From this page you can:
Home |
Search results
10 result(s) search for keyword(s) 'ผู้ป่วยมะเร็งปอด.มะเร็งปอดระยะลุกลาม.อาการ.วิธีการจัดการอาการ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
การจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม / สุชาวดี รุ่งแจ้ง in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 ([11/16/2017])
[article]
Title : การจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม Original title : สุชาวดี รุ่งแจ้ง, รัชนี นามจันทรา Material Type: printed text Authors: สุชาวดี รุ่งแจ้ง, Author ; รัชนี นามจันทรา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.43-57 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.43-57Keywords: ผู้ป่วยมะเร็งปอด.มะเร็งปอดระยะลุกลาม.อาการ.วิธีการจัดการอาการ. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) อาการ และความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม และ 2) วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
กลุ่มตัวอย่างเลือกอย่างเฉพาะเจาะจงจากผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามที่มารับบริการ ณ หน่วยผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ จำนวน 83 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย และแบบสัมภาษณ์อาการ ความรุนแรงของอาการ วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า อาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก ได้แก่ ปวด ไอ เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และเบื่ออาหาร เรียงลำดับตามความรุนแรงในอาการที่พบบ่อยได้เป็น เบื่ออาหาร ปวด เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และไอ ตามลำดับ โดยอาการปวดเป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด ในขณะที่อาการเบื่ออาหารมีค่าเฉลี่ยความรุนแรงสูงที่สุด ผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามใช้วิธีการหลายๆ วิธีในการจัดการอาการแต่ละอาการ วิธีการจัดการอาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก มีดังนี้ 1) อาการปวด ใช้วิธีการรับประทานยาแก้ปวดทุกครั้งที่มีอาการ 2) อาการไอ ใช้วิธีจิบน้ำอุ่น/ดื่มน้ำ และรับประทานยาละลายเสมหะ 3) อาการเหนื่อยล้า ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพักช่วงกลางวัน 4) อาการหายใจลำบาก ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพัก และ 5) อาการเบื่ออาหาร ใช้วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น รับประทานอาหารหรือผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว หรือดื่มเครื่องดื่มอาหารเสริมระหว่างมื้ออาหาร ผลลัพธ์ของการจัดการอาการของผู้ป่วยโดยรวมเป็นไปในทางที่ดี คือ มีอาการทุเลา
ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลในการวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม เพื่อลดความรุนแรงและบรรเทาอาการจากโรค ในการให้ข้อมูล ให้คำปรึกษา รวมทั้งสนับสนุนให้ผู้ป่วยและญาติมีการจัดการอาการด้วยตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการในการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27488 [article] การจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม = สุชาวดี รุ่งแจ้ง, รัชนี นามจันทรา [printed text] / สุชาวดี รุ่งแจ้ง, Author ; รัชนี นามจันทรา, Author . - 2017 . - p.43-57.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.43-57Keywords: ผู้ป่วยมะเร็งปอด.มะเร็งปอดระยะลุกลาม.อาการ.วิธีการจัดการอาการ. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) อาการ และความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม และ 2) วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
กลุ่มตัวอย่างเลือกอย่างเฉพาะเจาะจงจากผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามที่มารับบริการ ณ หน่วยผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ จำนวน 83 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย และแบบสัมภาษณ์อาการ ความรุนแรงของอาการ วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า อาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก ได้แก่ ปวด ไอ เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และเบื่ออาหาร เรียงลำดับตามความรุนแรงในอาการที่พบบ่อยได้เป็น เบื่ออาหาร ปวด เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และไอ ตามลำดับ โดยอาการปวดเป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด ในขณะที่อาการเบื่ออาหารมีค่าเฉลี่ยความรุนแรงสูงที่สุด ผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามใช้วิธีการหลายๆ วิธีในการจัดการอาการแต่ละอาการ วิธีการจัดการอาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก มีดังนี้ 1) อาการปวด ใช้วิธีการรับประทานยาแก้ปวดทุกครั้งที่มีอาการ 2) อาการไอ ใช้วิธีจิบน้ำอุ่น/ดื่มน้ำ และรับประทานยาละลายเสมหะ 3) อาการเหนื่อยล้า ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพักช่วงกลางวัน 4) อาการหายใจลำบาก ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพัก และ 5) อาการเบื่ออาหาร ใช้วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น รับประทานอาหารหรือผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว หรือดื่มเครื่องดื่มอาหารเสริมระหว่างมื้ออาหาร ผลลัพธ์ของการจัดการอาการของผู้ป่วยโดยรวมเป็นไปในทางที่ดี คือ มีอาการทุเลา
ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลในการวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม เพื่อลดความรุนแรงและบรรเทาอาการจากโรค ในการให้ข้อมูล ให้คำปรึกษา รวมทั้งสนับสนุนให้ผู้ป่วยและญาติมีการจัดการอาการด้วยตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการในการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27488 กรณีศึกษาการดูแลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามแบบประคับประคอง: บทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง / ศิริพร เสมสาร in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : กรณีศึกษาการดูแลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามแบบประคับประคอง: บทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง Original title : A Case Study of Palliative Nursing Care for Persons with Advanced Lung Cancer: Roles of Advanced Practice Nurses Material Type: printed text Authors: ศิริพร เสมสาร, Author ; สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.11-26 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.11-26Keywords: มะเร็งปอดระยะลุกลาม. การดูแลแบบประคับประคอง บทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง Abstract: ผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามต้องเผชิญกับอาการ ผลกระทบจากการรักษาและความ
ก้าวหน้าของโรคอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แนวทางการดูแลรักษาจึงมุ่งหวังเพื่อประคับประคอง
ไม่ให้การดำเนินโรคลุกลามเร็ว หรือเพื่อบรรเทาอาการที่ก่อให้เกิดความทุกข์ทรมาน ช่วยให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามบริบท บทความนี้นLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26991 [article] กรณีศึกษาการดูแลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามแบบประคับประคอง: บทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง = A Case Study of Palliative Nursing Care for Persons with Advanced Lung Cancer: Roles of Advanced Practice Nurses [printed text] / ศิริพร เสมสาร, Author ; สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม, Author . - 2017 . - p.11-26.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.11-26Keywords: มะเร็งปอดระยะลุกลาม. การดูแลแบบประคับประคอง บทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง Abstract: ผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามต้องเผชิญกับอาการ ผลกระทบจากการรักษาและความ
ก้าวหน้าของโรคอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แนวทางการดูแลรักษาจึงมุ่งหวังเพื่อประคับประคอง
ไม่ให้การดำเนินโรคลุกลามเร็ว หรือเพื่อบรรเทาอาการที่ก่อให้เกิดความทุกข์ทรมาน ช่วยให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามบริบท บทความนี้นLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26991 ประสบการณ์การมีอาการอ่อนล้า กลวิธีการจัดการกับอาการการสนับสนุนจากครอบครัว / พรพิมล วดีศิริศักดิ์ in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Vol.27 No.3 (Sep-Dec) 2015/2558 ([06/27/2016])
[article]
Title : ประสบการณ์การมีอาการอ่อนล้า กลวิธีการจัดการกับอาการการสนับสนุนจากครอบครัว : และคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังก่อนการบำบัดทดแทนไต Material Type: printed text Authors: พรพิมล วดีศิริศักดิ์, Author ; วิไลวรรณ ทองเจริญ, Author ; จันทนา รณฤทธิวิชัย, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.26-37 General note: เพื่อ..ศึกษาประสยการณืการมีอาการอ่อนล้า กลวิธีการจัดการรกับอาการ การสนับสนุนจากครอบครัวและคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุโรคไดเรื้อรังก่อนการบำบัดทดแทนไต ใช้การวิจัยแบบบรรยายเชิงความสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังก่อนการบำบัดทดแทนไต จำนวน 126 ราย เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล, แบบประเมินประสบการณ์การมีอาการอ่อนล้า, แบบประเมินกลวิธีการจัดการกับอาการอ่อนล้า, แบบประเมินการสนับสนุนจากครอบครัว, แบบประเมินคุณภาพชีวิต มีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าครอนบาคของแบบสอบถามที่ 2,4, 5 เท่ากับ .87 .97 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติสหสัมพันธฺเพียร์สัน ผลการวิจัย ประสบการณ์การมีอาการอ่อนล้าโดยรวมของผู้สูงอายุในระดับปานกลาง กลวิธีการจัดการกับอาการอ่อนล้าที่ผู้ป่วยปฏิบัติมากที่สุด ได้แก่ การนอนกลับ ซึ่งมีประสิทธิภาพในระดับปานกลาง การสนับสนุนจากครอบครัวโดยรวมอยู่ในระดับมาก คุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับดี ประสบการณ์การมีอาการอ่อนล้าด้านพฤติกรรม หรือความรุนแรง และด้านความหมายเชิงอารมณ์ มีความสัมพันธ์เชิงลบกับคุณภาพชีวิต อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ .01 ตามลำดับ การสนับสนุนจากครอบครัวโดยรวมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคุณภาพชีวิต อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 สรุป สามารถนำผลการวิจัยไปใช้ในการวางแผนการพยาบาล เพื่อป้องกันและจัดการกับอาการอ่อนล้าตามบริบทของผู้ป่วย เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Vol.27 No.3 (Sep-Dec) 2015/2558 [06/27/2016] . - p.26-37Keywords: อาการอ่อนล้า.กลวิธีการจัดการกับอาการ.การสนับสนุนจากครอบครัว.คุณภาพชีวิต. Link for e-copy: http://tci-thaijo.org/index.php/CUNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25531 [article] ประสบการณ์การมีอาการอ่อนล้า กลวิธีการจัดการกับอาการการสนับสนุนจากครอบครัว : และคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังก่อนการบำบัดทดแทนไต [printed text] / พรพิมล วดีศิริศักดิ์, Author ; วิไลวรรณ ทองเจริญ, Author ; จันทนา รณฤทธิวิชัย, Author . - 2016 . - p.26-37.
