From this page you can:
Home |
Search results
2 result(s) search for keyword(s) 'ผู้ป่วยโรคมะเร็ง.การนวด.การกดจุด.ฝ่าเท้า.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ผลของการนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อความรู้สึกปวดและความรู้สึก ทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง / อุไร ยอดแก้ว in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของการนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อความรู้สึกปวดและความรู้สึก ทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง Original title : Reflexology and its impact on cancer patients perception of pain and suffering from the perception of pain Material Type: printed text Authors: อุไร ยอดแก้ว, Author ; วงจันทร์ เพชรพิเชฐเชียร, Author ; วิมลรัตน์ จงเจริญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.5-19 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.5-19Keywords: ผู้ป่วยโรคมะเร็ง.การนวด.การกดจุด.ฝ่าเท้า. Abstract: เพื่อวัดซ้ำถึงประสิทธิผลของกำรนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อระดับความรู้สึกปวดและความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง
การออกแบบการวิจัย: เป็นกำรวิจัยเชิงทดลองกลุ่มเดี่ยว แบบวัดก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่ำงเป็นผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีความปวดและไม่อยู่ในระยะลุกลามที่เข้ารับการรักษาที่ศูนย์มะเร็งสุราษฎร์ธานีจำนวน 30 ราย โดยกลุ่มตัวอย่างจะได้รับการสุ่มเพื่อทำการ
นวดฝ่าเท้า 3 แบบ (three-arm randomized, crossover design) คือ การนวดแบบติดต่อกัน 3 วัน
การนวดแบบวันเว้นวัน และการนวดหลอก โดยเว้นช่วงห่าง 3 วันเพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับ
ความรู้สึกปวดและระดับความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดของผู้ป่วยโรคมะเร็งก่อนและหลัง
การนวด 3 แบบ วัดตัวแปรที่ศึกษา 7 ครั้ง คือ ก่อนการนวด หลังนวดทันที หลังการนวด 24, 48, 72, 96 และ 120 ชั่วโมง เก็บข้อมูลโดยวิธีปกปิดทางเดียว (single–blind technique) ใช้สถิติบรรยาย ในการรวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยวิธีแจกแจงความถี่และร้อยละ ใช้คะแนนจำกค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ร่วมกับค่าเฉลี่ยของลำดับในกำรวิเครำะห์ข้อมูลระดับความรู้สึกปวด และข้อมูลระดับความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวด และใช้สถิติไฟรด์แมน (Friedman’s test) ในการเปรียบเทียบระดับคะแนนความรู้สึกปวด และระดับคะแนนความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดก่อน และหลังการนวด ณ เวลาต่าง ๆ
ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังได้รับการนวดฝ่าเท้าทั้ง 3 แบบ ระดับคะแนนความรู้สึกปวด และระดับ
คะแนนความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และภายหลังการนวดทันที หลังกำรนวด 24, 48, 72, 96 และ 120 ชั่วโมง การนวดแบบติดต่อกัน 3 วัน มีคะแนนระดับความรู้สึกปวดต่ำกว่าการนวดหลอก และการนวดแบบวันเว้นวัน ตามลำดับอย่ำงมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
ข้อเสนอแนะ: ในทำงปฏิบัติควรนวดแบบวันเว้นวันไปเรื่อย ๆ และควรนวดกับผู้เชี่ยวชาญด้านการนวดเพื่อคงไว้ซึ่งประสิทธิผลของการนวด และป้องกันผลข้างเคียงจากการนวดLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26788 [article] ผลของการนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อความรู้สึกปวดและความรู้สึก ทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง = Reflexology and its impact on cancer patients perception of pain and suffering from the perception of pain [printed text] / อุไร ยอดแก้ว, Author ; วงจันทร์ เพชรพิเชฐเชียร, Author ; วิมลรัตน์ จงเจริญ, Author . - 2017 . - p.5-19.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.5-19Keywords: ผู้ป่วยโรคมะเร็ง.การนวด.การกดจุด.ฝ่าเท้า. Abstract: เพื่อวัดซ้ำถึงประสิทธิผลของกำรนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อระดับความรู้สึกปวดและความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง
การออกแบบการวิจัย: เป็นกำรวิจัยเชิงทดลองกลุ่มเดี่ยว แบบวัดก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่ำงเป็นผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีความปวดและไม่อยู่ในระยะลุกลามที่เข้ารับการรักษาที่ศูนย์มะเร็งสุราษฎร์ธานีจำนวน 30 ราย โดยกลุ่มตัวอย่างจะได้รับการสุ่มเพื่อทำการ
นวดฝ่าเท้า 3 แบบ (three-arm randomized, crossover design) คือ การนวดแบบติดต่อกัน 3 วัน
