 Material Type: printed text Authors: พรทิพย์ สมตัว, Author ; ปาหนัน พิชยโสภณ, Author ; ว๊ณา เที่ยงธรรม, Author ; ดุสิต สุจิรารัตน์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.1-12 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/09/2016] . - p.1-12Keywords: ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2.พฤติกรรมการรับประทานอาหาร.แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ.ความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25594 [article] ปััจัยทำนายพฤติกรรมการรับประทานอาหารของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 = Predictive factors of dieatary consumtion among diabates melitus type 2 [printed text] / พรทิพย์ สมตัว, Author ; ปาหนัน พิชยโสภณ, Author ; ว๊ณา เที่ยงธรรม, Author ; ดุสิต สุจิรารัตน์, Author . - 2016 . - p.1-12.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของการนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อความรู้สึกปวดและความรู้สึก ทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง / อุไร ยอดแก้ว in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของการนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อความรู้สึกปวดและความรู้สึก ทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง Original title : Reflexology and its impact on cancer patients perception of pain and suffering from the perception of pain Material Type: printed text Authors: อุไร ยอดแก้ว, Author ; วงจันทร์ เพชรพิเชฐเชียร, Author ; วิมลรัตน์ จงเจริญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.5-19 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.5-19Keywords: ผู้ป่วยโรคมะเร็ง.การนวด.การกดจุด.ฝ่าเท้า. Abstract: เพื่อวัดซ้ำถึงประสิทธิผลของกำรนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อระดับความรู้สึกปวดและความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง
การออกแบบการวิจัย: เป็นกำรวิจัยเชิงทดลองกลุ่มเดี่ยว แบบวัดก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่ำงเป็นผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีความปวดและไม่อยู่ในระยะลุกลามที่เข้ารับการรักษาที่ศูนย์มะเร็งสุราษฎร์ธานีจำนวน 30 ราย โดยกลุ่มตัวอย่างจะได้รับการสุ่มเพื่อทำการ
นวดฝ่าเท้า 3 แบบ (three-arm randomized, crossover design) คือ การนวดแบบติดต่อกัน 3 วัน
การนวดแบบวันเว้นวัน และการนวดหลอก โดยเว้นช่วงห่าง 3 วันเพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับ
ความรู้สึกปวดและระดับความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดของผู้ป่วยโรคมะเร็งก่อนและหลัง
การนวด 3 แบบ วัดตัวแปรที่ศึกษา 7 ครั้ง คือ ก่อนการนวด หลังนวดทันที หลังการนวด 24, 48, 72, 96 และ 120 ชั่วโมง เก็บข้อมูลโดยวิธีปกปิดทางเดียว (single–blind technique) ใช้สถิติบรรยาย ในการรวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยวิธีแจกแจงความถี่และร้อยละ ใช้คะแนนจำกค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ร่วมกับค่าเฉลี่ยของลำดับในกำรวิเครำะห์ข้อมูลระดับความรู้สึกปวด และข้อมูลระดับความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวด และใช้สถิติไฟรด์แมน (Friedman’s test) ในการเปรียบเทียบระดับคะแนนความรู้สึกปวด และระดับคะแนนความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดก่อน และหลังการนวด ณ เวลาต่าง ๆ
ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังได้รับการนวดฝ่าเท้าทั้ง 3 แบบ ระดับคะแนนความรู้สึกปวด และระดับ
คะแนนความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และภายหลังการนวดทันที หลังกำรนวด 24, 48, 72, 96 และ 120 ชั่วโมง การนวดแบบติดต่อกัน 3 วัน มีคะแนนระดับความรู้สึกปวดต่ำกว่าการนวดหลอก และการนวดแบบวันเว้นวัน ตามลำดับอย่ำงมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
ข้อเสนอแนะ: ในทำงปฏิบัติควรนวดแบบวันเว้นวันไปเรื่อย ๆ และควรนวดกับผู้เชี่ยวชาญด้านการนวดเพื่อคงไว้ซึ่งประสิทธิผลของการนวด และป้องกันผลข้างเคียงจากการนวดLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26788 [article] ผลของการนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อความรู้สึกปวดและความรู้สึก ทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง = Reflexology and its impact on cancer patients perception of pain and suffering from the perception of pain [printed text] / อุไร ยอดแก้ว, Author ; วงจันทร์ เพชรพิเชฐเชียร, Author ; วิมลรัตน์ จงเจริญ, Author . - 2017 . - p.5-19.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.5-19Keywords: ผู้ป่วยโรคมะเร็ง.การนวด.การกดจุด.ฝ่าเท้า. Abstract: เพื่อวัดซ้ำถึงประสิทธิผลของกำรนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อระดับความรู้สึกปวดและความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง
การออกแบบการวิจัย: เป็นกำรวิจัยเชิงทดลองกลุ่มเดี่ยว แบบวัดก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่ำงเป็นผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีความปวดและไม่อยู่ในระยะลุกลามที่เข้ารับการรักษาที่ศูนย์มะเร็งสุราษฎร์ธานีจำนวน 30 ราย โดยกลุ่มตัวอย่างจะได้รับการสุ่มเพื่อทำการ
นวดฝ่าเท้า 3 แบบ (three-arm randomized, crossover design) คือ การนวดแบบติดต่อกัน 3 วัน
การนวดแบบวันเว้นวัน และการนวดหลอก โดยเว้นช่วงห่าง 3 วันเพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับ
ความรู้สึกปวดและระดับความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดของผู้ป่วยโรคมะเร็งก่อนและหลัง
การนวด 3 แบบ วัดตัวแปรที่ศึกษา 7 ครั้ง คือ ก่อนการนวด หลังนวดทันที หลังการนวด 24, 48, 72, 96 และ 120 ชั่วโมง เก็บข้อมูลโดยวิธีปกปิดทางเดียว (single–blind technique) ใช้สถิติบรรยาย ในการรวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยวิธีแจกแจงความถี่และร้อยละ ใช้คะแนนจำกค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ร่วมกับค่าเฉลี่ยของลำดับในกำรวิเครำะห์ข้อมูลระดับความรู้สึกปวด และข้อมูลระดับความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวด และใช้สถิติไฟรด์แมน (Friedman’s test) ในการเปรียบเทียบระดับคะแนนความรู้สึกปวด และระดับคะแนนความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดก่อน และหลังการนวด ณ เวลาต่าง ๆ
ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังได้รับการนวดฝ่าเท้าทั้ง 3 แบบ ระดับคะแนนความรู้สึกปวด และระดับ
คะแนนความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และภายหลังการนวดทันที หลังกำรนวด 24, 48, 72, 96 และ 120 ชั่วโมง การนวดแบบติดต่อกัน 3 วัน มีคะแนนระดับความรู้สึกปวดต่ำกว่าการนวดหลอก และการนวดแบบวันเว้นวัน ตามลำดับอย่ำงมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
ข้อเสนอแนะ: ในทำงปฏิบัติควรนวดแบบวันเว้นวันไปเรื่อย ๆ และควรนวดกับผู้เชี่ยวชาญด้านการนวดเพื่อคงไว้ซึ่งประสิทธิผลของการนวด และป้องกันผลข้างเคียงจากการนวดLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26788 ผลของรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชน / เพ็ญศิริ สิริกุล in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 ([11/16/2017])
[article]
Title : ผลของรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชน : หลังจำหน่ายจาก โรงพยาบาลสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส Original title : The effect of caring model for patients with chronic obstructive pulmonary disease in the community after discharge from Sungaipadi hospital, Narathiwas province Material Type: printed text Authors: เพ็ญศิริ สิริกุล, Author ; สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, Author ; รสสุคนธ์ แสงมณี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.57-68 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.57-68Keywords: ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง.การเยี่ยมบ้าน.การกำเริบของโรคเฉียบพลัน.การเข้ารับการรักษาซ้ำก่อน 28 วัน. Abstract: การวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชน หลังจำหน่ายจากโรงพยาบาลสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส ต่ออัตราการได้รับการเยี่ยมบ้าน อัตราการกำเริบของโรคเฉียบพลัน และอัตราการเข้ารักษาซ้ำก่อน 28 วัน
กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในอำเภอสุไหงปาดี จำนวน 50 คน และผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยในและจำหน่ายจากโรงพยาบาลสุไหงปาดี ในช่วงเวลาที่ทำการศึกษาวิจัย จำนวน 41 คน เป็นกลุ่มทดลอง 17 คนได้รับการดูแลตามปกติ และกลุ่มควบคุม 24 คนได้รับการดูแลโดยใช้รูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ คู่มือการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และสมุดบันทึกประจำตัวผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัดส่วน และ Z-test
ผลการวิจัยพบว่าอัตราการได้รับการเยี่ยมบ้าน ของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ในกลุ่มทดลอง สูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) แต่อัตราการกำเริบของโรคเฉียบพลัน ของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และอัตราการเข้ารักษาซ้ำก่อน 28 วัน ของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ในกลุ่มทดลอง ต่ำกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05)
