From this page you can:
Home |
Search results
16 result(s) search for keyword(s) 'เครื่องเสียงติดรถยนต์. ผู้บริโภค. การตัดสินใจ. ความต้องการ. พระนครศรีอยุธยา.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตดสินใจติดตั้งเครื่องเสียงติดรถยนต์ของผู้บริโภค / ศศิกาญจน์ บินขุนทด / วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ - 2553
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตดสินใจติดตั้งเครื่องเสียงติดรถยนต์ของผู้บริโภค : จังหวัดพระนครศรีอยุธยา Original title : Factors influencing the decision on installing car aucio of customers in Phra Nakhon Si Ayuttaya province Material Type: printed text Authors: ศศิกาญจน์ บินขุนทด, Author Publisher: วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ Publication Date: 2553 Pagination: ก-ฐ, 108 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (บธ. ม (การตลาด)).-- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ, 2553 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตลาด -- วิจัย
[LCSH]การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า
[LCSH]การส่งเสริมการขาย
[LCSH]ความพึงพอใจของผู้บริโภค
[LCSH]บริการลูกค้า
[LCSH]เครื่องเสียงติดรถยนต์Keywords: เครื่องเสียงติดรถยนต์.
ผู้บริโภค.
การตัดสินใจ.
ความต้องการ.
พระนครศรีอยุธยา.Class number: TK7881.85 ศ883 2553 Abstract: การวิจัยนี้มุ่งศึกษา 1.ปัจจัยกลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาด ปัจจัยการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ และปััจัยทางสังคมที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจติดตั้งเครื่องเสียงติดรถยนต์ของผู้บริโภา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2. เพื่อเปรียบเทียบการตัดสินใจติดตั้งเครื่องเสียงติดรถยนต์โดยให้ความสำคัญกับปัจจัยกลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาด และการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริโภคที่มาใช้บริการติดตั้งเครื่องเสียงติดรถยนต์ จำนวน 400 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ซึ่งผ่านการตรวจความตรงตามเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของแบบสอบถามมีค่าระหว่าง .88-.94 วิเคราะห์โดยหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแตกต่างโดยการทดสอบค่า t-test วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียง Ond-way ANOVA ทดสอบความแตกต่างรายคู่โดยวิธีเชฟเฟ
ผลการวิจัยพบว่า
1. ผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นเพศชาน อายุ 31-40 ปี สถานภาพโสด ระดับการศึกษาปริญยาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน รายได้ต่อเดือน 20,001-30,000 บาท
2. ผู้บริโภคตัดสินใจติดตั้งเครื่องเสียงติดรถยนต์โดยให้ความสำคัญกับปัจจัยกลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาด ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ ราคา สถานที่ และการส่งเสริมการขาย รวมทั้งปัจจัยการบริหารลูกค้าสัีมพันธ์ระดับมาก ผู้บริโภคส่วนใหญ่ตัดสินใจติดตั้งเครื่องเสียงรถยนต์ด้วยตนเอง โดยสืบค้นข้อมูลจากแผ่นพับ โทรทัศน์ท้องถิ่น อินเตอร์เน็ต และป้ายโฆษณา
3. ผู้บริโภคที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกันตัดสินใจติดตั้งเครื่องเสียงติดรถยนต์โดยให้ความสำคัญกับกัจจัยส่วนประสมทางการตลาดโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
4. ผู้บริโภคที่มีอายุ ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกันตัดสินใจติดตั้งเครื่องเสียงติดรถยนต์โดยให้ความสำคัญกับปัจจัยการบริหารลูกค้าสัมพันธ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : BBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23311 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตดสินใจติดตั้งเครื่องเสียงติดรถยนต์ของผู้บริโภค = Factors influencing the decision on installing car aucio of customers in Phra Nakhon Si Ayuttaya province : จังหวัดพระนครศรีอยุธยา [printed text] / ศศิกาญจน์ บินขุนทด, Author . - [S.l.] : วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ, 2553 . - ก-ฐ, 108 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (บธ. ม (การตลาด)).-- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ, 2553
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตลาด -- วิจัย
[LCSH]การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า
[LCSH]การส่งเสริมการขาย
[LCSH]ความพึงพอใจของผู้บริโภค
[LCSH]บริการลูกค้า
[LCSH]เครื่องเสียงติดรถยนต์Keywords: เครื่องเสียงติดรถยนต์.