เพื่อ..ศึกษาประสยการณืการมีอาการอ่อนล้า กลวิธีการจัดการรกับอาการ การสนับสนุนจากครอบครัวและคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุโรคไดเรื้อรังก่อนการบำบัดทดแทนไต ใช้การวิจัยแบบบรรยายเชิงความสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังก่อนการบำบัดทดแทนไต จำนวน 126 ราย เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล, แบบประเมินประสบการณ์การมีอาการอ่อนล้า, แบบประเมินกลวิธีการจัดการกับอาการอ่อนล้า, แบบประเมินการสนับสนุนจากครอบครัว, แบบประเมินคุณภาพชีวิต มีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าครอนบาคของแบบสอบถามที่ 2,4, 5 เท่ากับ .87 .97 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติสหสัมพันธฺเพียร์สัน ผลการวิจัย ประสบการณ์การมีอาการอ่อนล้าโดยรวมของผู้สูงอายุในระดับปานกลาง กลวิธีการจัดการกับอาการอ่อนล้าที่ผู้ป่วยปฏิบัติมากที่สุด ได้แก่ การนอนกลับ ซึ่งมีประสิทธิภาพในระดับปานกลาง การสนับสนุนจากครอบครัวโดยรวมอยู่ในระดับมาก คุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับดี ประสบการณ์การมีอาการอ่อนล้าด้านพฤติกรรม หรือความรุนแรง และด้านความหมายเชิงอารมณ์ มีความสัมพันธ์เชิงลบกับคุณภาพชีวิต อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ .01 ตามลำดับ การสนับสนุนจากครอบครัวโดยรวมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคุณภาพชีวิต อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 สรุป สามารถนำผลการวิจัยไปใช้ในการวางแผนการพยาบาล เพื่อป้องกันและจัดการกับอาการอ่อนล้าตามบริบทของผู้ป่วย เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปัจจัยทำนายอาการทางจิตของผู้ป่วยจิตเภท / กชพร รัตนสมพร in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([06/20/2016])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายอาการทางจิตของผู้ป่วยจิตเภท Original title : Predicting factors of psychiatric symptoms in persons with schizophrenia Material Type: printed text Authors: กชพร รัตนสมพร, Author ; อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย, Author ; รัชนีกร เกิดโชค, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.99-112 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 [06/20/2016] . - p.99-112Keywords: อาการทางจิต.ผู้ป่วยจิตเภท.ปัจจัยทำนาย. Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25555 [article] ปัจจัยทำนายอาการทางจิตของผู้ป่วยจิตเภท = Predicting factors of psychiatric symptoms in persons with schizophrenia [printed text] / กชพร รัตนสมพร, Author ; อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย, Author ; รัชนีกร เกิดโชค, Author . - 2016 . - p.99-112.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับอาการผิดปกติของระบบโครงร่างกล้ามเนื้อ / เปรมฤดี โสกุล in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 ([05/24/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับอาการผิดปกติของระบบโครงร่างกล้ามเนื้อ : ของผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ภาคตะวันออก ประเทศไทย Original title : Factors related to musculoskeletal disoders among Thai traditional massage practioners in hospitals under The Ministry of Public Health, The eastern region of Thailand Material Type: printed text Authors: เปรมฤดี โสกุล, Author ; เพลินพิศ สุวรรณอำไพ, Author ; อรวรรณ แก้วบุญชู, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.29-43 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 [05/24/2017] . - p.29-43Keywords: ระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ.อาการผิดปกติ.ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย.โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.ภาคตะวันออก.ประเทศไทย. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26761 [article] ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับอาการผิดปกติของระบบโครงร่างกล้ามเนื้อ = Factors related to musculoskeletal disoders among Thai traditional massage practioners in hospitals under The Ministry of Public Health, The eastern region of Thailand : ของผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ภาคตะวันออก ประเทศไทย [printed text] / เปรมฤดี โสกุล, Author ; เพลินพิศ สุวรรณอำไพ, Author ; อรวรรณ แก้วบุญชู, Author . - 2017 . - p.29-43.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อประสบการณ์อาการความดันโลหิตตก / อรพินท์ หลักแหลม in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อประสบการณ์อาการความดันโลหิตตก : จากการเปลี่ยนอิริยาบถในผู้สูงอายุชาวไทยที่มีภาวะความดันโลหิตสูง Original title : Factors influencing orthostatic hypotension experience among Thai order adults with hypertension Material Type: printed text Authors: อรพินท์ หลักแหลม, Author ; นุจรี ไชยมงคล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.38-46 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.38-46Keywords: อาการความดันโลหิตตก.ผู้สูงอายุชาวไทย.ภาวะความดันโลหิตสูง.การรับรู้ภาวะสุขภาพ.การเปลี่ยนอิริยาบถ. Abstract: ประสบการณ์อาการความดันโลหิตตกจากการเปลี่ยนอิริยาบถ เป็นการรับรู้ของบุคคลเกี่ยวกับอาการวิงเวียน ปวดศีรษะน้อย ๆ หรือเป็นลม เมื่อเปลี่ยนท่าทาง จากการนั่ง หรือนอนเป็นการลุกขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อประสบการณ์อาการความดันโลหิตตกจากการเปลี่ยนอิริยาบถในผู้สูงอายุที่มีภาวะความดันโลหิตสูง จำนวน 278 ราย อายุเฉลีย 70.5 ปี อาศัยอยู่ในเขตเมือง จังหวัดชลบุรี ปี 2559 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีจำนวน 5 ชุด เป็นแบบสอบถามทีี่ให้กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ตอบเอง ค่าความเชื่อมั่นอยู่ระหว่าง .70-.90 การวิเคราะห์ข้อมูลแบยสถิติเชงพรรณนา และการวิเคราะห์เส้นทาง ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ภาวะสุขภาพมีอิทธิพลทางลบโดยตรงต่ออาการความดันโลหิตตกจากการเปลี่ยนอิริยาบถ ...
