From this page you can:
Home |
Search results
1 result(s) search for keyword(s) 'ผู้ป่วยอายุรศาสตร์.คุณภาพการปฏิบัติงาน.การพยาบาลขั้นสูง.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
สถานการณ์คุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง งานการพยาบาลผู้ป่วยอายุรศาสตร์โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : สถานการณ์คุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง งานการพยาบาลผู้ป่วยอายุรศาสตร์โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม Original title : Situation of the perfomance quality of advanced practice nurses in the medical care section, Maharaj Nakorn Chiang Mai hospital Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: p.20-37 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.20-37Keywords: ผู้ป่วยอายุรศาสตร์.คุณภาพการปฏิบัติงาน.การพยาบาลขั้นสูง. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์: เพื่ออธิบายสถานการณ์คุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงงานการพยาบาลผู้ป่วยอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
การออกแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงพรรณนา (descriptive study)
วิธีดำเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย ผู้บริหารทางการพยาบาล 2 คน หัวหน้าหอผู้ป่วย/หัวหน้าหน่วย 8 คน ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง 15 คน บุคลากรด้านสุขภาพที่ปฏิบัติงานร่วมกับผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง 4 คน ผู้ป่วย 2 คน และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติกำรพยาบาลขั้นสูง กรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้ ใช้กรอบแนวคิดคุณภาพการดูแลสุขภาพของโดนาบีเดียน เครื่องมือที่ใช้ในกำรรวบรวมข้อมูลใช้แนวคำถามแบบกึ่งโครงสร้างในการสัมภาษณ์รายบุคคลและการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนำและวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: 1. ด้านโครงสร้าง พบว่าฝ่ายการพยาบาลมีนโยบายการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง แต่กำหนดนโยบายลงสู่การปฏิบัติในแต่ละหอผู้ป่วยมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับการมอบหมายงาน บันไดความก้าวหน้ายังไม่ชัดเจน การกระจายอัตรากำลังของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงไม่เหมาะสม รูปแบบการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงมีสามรูปแบบได้แก่ ปฏิบัติงานในบทบาทเต็มเวลา ใช้เวลาบางส่วนในการปฏิบัติบทบาท และใช้เวลาส่วนตัวในการปฏิบัติบทบาท สถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงมีไม่เพียงพอ การนิเทศการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงไม่มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน และไม่ได้กำหนดผู้รับผิดชอบในกำรนิเทศ ค่าตอบแทนไม่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถ และภาระงาน 2. ด้านกระบวนการ พบว่า ผู้ปฏิบัติการพยาบาบขั้นสูงให้การดูแลผู้ป่วยตามสมรรถนะทั้ง 9 ตามที่สภาการพยาบาลกำหนด แต่จะปฏิบัติได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับลักษณะของผู้ป่วยที่เป็นประชากรกลุ่มเป้าหมาย และการมอบหมายงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย 3. ด้านผลลัพธ์ พบว่า การปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงทำให้เกิด ผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้ใช้บริการ/ผู้ป่วย ต่อผู้ให้บริกำร และต่อองค์กร แต่แนวปฏิบัติในกำรติดตำมผลลัพธ์ยังไม่ชัดเจน
ข้อเสนอแนะ: สำหรับผู้บริหารทางการพยาบาล ควรกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร กำหนดบทบาทหน้าที่และความก้าวหน้าของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงแต่ละระดับให้มีความชัดเจน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงได้ปฏิบัติบทบาทตามสมรรถนะที่สภาการพยาบาลกำหนด จัดหาปัจจัยสนับสนุนในการปฏิบัติงานและการสร้างผลงานทางวิชชาการของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง นำผลลัพธ์ที่ได้ มาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการบริหารหรือปรับเปลี่ยนนโยบายตามความเหมาะสมLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26789 [article] สถานการณ์คุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง งานการพยาบาลผู้ป่วยอายุรศาสตร์โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม = Situation of the perfomance quality of advanced practice nurses in the medical care section, Maharaj Nakorn Chiang Mai hospital [printed text] . - 2017 . - p.20-37.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.20-37Keywords: ผู้ป่วยอายุรศาสตร์.คุณภาพการปฏิบัติงาน.การพยาบาลขั้นสูง. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์: เพื่ออธิบายสถานการณ์คุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงงานการพยาบาลผู้ป่วยอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
การออกแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงพรรณนา (descriptive study)
วิธีดำเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย ผู้บริหารทางการพยาบาล 2 คน หัวหน้าหอผู้ป่วย/หัวหน้าหน่วย 8 คน ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง 15 คน บุคลากรด้านสุขภาพที่ปฏิบัติงานร่วมกับผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง 4 คน ผู้ป่วย 2 คน และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติกำรพยาบาลขั้นสูง กรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้ ใช้กรอบแนวคิดคุณภาพการดูแลสุขภาพของโดนาบีเดียน เครื่องมือที่ใช้ในกำรรวบรวมข้อมูลใช้แนวคำถามแบบกึ่งโครงสร้างในการสัมภาษณ์รายบุคคลและการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนำและวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: 1. ด้านโครงสร้าง พบว่าฝ่ายการพยาบาลมีนโยบายการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง แต่กำหนดนโยบายลงสู่การปฏิบัติในแต่ละหอผู้ป่วยมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับการมอบหมายงาน บันไดความก้าวหน้ายังไม่ชัดเจน การกระจายอัตรากำลังของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงไม่เหมาะสม รูปแบบการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงมีสามรูปแบบได้แก่ ปฏิบัติงานในบทบาทเต็มเวลา ใช้เวลาบางส่วนในการปฏิบัติบทบาท และใช้เวลาส่วนตัวในการปฏิบัติบทบาท สถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงมีไม่เพียงพอ การนิเทศการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงไม่มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน และไม่ได้กำหนดผู้รับผิดชอบในกำรนิเทศ ค่าตอบแทนไม่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถ และภาระงาน 2. ด้านกระบวนการ พบว่า ผู้ปฏิบัติการพยาบาบขั้นสูงให้การดูแลผู้ป่วยตามสมรรถนะทั้ง 9 ตามที่สภาการพยาบาลกำหนด แต่จะปฏิบัติได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับลักษณะของผู้ป่วยที่เป็นประชากรกลุ่มเป้าหมาย และการมอบหมายงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย 3. ด้านผลลัพธ์ พบว่า การปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงทำให้เกิด ผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้ใช้บริการ/ผู้ป่วย ต่อผู้ให้บริกำร และต่อองค์กร แต่แนวปฏิบัติในกำรติดตำมผลลัพธ์ยังไม่ชัดเจน
ข้อเสนอแนะ: สำหรับผู้บริหารทางการพยาบาล ควรกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร กำหนดบทบาทหน้าที่และความก้าวหน้าของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงแต่ละระดับให้มีความชัดเจน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงได้ปฏิบัติบทบาทตามสมรรถนะที่สภาการพยาบาลกำหนด จัดหาปัจจัยสนับสนุนในการปฏิบัติงานและการสร้างผลงานทางวิชชาการของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง นำผลลัพธ์ที่ได้ มาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการบริหารหรือปรับเปลี่ยนนโยบายตามความเหมาะสมLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26789