ผู้บริโภค.
การตัดสินใจ.
ความต้องการ.
พระนครศรีอยุธยา.Class number: TK7881.85 ศ883 2553 Abstract: การวิจัยนี้มุ่งศึกษา 1.ปัจจัยกลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาด ปัจจัยการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ และปััจัยทางสังคมที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจติดตั้งเครื่องเสียงติดรถยนต์ของผู้บริโภา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2. เพื่อเปรียบเทียบการตัดสินใจติดตั้งเครื่องเสียงติดรถยนต์โดยให้ความสำคัญกับปัจจัยกลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาด และการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริโภคที่มาใช้บริการติดตั้งเครื่องเสียงติดรถยนต์ จำนวน 400 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ซึ่งผ่านการตรวจความตรงตามเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของแบบสอบถามมีค่าระหว่าง .88-.94 วิเคราะห์โดยหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแตกต่างโดยการทดสอบค่า t-test วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียง Ond-way ANOVA ทดสอบความแตกต่างรายคู่โดยวิธีเชฟเฟ
ผลการวิจัยพบว่า
1. ผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นเพศชาน อายุ 31-40 ปี สถานภาพโสด ระดับการศึกษาปริญยาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน รายได้ต่อเดือน 20,001-30,000 บาท
2. ผู้บริโภคตัดสินใจติดตั้งเครื่องเสียงติดรถยนต์โดยให้ความสำคัญกับปัจจัยกลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาด ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ ราคา สถานที่ และการส่งเสริมการขาย รวมทั้งปัจจัยการบริหารลูกค้าสัีมพันธ์ระดับมาก ผู้บริโภคส่วนใหญ่ตัดสินใจติดตั้งเครื่องเสียงรถยนต์ด้วยตนเอง โดยสืบค้นข้อมูลจากแผ่นพับ โทรทัศน์ท้องถิ่น อินเตอร์เน็ต และป้ายโฆษณา
3. ผู้บริโภคที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกันตัดสินใจติดตั้งเครื่องเสียงติดรถยนต์โดยให้ความสำคัญกับกัจจัยส่วนประสมทางการตลาดโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
4. ผู้บริโภคที่มีอายุ ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกันตัดสินใจติดตั้งเครื่องเสียงติดรถยนต์โดยให้ความสำคัญกับปัจจัยการบริหารลูกค้าสัมพันธ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : BBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23311 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000356046 THE TK7881.85 ศ883 2553 Thesis Main Library General Shelf Available SIU THE-T. การตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน / เฉิมชัย ก๊กเกียรติกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน Original title : Ethical Decision Making of Media Profession in Digital Terrestrial Television Sector Material Type: printed text Authors: เฉิมชัย ก๊กเกียรติกุล, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: x, 301 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตัดสินใจ
[LCSH]นักสื่อสารมวลชน -- แง่ศีลธรรมจรรยาKeywords: การตัดสินใจ,
จริยธรรม,
วิชาชีพสื่อมวลชนAbstract: การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน ตลอดทั้งแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน วิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ สำหรับงานวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกสื่อมวลชนที่มีประสบการณ์ และผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง และใช้แบบสอบถามกับสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดินสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งเริ่มต้นด้วยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 15 คน เพื่อนำผลไปวิเคราะห์เพื่อพัฒนาแบบสอบถามเชิงปริมาณ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากสื่อมวลชนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 360 คน แล้วดำเนินการวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูลทางสถิติ ผลการวิจัยพบความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับปัญหาจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในระดับค่อนข้างน้อย โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .393 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ± 16.16 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน พบว่าทุกด้านมีความสัมพันธ์กันในทางบวกอย่างมีนัยทางสถิติ โดยพบว่าองค์กรวิชาชีพมีความสัมพันธ์กับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .531 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ±.38 Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27883 SIU THE-T. การตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน = Ethical Decision Making of Media Profession in Digital Terrestrial Television Sector [printed text] / เฉิมชัย ก๊กเกียรติกุล, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - x, 301 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตัดสินใจ
[LCSH]นักสื่อสารมวลชน -- แง่ศีลธรรมจรรยาKeywords: การตัดสินใจ,
จริยธรรม,
วิชาชีพสื่อมวลชนAbstract: การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน ตลอดทั้งแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน วิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ สำหรับงานวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกสื่อมวลชนที่มีประสบการณ์ และผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง และใช้แบบสอบถามกับสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดินสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งเริ่มต้นด้วยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 15 คน เพื่อนำผลไปวิเคราะห์เพื่อพัฒนาแบบสอบถามเชิงปริมาณ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากสื่อมวลชนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 360 คน แล้วดำเนินการวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูลทางสถิติ ผลการวิจัยพบความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับปัญหาจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในระดับค่อนข้างน้อย โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .393 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ± 16.16 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน พบว่าทุกด้านมีความสัมพันธ์กันในทางบวกอย่างมีนัยทางสถิติ โดยพบว่าองค์กรวิชาชีพมีความสัมพันธ์กับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .531 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ±.38 Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27883 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598845 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598811 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความต้องการของประชาชนในการพัฒนาชุมชนของอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี / ศักดิ์เกษม แก้วสุข / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ความต้องการของประชาชนในการพัฒนาชุมชนของอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : People’s Demand in Community Development of Ban Nasarn District, Surat Thani Province Material Type: printed text Authors: ศักดิ์เกษม แก้วสุข, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 102 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-31
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาชุมชน
[LCSH]ชุมชน -- สุราษฎร์ธานี -- บ้านนาสารKeywords: ความต้องการ,
ประชาชน,
พัฒนาชุมชนAbstract: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระดับความต้องการของประชาชนในการพัฒนาชุมชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากประชาชนที่อาศัยอยู่ที่อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมานการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการของประชาชนในการพัฒนาชุมชนในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการเสริมสร้างสุขภาพอนามัย รองลงมาคือ การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยว ด้านการศึกษา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน และด้านเศรษฐกิจและการเกษตร ตามลำดับ ผลการเปรียบเทียบระดับความต้องการในการพัฒนาชุมชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ อายุ อาชีพ รายได้ การศึกษาที่แตกต่างกันมีระดับความต้องการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สำหรับข้อเสนอแนะ พบว่า ควรก่อสร้างถนนทางเข้าหมู่บ้านให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ ช่วยเหลือดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ เด็ก สตรีและคนพิการ จัดอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร รณรงค์ให้ความรู้และปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสนับสนุนงบประมาณด้านการศึกษาเพื่อจัดซื้ออุปกรณ์ทางการศึกษา เช่น คอมพิวเตอร์Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27203 SIU IS-T. ความต้องการของประชาชนในการพัฒนาชุมชนของอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี = People’s Demand in Community Development of Ban Nasarn District, Surat Thani Province [printed text] / ศักดิ์เกษม แก้วสุข, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 102 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-31