การวิจัยครั้งนี้เสนอแนะให้มีการนำรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่ออัตราการเข้ารักษาซ้ำก่อน 28 วันในผู้ป่วยโรคเรื้อรังRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27498 [article] ผลของรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชน = The effect of caring model for patients with chronic obstructive pulmonary disease in the community after discharge from Sungaipadi hospital, Narathiwas province : หลังจำหน่ายจาก โรงพยาบาลสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส [printed text] / เพ็ญศิริ สิริกุล, Author ; สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, Author ; รสสุคนธ์ แสงมณี, Author . - 2017 . - p.57-68.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.57-68Keywords: ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง.การเยี่ยมบ้าน.การกำเริบของโรคเฉียบพลัน.การเข้ารับการรักษาซ้ำก่อน 28 วัน. Abstract: การวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชน หลังจำหน่ายจากโรงพยาบาลสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส ต่ออัตราการได้รับการเยี่ยมบ้าน อัตราการกำเริบของโรคเฉียบพลัน และอัตราการเข้ารักษาซ้ำก่อน 28 วัน
กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในอำเภอสุไหงปาดี จำนวน 50 คน และผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยในและจำหน่ายจากโรงพยาบาลสุไหงปาดี ในช่วงเวลาที่ทำการศึกษาวิจัย จำนวน 41 คน เป็นกลุ่มทดลอง 17 คนได้รับการดูแลตามปกติ และกลุ่มควบคุม 24 คนได้รับการดูแลโดยใช้รูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ คู่มือการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และสมุดบันทึกประจำตัวผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัดส่วน และ Z-test
ผลการวิจัยพบว่าอัตราการได้รับการเยี่ยมบ้าน ของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ในกลุ่มทดลอง สูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) แต่อัตราการกำเริบของโรคเฉียบพลัน ของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และอัตราการเข้ารักษาซ้ำก่อน 28 วัน ของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ในกลุ่มทดลอง ต่ำกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05)
การวิจัยครั้งนี้เสนอแนะให้มีการนำรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่ออัตราการเข้ารักษาซ้ำก่อน 28 วันในผู้ป่วยโรคเรื้อรังRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27498 ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ในผู้ป่วย / เพ็ญพร ทวีบุตร in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 ([05/24/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ในผู้ป่วย : โรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น Original title : The effect of a supportive educative nursing program for chronic disease patients with early stage kidney disease Material Type: printed text Authors: เพ็ญพร ทวีบุตร, Author ; พัชราพร เกิดมงคล, Author ; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.129-145 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 [05/24/2017] . - p.129-145Keywords: ผู้ป่วยไตวายเรืื้อรังระยะเริ่มต้น.ผู้ป่วยโรคเรื้่อรัง.พฤติกรรมการดูแลตนเอง.การพยาบาล.ระบบสนับสนุนสุขภาพ. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26766 [article] ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ในผู้ป่วย = The effect of a supportive educative nursing program for chronic disease patients with early stage kidney disease : โรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น [printed text] / เพ็ญพร ทวีบุตร, Author ; พัชราพร เกิดมงคล, Author ; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ, Author . - 2017 . - p.129-145.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้า / พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้า Original title : The effect of group social support program on medication adherence of elderly patients with major depressive disorder WITH MAJOR DEPRESSIVE DISORDER Material Type: printed text Authors: พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.119-132. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.119-132.Keywords: ผู้ป่วยสูงอายุ. โรคซึมเศร้า. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษา. การสนับสนุนทางสังคม.Elderly patient. Major depressive disorder. Medication adherence. Social support. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้าที่ได้รับการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่ม