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27211 [article] ปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อประสบการณ์อาการความดันโลหิตตก = Factors influencing orthostatic hypotension experience among Thai order adults with hypertension : จากการเปลี่ยนอิริยาบถในผู้สูงอายุชาวไทยที่มีภาวะความดันโลหิตสูง [printed text] / อรพินท์ หลักแหลม, Author ; นุจรี ไชยมงคล, Author . - 2017 . - p.38-46.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.38-46Keywords: อาการความดันโลหิตตก.ผู้สูงอายุชาวไทย.ภาวะความดันโลหิตสูง.การรับรู้ภาวะสุขภาพ.การเปลี่ยนอิริยาบถ. Abstract: ประสบการณ์อาการความดันโลหิตตกจากการเปลี่ยนอิริยาบถ เป็นการรับรู้ของบุคคลเกี่ยวกับอาการวิงเวียน ปวดศีรษะน้อย ๆ หรือเป็นลม เมื่อเปลี่ยนท่าทาง จากการนั่ง หรือนอนเป็นการลุกขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อประสบการณ์อาการความดันโลหิตตกจากการเปลี่ยนอิริยาบถในผู้สูงอายุที่มีภาวะความดันโลหิตสูง จำนวน 278 ราย อายุเฉลีย 70.5 ปี อาศัยอยู่ในเขตเมือง จังหวัดชลบุรี ปี 2559 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีจำนวน 5 ชุด เป็นแบบสอบถามทีี่ให้กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ตอบเอง ค่าความเชื่อมั่นอยู่ระหว่าง .70-.90 การวิเคราะห์ข้อมูลแบยสถิติเชงพรรณนา และการวิเคราะห์เส้นทาง ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ภาวะสุขภาพมีอิทธิพลทางลบโดยตรงต่ออาการความดันโลหิตตกจากการเปลี่ยนอิริยาบถ ...
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27211 ผลของโปรแกรมการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม / ขุมทรัพย์ ก้อนทอง in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม : ต่ออาการด้านลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน Original title : Cognitive behavior therapy program on the negative symtoms of schizophrenic patients in Material Type: printed text Authors: ขุมทรัพย์ ก้อนทอง, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.36-51 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.36-51Keywords: negative symptoms. cognitive behavioral therapy. Schizophrenic patients in community. อาการทางลบ. บำบัดทางพฤติกรรม. ความคิด. ผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิด และอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิดกับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยจิตเภทอายุ 20-59 ปี ที่เข้ารับการรักษาแบบผู่ป่วยนอกที่สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์กรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ20 คน โดยจับคู่โดยจับคู่ระยะเวลาการเจ็บป่วยทางจิตและคะแนนอาการทางจิตเหมือนกัน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการบำบัดการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ1)โปรแกรมการบำบัดทางความคิดพฤติกรรม 2) แบบประเมินอาการทางลบ และ 3) แบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาค่าความเที่ยงของแบบประเมินอาการทางลบและแบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ เท่ากับ .86 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณาและสถิติทดสอบที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยพบ ดังนี้
1. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรม ฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
2. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
สรุป: โปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด มีประสิทธิผลในการลดอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภท โปรแกรมส่งเสริมทักษะของผู้ป่วยในการบ่งชี้อาการทางลบ ปรับการคิดที่ถูกต้องและนำไปสู่การปรับพฤติกรรมและแสดงออกที่เหมาะสมต่อสถานการณ์
Abstract
Objectives: The purpose of this quasiexperimental pretest-posttest with control group research design was to examine the effect of cognitive behavioral therapy program on negative symptoms of schizophrenic patients in community.