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาชุมชน
[LCSH]ชุมชน -- สุราษฎร์ธานี -- บ้านนาสารKeywords: ความต้องการ,
ประชาชน,
พัฒนาชุมชนAbstract: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระดับความต้องการของประชาชนในการพัฒนาชุมชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากประชาชนที่อาศัยอยู่ที่อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมานการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการของประชาชนในการพัฒนาชุมชนในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการเสริมสร้างสุขภาพอนามัย รองลงมาคือ การสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยว ด้านการศึกษา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน และด้านเศรษฐกิจและการเกษตร ตามลำดับ ผลการเปรียบเทียบระดับความต้องการในการพัฒนาชุมชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ อายุ อาชีพ รายได้ การศึกษาที่แตกต่างกันมีระดับความต้องการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สำหรับข้อเสนอแนะ พบว่า ควรก่อสร้างถนนทางเข้าหมู่บ้านให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ ช่วยเหลือดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ เด็ก สตรีและคนพิการ จัดอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร รณรงค์ให้ความรู้และปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสนับสนุนงบประมาณด้านการศึกษาเพื่อจัดซื้ออุปกรณ์ทางการศึกษา เช่น คอมพิวเตอร์Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27203 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594588 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-31 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594596 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-31 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ / ดำรง ตะนารัตน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ Original title : The Manager’s Role in leading the Organization to Success Case Study: Business Air Airlines Material Type: printed text Authors: ดำรง ตะนารัตน์, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 77 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-14
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้จัดการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- กรณีศึกษา
[LCSH]สายการบินKeywords: บทบาท, ผู้นำ, ภาวะผู้นำ, ผู้จัดการ, การตัดสินใจ, สายการบิน บิสสิเนสแอร์ Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ และเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้จัดการ จำนวน 10 คนซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานของสายการบินบิสสิเนสแอร์ เป็นผู้ให้ข้อมูลหลักโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า แนวทางการบริหารงานของสายการบินบิสสิเนสแอร์ มีการกำหนดเป้าหมายขององค์กรอย่างชัดเจน ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบ ด้านความรอบรู้ในงาน ผู้จัดการต้องมีความรู้ในฝ่ายอื่นๆทุกๆฝ่าย การตัดสินใจผิดพลาดไม่กล้าตัดสินใจ หรือตัดสินใจล่าช้าก็จะเกิดการสูญเสียค่าใช้จ่าย ด้านความสามารถทางการบริหาร ควรมีการสอนงาน แก้ปัญหาและให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามเพื่อบรรลุเป้าหมาย ด้านมนุษย์สัมพันธ์ช่วยเป็นตัวประสานงานให้งานคล่องตัวขึ้น ลดการขัดแย้ง ลดความไม่เข้าใจกันในการทำงาน บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ ต้องใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน
แนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ ควรเพิ่มทักษะการบริหารโดยการฝึกอบรมผู้จัดการ การบริหารจัดการบุคลากร และต้องมีเส้นทางความก้าวหน้าในสายวิชาชีพ