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 60 ปีขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอกจำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่แล้วสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คน ผู้วิจัยพัฒนาเนื้อหาการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มจากแนวคิดการสนับสนุนทางสังคมของ House (1981) โดยมีองค์ประกอบ 4 ด้านได้แก่ 1) การสนับสนุนด้านอารมณ์ 2) การสนับสนุนด้านการประเมินค่า 3) การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร และ 4) การสนับสนุนด้านทรัพยากรในการพัฒนาเนื้อหา/สาระของแต่ละกิจกรรมและกระบวนการดำเนินกลุ่มของMarram (1978) เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย 3) แบบประเมินพฤติกรรมการรับประทานยาและ 4) แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคมวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. หลังการทดลองพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27475 [article] ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้า = The effect of group social support program on medication adherence of elderly patients with major depressive disorder WITH MAJOR DEPRESSIVE DISORDER [printed text] / พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author . - 2017 . - p.119-132.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.119-132.Keywords: ผู้ป่วยสูงอายุ. โรคซึมเศร้า. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษา. การสนับสนุนทางสังคม.Elderly patient. Major depressive disorder. Medication adherence. Social support. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้าที่ได้รับการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่ม
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 60 ปีขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอกจำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่แล้วสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คน ผู้วิจัยพัฒนาเนื้อหาการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มจากแนวคิดการสนับสนุนทางสังคมของ House (1981) โดยมีองค์ประกอบ 4 ด้านได้แก่ 1) การสนับสนุนด้านอารมณ์ 2) การสนับสนุนด้านการประเมินค่า 3) การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร และ 4) การสนับสนุนด้านทรัพยากรในการพัฒนาเนื้อหา/สาระของแต่ละกิจกรรมและกระบวนการดำเนินกลุ่มของMarram (1978) เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย 3) แบบประเมินพฤติกรรมการรับประทานยาและ 4) แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคมวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. หลังการทดลองพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27475 ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ในการใช้ยาต่อความฉลาดทางสุขภาพด้าน / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ในการใช้ยาต่อความฉลาดทางสุขภาพด้าน : การใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ทีี่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ Original title : Impact of a medication literacy programme on uncontrolled type 2 diabetic patients's health literacy on medication and medication Material Type: printed text Authors: ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.50-62 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.50-62Keywords: ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. โปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยา.ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยา. ความร่วมมือในการใช้ยา. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกำรให้การศึกษาในการใช้ยาต่อ
ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการที่เครือข่ายบริการสุขภาพของโรงพยาบาลหนองเสือ 4 แห่ง กลุ่มทดลองจำนวน 29 คนได้รับโปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยาจำนวน 2 ครั้ง กลุ่มควบคุมจำนวน 29 คนได้รับการดูแลตามปกติจากคลินิกโรคเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลด้วยสถิติพรรณนำ และทดสอบสมมติฐานด้วย repeated measure ANOVA, Bonferroni และ independent t-test,
ผลการวิจัย: หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลองและดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาลดลงจากหลังการทดลองแต่มากกว่าก่อนการทดลอง และไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลอง (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาไม่ต่างจากหลังการทดลองแต่ดีกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างกับกลุ่มควบคุม