Methods: Subjects were 40 schizophrenic patients, aged 20-59 years, at the out-patient department in a psychiatric hospital, Ministry of Public Health. They were matched pair with illness duration and score of psychiatric symptom and then randomly assigned to the experimental and control groups, 20 in each group. The experimental group received cognitive behavioral therapy. The control group received routine nursing care. Research instruments consisted of the cognitive behavioral therapy program, negative symptoms test and automatic negative thought test. All instruments were tested for content validity. Reliability of the negative symptom test and automatic negative thought test were .82 and .82, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, and t-tests.
Results: Findings were as follows:
1. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after receiving the cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that before (p < .05).
2. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after received cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that of those who receiving routine
nursing care (p < .05).
Conclusions: The results suggest that the cognitive behavioral therapy program is effective in reducing negative symptoms of schizophrenic patients. The program promotes patients’ new skill to identify negative thoughts, form adaptive thoughts, and alter maladaptive behavior patterns to adjust to particular situations.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27369 [article] ผลของโปรแกรมการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม = Cognitive behavior therapy program on the negative symtoms of schizophrenic patients in : ต่ออาการด้านลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน [printed text] / ขุมทรัพย์ ก้อนทอง, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author . - 2017 . - p.36-51.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.36-51Keywords: negative symptoms. cognitive behavioral therapy. Schizophrenic patients in community. อาการทางลบ. บำบัดทางพฤติกรรม. ความคิด. ผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิด และอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิดกับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยจิตเภทอายุ 20-59 ปี ที่เข้ารับการรักษาแบบผู่ป่วยนอกที่สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์กรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ20 คน โดยจับคู่โดยจับคู่ระยะเวลาการเจ็บป่วยทางจิตและคะแนนอาการทางจิตเหมือนกัน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการบำบัดการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ1)โปรแกรมการบำบัดทางความคิดพฤติกรรม 2) แบบประเมินอาการทางลบ และ 3) แบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาค่าความเที่ยงของแบบประเมินอาการทางลบและแบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ เท่ากับ .86 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณาและสถิติทดสอบที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยพบ ดังนี้
1. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรม ฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
2. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
สรุป: โปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด มีประสิทธิผลในการลดอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภท โปรแกรมส่งเสริมทักษะของผู้ป่วยในการบ่งชี้อาการทางลบ ปรับการคิดที่ถูกต้องและนำไปสู่การปรับพฤติกรรมและแสดงออกที่เหมาะสมต่อสถานการณ์
Abstract
Objectives: The purpose of this quasiexperimental pretest-posttest with control group research design was to examine the effect of cognitive behavioral therapy program on negative symptoms of schizophrenic patients in community.
Methods: Subjects were 40 schizophrenic patients, aged 20-59 years, at the out-patient department in a psychiatric hospital, Ministry of Public Health. They were matched pair with illness duration and score of psychiatric symptom and then randomly assigned to the experimental and control groups, 20 in each group. The experimental group received cognitive behavioral therapy. The control group received routine nursing care. Research instruments consisted of the cognitive behavioral therapy program, negative symptoms test and automatic negative thought test. All instruments were tested for content validity. Reliability of the negative symptom test and automatic negative thought test were .82 and .82, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, and t-tests.
Results: Findings were as follows:
1. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after receiving the cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that before (p < .05).
2. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after received cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that of those who receiving routine
nursing care (p < .05).
Conclusions: The results suggest that the cognitive behavioral therapy program is effective in reducing negative symptoms of schizophrenic patients. The program promotes patients’ new skill to identify negative thoughts, form adaptive thoughts, and alter maladaptive behavior patterns to adjust to particular situations.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27369 ผลของโปรแกรมการเจริญสติต่ออาการปวดเข่าในผู้สูงอายุ ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม / ปุณยนุช คงเสน่ห์ in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Vol.27 No.3 (Sep-Dec) 2015/2558 ([06/27/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการเจริญสติต่ออาการปวดเข่าในผู้สูงอายุ ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม Original title : The effects of a mindfulness meditation program on knee pain among older persons with knee osteoarthritis Material Type: printed text Authors: ปุณยนุช คงเสน่ห์, Author ; จิราพร เกศพิชญวัฒนา, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.68-79 General note: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเจริญสติต่ออาการปวดเข่าในผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข้าเสื่อม จำนวน 70 คน ที่เป็นสมาชิกในชมรมผู้สูงอายุ เขตเมือง สุราษฎร์ธานี แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 35 คน กลุ่มควบคุม 35 คน จับคู่ในด้าน เพศ อายุ ค่าดัชนีมวลกาย ชนิดของยาแก้ปวด ความถี่ของยาแก้ปวดที่ได้รับ และประสบการณ์ในการเจริญสติ กลุ่มทดลอง ได้รับการเจริญสติเพื่อบรรเทาอาการปวดเข่าในผู้สูงอายุที่มีภาวะเข่าเสื่อม กลุ่มควบคุมได้รับกิจกรรมตามปกติของชมรมผู้สูงอายุ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือ โปรแกรมการเจริญสติเพื่อบรรเทาอาการปวดเข่าในผู้สูงอายุ ประกอบด้วยกิจกรรมกลุ่ม 5 ครั้ง และกิจกรรมรายบุคคล 3 ครั้ง รวม 8 ครั้ง ห่างกันครั้งละ 1 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบประเมินระดับอาการปวดชนิดตัวเลข และแบบประเมินภาวะข้อจำกัดจากอาการปวดเข่า ซึ่งมีดัชนีความตรงตามเนื้่อหาเท่ากับ 1.0 และมีความเที่ยงแบบวัดซ้ำเท่ากับ .78 และ.99 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหา ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัย 1) อาการปวดเข่าของผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม ภายหลังได้รับโปรแกรมการเจริญสติต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสติที่ระดับ .01 2) อาการปวดเข่าของผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการเจริญสติต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับกิจกรรมตามปกติของชมรมผู้สูงอายุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สรุปผลการวิจัย โปรแกรมการเจริญสติส่งผลให้อาการปวดเข่าของผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมลดลงและต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับกิจกรรมตามปกติของชมรมผู้สูงอายุ Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Vol.27 No.3 (Sep-Dec) 2015/2558 [06/27/2016] . - p.68-79Keywords: การเจริญสติ.อาการปวดเข่า.ผู้สูงอายุภาวะข้อเข่าเสื่อม. Link for e-copy: http://tci-thaijo.org/index.php/CUNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25534 [article] ผลของโปรแกรมการเจริญสติต่ออาการปวดเข่าในผู้สูงอายุ ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม = The effects of a mindfulness meditation program on knee pain among older persons with knee osteoarthritis [printed text] / ปุณยนุช คงเสน่ห์, Author ; จิราพร เกศพิชญวัฒนา, Author . - 2016 . - p.68-79.
เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเจริญสติต่ออาการปวดเข่าในผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข้าเสื่อม จำนวน 70 คน ที่เป็นสมาชิกในชมรมผู้สูงอายุ เขตเมือง สุราษฎร์ธานี แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 35 คน กลุ่มควบคุม 35 คน จับคู่ในด้าน เพศ อายุ ค่าดัชนีมวลกาย ชนิดของยาแก้ปวด ความถี่ของยาแก้ปวดที่ได้รับ และประสบการณ์ในการเจริญสติ กลุ่มทดลอง ได้รับการเจริญสติเพื่อบรรเทาอาการปวดเข่าในผู้สูงอายุที่มีภาวะเข่าเสื่อม กลุ่มควบคุมได้รับกิจกรรมตามปกติของชมรมผู้สูงอายุ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือ โปรแกรมการเจริญสติเพื่อบรรเทาอาการปวดเข่าในผู้สูงอายุ ประกอบด้วยกิจกรรมกลุ่ม 5 ครั้ง และกิจกรรมรายบุคคล 3 ครั้ง รวม 8 ครั้ง ห่างกันครั้งละ 1 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบประเมินระดับอาการปวดชนิดตัวเลข และแบบประเมินภาวะข้อจำกัดจากอาการปวดเข่า ซึ่งมีดัชนีความตรงตามเนื้่อหาเท่ากับ 1.0 และมีความเที่ยงแบบวัดซ้ำเท่ากับ .78 และ.99 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหา ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัย 1) อาการปวดเข่าของผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม ภายหลังได้รับโปรแกรมการเจริญสติต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสติที่ระดับ .01 2) อาการปวดเข่าของผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการเจริญสติต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับกิจกรรมตามปกติของชมรมผู้สูงอายุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สรุปผลการวิจัย โปรแกรมการเจริญสติส่งผลให้อาการปวดเข่าของผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมลดลงและต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับกิจกรรมตามปกติของชมรมผู้สูงอายุ