ปัญหาในการทำงาน ได้แก่ เป็นการบริหารงานแบบครอบครัว โดยเจ้าของเป็นผู้ตัดสินใจ ขาดสภาพคล่องทางการเงิน นักบินขาดแคลน เครื่องบินมีอายุเกิน 16ปี ขาดแคลนชิ้นส่วนอะไหล่ (spare part) ในการซ่อมบำรุง ฝ่ายการตลาดและการเงินยังขาดประสบการณ์การด้านการจัดการในการวางแผน กระแสเงินสดหมุนเวียน(Cash Flow) มาจาก(กำไร)Margin ต่ำและขาดผู้มีความสามารถ หรือผู้ชำนาญการทำการควบคุมต้นทุน(cost control)
อุปสรรค ได้แก่ การเปลี่ยนกฎข้อบังคับของกรมการบินพลเรือนทำให้การดำเนินธุรกิจลำบากขึ้น การถูกปรับลดความน่าเชื่อถือด้านความปลอดภัย การเสียโอกาสในการดำเนินธุรกิจ มีผู้บริหารในแต่ละหน่วยเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรเพิ่มขึ้น และภัยพิบัติทางธรรมชาติ การบริหารการเงินของผู้บริหารผิดพลาด การบริหารบุคคลล้มเหลวCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26890 SIU IS-T. บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ = The Manager’s Role in leading the Organization to Success Case Study: Business Air Airlines [printed text] / ดำรง ตะนารัตน์, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 77 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-14
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้จัดการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- กรณีศึกษา
[LCSH]สายการบินKeywords: บทบาท, ผู้นำ, ภาวะผู้นำ, ผู้จัดการ, การตัดสินใจ, สายการบิน บิสสิเนสแอร์ Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ และเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้จัดการ จำนวน 10 คนซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานของสายการบินบิสสิเนสแอร์ เป็นผู้ให้ข้อมูลหลักโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า แนวทางการบริหารงานของสายการบินบิสสิเนสแอร์ มีการกำหนดเป้าหมายขององค์กรอย่างชัดเจน ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบ ด้านความรอบรู้ในงาน ผู้จัดการต้องมีความรู้ในฝ่ายอื่นๆทุกๆฝ่าย การตัดสินใจผิดพลาดไม่กล้าตัดสินใจ หรือตัดสินใจล่าช้าก็จะเกิดการสูญเสียค่าใช้จ่าย ด้านความสามารถทางการบริหาร ควรมีการสอนงาน แก้ปัญหาและให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามเพื่อบรรลุเป้าหมาย ด้านมนุษย์สัมพันธ์ช่วยเป็นตัวประสานงานให้งานคล่องตัวขึ้น ลดการขัดแย้ง ลดความไม่เข้าใจกันในการทำงาน บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ ต้องใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน
แนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ ควรเพิ่มทักษะการบริหารโดยการฝึกอบรมผู้จัดการ การบริหารจัดการบุคลากร และต้องมีเส้นทางความก้าวหน้าในสายวิชาชีพ
ปัญหาในการทำงาน ได้แก่ เป็นการบริหารงานแบบครอบครัว โดยเจ้าของเป็นผู้ตัดสินใจ ขาดสภาพคล่องทางการเงิน นักบินขาดแคลน เครื่องบินมีอายุเกิน 16ปี ขาดแคลนชิ้นส่วนอะไหล่ (spare part) ในการซ่อมบำรุง ฝ่ายการตลาดและการเงินยังขาดประสบการณ์การด้านการจัดการในการวางแผน กระแสเงินสดหมุนเวียน(Cash Flow) มาจาก(กำไร)Margin ต่ำและขาดผู้มีความสามารถ หรือผู้ชำนาญการทำการควบคุมต้นทุน(cost control)
อุปสรรค ได้แก่ การเปลี่ยนกฎข้อบังคับของกรมการบินพลเรือนทำให้การดำเนินธุรกิจลำบากขึ้น การถูกปรับลดความน่าเชื่อถือด้านความปลอดภัย การเสียโอกาสในการดำเนินธุรกิจ มีผู้บริหารในแต่ละหน่วยเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรเพิ่มขึ้น และภัยพิบัติทางธรรมชาติ การบริหารการเงินของผู้บริหารผิดพลาด การบริหารบุคคลล้มเหลวCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26890 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593655 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-14 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593663 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-14 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีต่อการตัดสินใจใช้บริการสินเชื่อของลูกค้าธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) สาขาถนนศรีวิชัย จังหวัดสุราษฎร์ธานี / เอกพจน์ แสนภักดี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีต่อการตัดสินใจใช้บริการสินเชื่อของลูกค้าธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) สาขาถนนศรีวิชัย จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Factors Affecting the Customers’ Decision-Making in Using Credit Services at Krung Thai Bank Public Company Limited, Srivichai Road Branch, Suratthani Material Type: printed text Authors: เอกพจน์ แสนภักดี, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 84 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-29