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลสามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาCurricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27049 [article] ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ในการใช้ยาต่อความฉลาดทางสุขภาพด้าน = Impact of a medication literacy programme on uncontrolled type 2 diabetic patients's health literacy on medication and medication : การใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ทีี่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ [printed text] / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author . - 2017 . - p.50-62.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.50-62Keywords: ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. โปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยา.ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยา. ความร่วมมือในการใช้ยา. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกำรให้การศึกษาในการใช้ยาต่อ
ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการที่เครือข่ายบริการสุขภาพของโรงพยาบาลหนองเสือ 4 แห่ง กลุ่มทดลองจำนวน 29 คนได้รับโปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยาจำนวน 2 ครั้ง กลุ่มควบคุมจำนวน 29 คนได้รับการดูแลตามปกติจากคลินิกโรคเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลด้วยสถิติพรรณนำ และทดสอบสมมติฐานด้วย repeated measure ANOVA, Bonferroni และ independent t-test,
ผลการวิจัย: หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลองและดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาลดลงจากหลังการทดลองแต่มากกว่าก่อนการทดลอง และไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลอง (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาไม่ต่างจากหลังการทดลองแต่ดีกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างกับกลุ่มควบคุม
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลสามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาCurricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27049 สถานการณ์คุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง งานการพยาบาลผู้ป่วยอายุรศาสตร์โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : สถานการณ์คุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง งานการพยาบาลผู้ป่วยอายุรศาสตร์โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม Original title : Situation of the perfomance quality of advanced practice nurses in the medical care section, Maharaj Nakorn Chiang Mai hospital Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: p.20-37 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.20-37Keywords: ผู้ป่วยอายุรศาสตร์.คุณภาพการปฏิบัติงาน.การพยาบาลขั้นสูง. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์: เพื่ออธิบายสถานการณ์คุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงงานการพยาบาลผู้ป่วยอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
การออกแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงพรรณนา (descriptive study)
วิธีดำเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย ผู้บริหารทางการพยาบาล 2 คน หัวหน้าหอผู้ป่วย/หัวหน้าหน่วย 8 คน ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง 15 คน บุคลากรด้านสุขภาพที่ปฏิบัติงานร่วมกับผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง 4 คน ผู้ป่วย 2 คน และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติกำรพยาบาลขั้นสูง กรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้ ใช้กรอบแนวคิดคุณภาพการดูแลสุขภาพของโดนาบีเดียน เครื่องมือที่ใช้ในกำรรวบรวมข้อมูลใช้แนวคำถามแบบกึ่งโครงสร้างในการสัมภาษณ์รายบุคคลและการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนำและวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: 1. ด้านโครงสร้าง พบว่าฝ่ายการพยาบาลมีนโยบายการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง แต่กำหนดนโยบายลงสู่การปฏิบัติในแต่ละหอผู้ป่วยมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับการมอบหมายงาน บันไดความก้าวหน้ายังไม่ชัดเจน การกระจายอัตรากำลังของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงไม่เหมาะสม รูปแบบการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงมีสามรูปแบบได้แก่ ปฏิบัติงานในบทบาทเต็มเวลา ใช้เวลาบางส่วนในการปฏิบัติบทบาท และใช้เวลาส่วนตัวในการปฏิบัติบทบาท สถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงมีไม่เพียงพอ การนิเทศการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงไม่มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน และไม่ได้กำหนดผู้รับผิดชอบในกำรนิเทศ ค่าตอบแทนไม่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถ และภาระงาน 2. ด้านกระบวนการ พบว่า ผู้ปฏิบัติการพยาบาบขั้นสูงให้การดูแลผู้ป่วยตามสมรรถนะทั้ง 9 ตามที่สภาการพยาบาลกำหนด แต่จะปฏิบัติได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับลักษณะของผู้ป่วยที่เป็นประชากรกลุ่มเป้าหมาย และการมอบหมายงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย 3. ด้านผลลัพธ์ พบว่า การปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงทำให้เกิด ผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้ใช้บริการ/ผู้ป่วย ต่อผู้ให้บริกำร และต่อองค์กร แต่แนวปฏิบัติในกำรติดตำมผลลัพธ์ยังไม่ชัดเจน