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย / ปิยะภร ไพรสนธิ์ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย Original title : Anaemia in Elderly People in Upper-Northern Thailand Material Type: printed text Authors: ปิยะภร ไพรสนธิ์, Author ; พรทิพย์ สารีโส, Author ; พัชราภรณ์ อารีย์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.133-145 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.133-145Keywords: ภาวะโลหิตจาง. ผู้สูงอายุไทย. ภาวะโภชนการ. อาการที่สัมพันธ์กับภาวะโลหิตจาง.anaemia. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความชุกของภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุภาคเหนือตอนบนของ
ประเทศไทย อาการที่สัมพันธ์กับภาวะโลหิตจาง และภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะโลหิตจาง
การออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณนา
วิธีดำเนินการวิจัย: คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จากผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี
ขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตภาคเหนือ 4 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ พะเยา และลำพูน
จำนวน 477 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และเจาะเลือดส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย
ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำานวน 477 คน มีภาวะโลหิตจางจำนวน 130 คน (ร้อยละ 27.3)ส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 65.4) โดยเพศหญิงมีภาวะโลหิตจาง (Hb < 12 g/dL)85 คน คิดเป็นร้อยละ 28.1 เพศชายมีภาวะโลหิตจาง (Hb < 13 g/dL) 45 คน
คิดเป็นร้อยละ 25.7 มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.3
มีอาการที่สัมพันธ์กับภาวะซีดภายใน 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา 5 อันดับแรก ได้แก่
อาการหลงลืมง่าย คิดช้า คิดไม่ค่อยออก ขาเป็นตะคริว นอนไม่หลับ และรู้สึกไม่คล่องแคล่ว
อาการส่วนใหญ่อยู่ในระดับไม่รุนแรง มีภาวะโภชนาการระดับปกติ ร้อยละ 54.6 และมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ ร้อยละ 44.6
ข้อเสนอแนะ: บุคลากรสุขภาพควรตระหนักถึงความสำาคัญของภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุ
มีการประเมินติดตามอย่างต่อเนื่อง รวมถึงเฝ้าระวังอาการที่สัมพันธ์กับภาวะโลหิตจาง
ที่อาจเกิดขึ้นLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26988 [article] ภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย = Anaemia in Elderly People in Upper-Northern Thailand [printed text] / ปิยะภร ไพรสนธิ์, Author ; พรทิพย์ สารีโส, Author ; พัชราภรณ์ อารีย์, Author . - 2017 . - p.133-145.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.133-145Keywords: ภาวะโลหิตจาง. ผู้สูงอายุไทย. ภาวะโภชนการ. อาการที่สัมพันธ์กับภาวะโลหิตจาง.anaemia. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความชุกของภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุภาคเหนือตอนบนของ
ประเทศไทย อาการที่สัมพันธ์กับภาวะโลหิตจาง และภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะโลหิตจาง
การออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณนา
วิธีดำเนินการวิจัย: คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จากผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี
ขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตภาคเหนือ 4 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ พะเยา และลำพูน
จำนวน 477 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และเจาะเลือดส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย
ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำานวน 477 คน มีภาวะโลหิตจางจำนวน 130 คน (ร้อยละ 27.3)ส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 65.4) โดยเพศหญิงมีภาวะโลหิตจาง (Hb < 12 g/dL)85 คน คิดเป็นร้อยละ 28.1 เพศชายมีภาวะโลหิตจาง (Hb < 13 g/dL) 45 คน
คิดเป็นร้อยละ 25.7 มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.3
มีอาการที่สัมพันธ์กับภาวะซีดภายใน 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา 5 อันดับแรก ได้แก่
อาการหลงลืมง่าย คิดช้า คิดไม่ค่อยออก ขาเป็นตะคริว นอนไม่หลับ และรู้สึกไม่คล่องแคล่ว
อาการส่วนใหญ่อยู่ในระดับไม่รุนแรง มีภาวะโภชนาการระดับปกติ ร้อยละ 54.6 และมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ ร้อยละ 44.6
ข้อเสนอแนะ: บุคลากรสุขภาพควรตระหนักถึงความสำาคัญของภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุ
มีการประเมินติดตามอย่างต่อเนื่อง รวมถึงเฝ้าระวังอาการที่สัมพันธ์กับภาวะโลหิตจาง