การนวดแบบวันเว้นวัน และการนวดหลอก โดยเว้นช่วงห่าง 3 วันเพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับ
ความรู้สึกปวดและระดับความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดของผู้ป่วยโรคมะเร็งก่อนและหลัง
การนวด 3 แบบ วัดตัวแปรที่ศึกษา 7 ครั้ง คือ ก่อนการนวด หลังนวดทันที หลังการนวด 24, 48, 72, 96 และ 120 ชั่วโมง เก็บข้อมูลโดยวิธีปกปิดทางเดียว (single–blind technique) ใช้สถิติบรรยาย ในการรวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยวิธีแจกแจงความถี่และร้อยละ ใช้คะแนนจำกค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ร่วมกับค่าเฉลี่ยของลำดับในกำรวิเครำะห์ข้อมูลระดับความรู้สึกปวด และข้อมูลระดับความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวด และใช้สถิติไฟรด์แมน (Friedman’s test) ในการเปรียบเทียบระดับคะแนนความรู้สึกปวด และระดับคะแนนความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดก่อน และหลังการนวด ณ เวลาต่าง ๆ
ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังได้รับการนวดฝ่าเท้าทั้ง 3 แบบ ระดับคะแนนความรู้สึกปวด และระดับ
คะแนนความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และภายหลังการนวดทันที หลังกำรนวด 24, 48, 72, 96 และ 120 ชั่วโมง การนวดแบบติดต่อกัน 3 วัน มีคะแนนระดับความรู้สึกปวดต่ำกว่าการนวดหลอก และการนวดแบบวันเว้นวัน ตามลำดับอย่ำงมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
ข้อเสนอแนะ: ในทำงปฏิบัติควรนวดแบบวันเว้นวันไปเรื่อย ๆ และควรนวดกับผู้เชี่ยวชาญด้านการนวดเพื่อคงไว้ซึ่งประสิทธิผลของการนวด และป้องกันผลข้างเคียงจากการนวดLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26788 คู่มือการนวดไทย / มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา / 2552
Title : คู่มือการนวดไทย : ในการสาธารณสุขมูลฐาน Material Type: printed text Authors: มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 8. Publication Date: 2552 Pagination: 188 หน้า Layout: ภาพประกอบ. Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-974-348-812-2 Price: 185.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กายภาพบำบัด
[LCSH]กายภาพบำบัด -- ไทย
[LCSH]การนวด
[LCSH]การนวด -- ไทย
[LCSH]การแพทย์แผนไทยKeywords: การนวด.
สาธารณสุขมูลฐาน.Class number: WB537 กน456 2552 Contents note: บทบาทของการนวดไทยในงานสาธารณสุขมูลฐาน.-- หลักพื้นฐานการนวดไทย.-- ลักษณะการนวดไทย.-- ผลของการนวดไทย.-- ร่ายกายของเรา.-- อาการปวดที่พบบ่อย.-- ข้อควรระวังในการนวด.-- การนวดแก้ปวดศรีษะ.-- การนอดแก้ปวดเมื่อยคอ.-- การนวดแก้ปวดเมื่อยไหล่.-- การนวดแก้ปวดเมื่อยแขน.-- การนวดแก้ปวดเมื่อยหลัง.-- การนวดแก้ปวดเมื่อยเข่า.-- การนวดแก้ปวดเมื่อยขา.-- 7 ท่านวดหน้า ถนอมสายตา.-- ท่าที่เหมาะสมในชีวิตประจำวัน.-- จากโครงการฟื้นฟูการนวดไทยสู่ โครงการจัดตั้งสถาบันการแพทย์แผนไทย.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23759 คู่มือการนวดไทย : ในการสาธารณสุขมูลฐาน [printed text] / มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 8. . - 2552 . - 188 หน้า : ภาพประกอบ. ; 21 ซม.
ISBN : 978-974-348-812-2 : 185.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กายภาพบำบัด
[LCSH]กายภาพบำบัด -- ไทย
[LCSH]การนวด
[LCSH]การนวด -- ไทย
[LCSH]การแพทย์แผนไทยKeywords: การนวด.
สาธารณสุขมูลฐาน.Class number: WB537 กน456 2552 Contents note: บทบาทของการนวดไทยในงานสาธารณสุขมูลฐาน.-- หลักพื้นฐานการนวดไทย.-- ลักษณะการนวดไทย.-- ผลของการนวดไทย.-- ร่ายกายของเรา.-- อาการปวดที่พบบ่อย.-- ข้อควรระวังในการนวด.-- การนวดแก้ปวดศรีษะ.-- การนอดแก้ปวดเมื่อยคอ.-- การนวดแก้ปวดเมื่อยไหล่.-- การนวดแก้ปวดเมื่อยแขน.-- การนวดแก้ปวดเมื่อยหลัง.-- การนวดแก้ปวดเมื่อยเข่า.-- การนวดแก้ปวดเมื่อยขา.-- 7 ท่านวดหน้า ถนอมสายตา.-- ท่าที่เหมาะสมในชีวิตประจำวัน.-- จากโครงการฟื้นฟูการนวดไทยสู่ โครงการจัดตั้งสถาบันการแพทย์แผนไทย.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23759 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000392959 WB537 กน456 2552 c.1 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000392975 WB537 กน456 2552 c.2 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000392967 WB537 กน456 2552 c.3 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000397255 WB537 กน456 2552 c.4 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000392983 WB537 กน456 2552 c.5 Book Main Library Library Counter Not for loan