ข้อเสนอแนะ: สำหรับผู้บริหารทางการพยาบาล ควรกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร กำหนดบทบาทหน้าที่และความก้าวหน้าของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงแต่ละระดับให้มีความชัดเจน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงได้ปฏิบัติบทบาทตามสมรรถนะที่สภาการพยาบาลกำหนด จัดหาปัจจัยสนับสนุนในการปฏิบัติงานและการสร้างผลงานทางวิชชาการของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง นำผลลัพธ์ที่ได้ มาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการบริหารหรือปรับเปลี่ยนนโยบายตามความเหมาะสมLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26789 [article] สถานการณ์คุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง งานการพยาบาลผู้ป่วยอายุรศาสตร์โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม = Situation of the perfomance quality of advanced practice nurses in the medical care section, Maharaj Nakorn Chiang Mai hospital [printed text] . - 2017 . - p.20-37.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.20-37Keywords: ผู้ป่วยอายุรศาสตร์.คุณภาพการปฏิบัติงาน.การพยาบาลขั้นสูง. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์: เพื่ออธิบายสถานการณ์คุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงงานการพยาบาลผู้ป่วยอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
การออกแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงพรรณนา (descriptive study)
วิธีดำเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย ผู้บริหารทางการพยาบาล 2 คน หัวหน้าหอผู้ป่วย/หัวหน้าหน่วย 8 คน ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง 15 คน บุคลากรด้านสุขภาพที่ปฏิบัติงานร่วมกับผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง 4 คน ผู้ป่วย 2 คน และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติกำรพยาบาลขั้นสูง กรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้ ใช้กรอบแนวคิดคุณภาพการดูแลสุขภาพของโดนาบีเดียน เครื่องมือที่ใช้ในกำรรวบรวมข้อมูลใช้แนวคำถามแบบกึ่งโครงสร้างในการสัมภาษณ์รายบุคคลและการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนำและวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: 1. ด้านโครงสร้าง พบว่าฝ่ายการพยาบาลมีนโยบายการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง แต่กำหนดนโยบายลงสู่การปฏิบัติในแต่ละหอผู้ป่วยมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับการมอบหมายงาน บันไดความก้าวหน้ายังไม่ชัดเจน การกระจายอัตรากำลังของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงไม่เหมาะสม รูปแบบการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงมีสามรูปแบบได้แก่ ปฏิบัติงานในบทบาทเต็มเวลา ใช้เวลาบางส่วนในการปฏิบัติบทบาท และใช้เวลาส่วนตัวในการปฏิบัติบทบาท สถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงมีไม่เพียงพอ การนิเทศการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงไม่มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน และไม่ได้กำหนดผู้รับผิดชอบในกำรนิเทศ ค่าตอบแทนไม่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถ และภาระงาน 2. ด้านกระบวนการ พบว่า ผู้ปฏิบัติการพยาบาบขั้นสูงให้การดูแลผู้ป่วยตามสมรรถนะทั้ง 9 ตามที่สภาการพยาบาลกำหนด แต่จะปฏิบัติได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับลักษณะของผู้ป่วยที่เป็นประชากรกลุ่มเป้าหมาย และการมอบหมายงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย 3. ด้านผลลัพธ์ พบว่า การปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงทำให้เกิด ผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้ใช้บริการ/ผู้ป่วย ต่อผู้ให้บริกำร และต่อองค์กร แต่แนวปฏิบัติในกำรติดตำมผลลัพธ์ยังไม่ชัดเจน
ข้อเสนอแนะ: สำหรับผู้บริหารทางการพยาบาล ควรกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร กำหนดบทบาทหน้าที่และความก้าวหน้าของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงแต่ละระดับให้มีความชัดเจน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงได้ปฏิบัติบทบาทตามสมรรถนะที่สภาการพยาบาลกำหนด จัดหาปัจจัยสนับสนุนในการปฏิบัติงานและการสร้างผลงานทางวิชชาการของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง นำผลลัพธ์ที่ได้ มาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการบริหารหรือปรับเปลี่ยนนโยบายตามความเหมาะสมLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26789