ที่อาจเกิดขึ้นLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26988 อาการปวดหลังส่วนล่างในเกษตรกรชาวนากับบทบาทของพยาบาลชุมชน / นภมณ ยารวง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : อาการปวดหลังส่วนล่างในเกษตรกรชาวนากับบทบาทของพยาบาลชุมชน Original title : Law back pain in rice farmers with the role of community health nurses Material Type: printed text Authors: นภมณ ยารวง, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.1-9 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.1-9Keywords: อาการปวดหลังส่วนล่าง.พยาบาลชุมชน ชาวนา -- เกษตรกร. Abstract: อาการปวดหลังส่วนล่างในเกษตรกรชาวนาเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ซึ่งเกิดจากกระบวนการทำนา เกษตราชาวนามีโอกาสสัมผัสปัจจัยคุกคามสุขภาพจากสภาพแวดล้อมการทำงาน และสภาพการทำงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสัมผัสปัจจัยด้านการยศาสตร์ ได้แก่ ท่าทางการทำงานที่ผิดปกติ หรือฝืนธรรมชาติ การทำงานที่ซ้ำ ไ และการทำงานที่ทำให้กล้ามเนื้อออกแรงมากเกินความสามารถในการรับน้ำหนัก ส่งผลทำให้เกิดความผิดปกติของโครงร่างและกล้ามเนื้อ โดยโฉพาะอาการปวดหลังส่วนล่างที่เป็นปัญหาเรื้อรัง ทำให้รัฐบาลต้องสูญเสียงบประมาณจำนวนมากในการรักษา ดังนั้นพยาบาลชุมชนควรมีส่วนร่วมในการป้องกันและฟื้นฟูอาการปวดหลังส่วนล่างในเกษตรกรชาวนา โดยมีบทบาทเป็นทั้งผู้ประสานงาน ผู้ให้ความรู้ ให้คำปรึกษา ผู้ช่วยเหลือ ผู้สนับสนุน ผู้แนะนำแหล่งใช้ประโยชน์ ผู้เอื้ออำนวยความสะดวก ผู้สนับสนุนความสามารถและผู้วิจัย ที่มีวิธีการเน้นทั้งปัจจัยภายในและภายนอก โดยปัจจัยภายใน ได้แก่ การส่งเสริมการรับรู้ความสามารถหรือสมรรถนะในการดูแลตนเอง การบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับท่าทางในการทำงานที่ถูกต้อง การแนะนำและสาธิตการบริหารกล้ามเนื้อหลังส่วนล่าง เน้นวิธีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อเพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้กับกล้ามเนื้อหลังส่วนล่าง รวมทั้งการนั่งสมาธิก็สามารถลดอาการปวดหลังส่วนล่างได้ ส่วนปัจจัยภายนอก เน้นกลุ่มเพื่อนหรือกลุ่มเกษตรกรชาวนา โดยมีการจัดตั้งกลุ่มดูแลสุขภาพ ที่เป็นแกนนำที่ปฏิบัติตามคำแนะนำในกลุ่มเกษตรกรชาวนา นอกจากนี้พยาบาลชุมชนต้องใช้หลักยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพแนวใหม่โดย 1. การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล 2. การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อสุขภาพ 3. การเสริมสร้างกิจกรรมชุมชนให้เข้มแข็ง 4. การปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพและ 5. การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ที่ช่วยให้เกษตรกรชาวนาสามารถดูแลตนเองได้อย่างยั่งยืน มีการจัดการปัญหาอาการปวดหลังส่วนล่างอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25523 [article] อาการปวดหลังส่วนล่างในเกษตรกรชาวนากับบทบาทของพยาบาลชุมชน = Law back pain in rice farmers with the role of community health nurses [printed text] / นภมณ ยารวง, Author . - 2016 . - p.1-9.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.1-9Keywords: อาการปวดหลังส่วนล่าง.พยาบาลชุมชน ชาวนา -- เกษตรกร. Abstract: อาการปวดหลังส่วนล่างในเกษตรกรชาวนาเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ซึ่งเกิดจากกระบวนการทำนา เกษตราชาวนามีโอกาสสัมผัสปัจจัยคุกคามสุขภาพจากสภาพแวดล้อมการทำงาน และสภาพการทำงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสัมผัสปัจจัยด้านการยศาสตร์ ได้แก่ ท่าทางการทำงานที่ผิดปกติ หรือฝืนธรรมชาติ การทำงานที่ซ้ำ ไ และการทำงานที่ทำให้กล้ามเนื้อออกแรงมากเกินความสามารถในการรับน้ำหนัก ส่งผลทำให้เกิดความผิดปกติของโครงร่างและกล้ามเนื้อ โดยโฉพาะอาการปวดหลังส่วนล่างที่เป็นปัญหาเรื้อรัง ทำให้รัฐบาลต้องสูญเสียงบประมาณจำนวนมากในการรักษา ดังนั้นพยาบาลชุมชนควรมีส่วนร่วมในการป้องกันและฟื้นฟูอาการปวดหลังส่วนล่างในเกษตรกรชาวนา โดยมีบทบาทเป็นทั้งผู้ประสานงาน ผู้ให้ความรู้ ให้คำปรึกษา ผู้ช่วยเหลือ ผู้สนับสนุน ผู้แนะนำแหล่งใช้ประโยชน์ ผู้เอื้ออำนวยความสะดวก ผู้สนับสนุนความสามารถและผู้วิจัย ที่มีวิธีการเน้นทั้งปัจจัยภายในและภายนอก โดยปัจจัยภายใน ได้แก่ การส่งเสริมการรับรู้ความสามารถหรือสมรรถนะในการดูแลตนเอง การบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับท่าทางในการทำงานที่ถูกต้อง การแนะนำและสาธิตการบริหารกล้ามเนื้อหลังส่วนล่าง เน้นวิธีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อเพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้กับกล้ามเนื้อหลังส่วนล่าง รวมทั้งการนั่งสมาธิก็สามารถลดอาการปวดหลังส่วนล่างได้ ส่วนปัจจัยภายนอก เน้นกลุ่มเพื่อนหรือกลุ่มเกษตรกรชาวนา โดยมีการจัดตั้งกลุ่มดูแลสุขภาพ ที่เป็นแกนนำที่ปฏิบัติตามคำแนะนำในกลุ่มเกษตรกรชาวนา นอกจากนี้พยาบาลชุมชนต้องใช้หลักยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพแนวใหม่โดย 1. การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล 2. การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อสุขภาพ 3. การเสริมสร้างกิจกรรมชุมชนให้เข้มแข็ง 4. การปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพและ 5. การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ที่ช่วยให้เกษตรกรชาวนาสามารถดูแลตนเองได้อย่างยั่งยืน มีการจัดการปัญหาอาการปวดหลังส่วนล่างอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25523