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตัดสินใจ
[LCSH]ธนาคารกรุงไทย
[LCSH]สินเชื่อKeywords: การตัดสินใจ,
บริการ,
สินเชื่อ,
ธนาคารAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีต่อการตัดสินใจใช้บริการสินเชื่อของลูกค้าธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)สาขาถนนศรีวิชัย จังหวัดสุราษฎร์ธานี เก็บรวบรวมข้อมูลจาก ลูกค้าธนาคารจำกัด (มหาชน)สาขาถนนศรีวิชัย จังหวัดสุราษฎร์ ปีการศึกษา 2558 จำนวน 182 คน โดยใช้แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบ ได้แก่ สถิติทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า ลูกค้าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 31-40 ปี มีอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ มีสถานภาพสมรส มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000-20,000 บาท ปัจจัยการใช้บริการสินเชื่อ ลูกค้าส่วนใหญ่ใช้บริการสินเชื่อกรุงไทยธนวัฏวงเงินอนุมัติไม่เกิน 100,000 บาท ระยะเวลาการกู้ยืมไม่เกิน 5 ปี และใช้บุคคลค้ำประกันลูกค้ามีระดับการตัดสินใจใช้บริการสินเชื่อ ตามด้วยการให้ความสำคัญในระดับมากที่สุดด้านเงื่อนไขการขอสินเชื่อ ด้านพนักงานผู้ให้บริการ และลูกค้ามีระดับการตัดสินใจใช้บริการสินเชื่อ โดยให้ความสำคัญในระดับมาก ในด้านอัตราดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม ด้านการส่งเสริมสินเชื่อ และด้านกระบวนการ ขอสินเชื่อ ปัจจัยส่วนบุคคลของลูกค้าที่มีเพศ อายุ อาชีพ สถานภาพสมรสและระดับการศึกษาแตกต่างกัน มีระดับการตัดสินใจใช้บริการสินเชื่อโดยรวมไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26995 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีต่อการตัดสินใจใช้บริการสินเชื่อของลูกค้าธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) สาขาถนนศรีวิชัย จังหวัดสุราษฎร์ธานี = Factors Affecting the Customers’ Decision-Making in Using Credit Services at Krung Thai Bank Public Company Limited, Srivichai Road Branch, Suratthani [printed text] / เอกพจน์ แสนภักดี, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 84 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-29
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตัดสินใจ
[LCSH]ธนาคารกรุงไทย
[LCSH]สินเชื่อKeywords: การตัดสินใจ,
บริการ,
สินเชื่อ,
ธนาคารAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีต่อการตัดสินใจใช้บริการสินเชื่อของลูกค้าธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)สาขาถนนศรีวิชัย จังหวัดสุราษฎร์ธานี เก็บรวบรวมข้อมูลจาก ลูกค้าธนาคารจำกัด (มหาชน)สาขาถนนศรีวิชัย จังหวัดสุราษฎร์ ปีการศึกษา 2558 จำนวน 182 คน โดยใช้แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบ ได้แก่ สถิติทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า ลูกค้าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 31-40 ปี มีอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ มีสถานภาพสมรส มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000-20,000 บาท ปัจจัยการใช้บริการสินเชื่อ ลูกค้าส่วนใหญ่ใช้บริการสินเชื่อกรุงไทยธนวัฏวงเงินอนุมัติไม่เกิน 100,000 บาท ระยะเวลาการกู้ยืมไม่เกิน 5 ปี และใช้บุคคลค้ำประกันลูกค้ามีระดับการตัดสินใจใช้บริการสินเชื่อ ตามด้วยการให้ความสำคัญในระดับมากที่สุดด้านเงื่อนไขการขอสินเชื่อ ด้านพนักงานผู้ให้บริการ และลูกค้ามีระดับการตัดสินใจใช้บริการสินเชื่อ โดยให้ความสำคัญในระดับมาก ในด้านอัตราดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม ด้านการส่งเสริมสินเชื่อ และด้านกระบวนการ ขอสินเชื่อ ปัจจัยส่วนบุคคลของลูกค้าที่มีเพศ อายุ อาชีพ สถานภาพสมรสและระดับการศึกษาแตกต่างกัน มีระดับการตัดสินใจใช้บริการสินเชื่อโดยรวมไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26995 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594299 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-29 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594281 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-29 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการทำธุรกิจประเภทรักษาความปลอดภัยในจังหวัดสมุทรสาคร / พลจักร พิพัฒนสุคนธ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการทำธุรกิจประเภทรักษาความปลอดภัยในจังหวัดสมุทรสาคร Original title : Factors Affecting Security Business in Samut Sakhon Province Material Type: printed text Authors: พลจักร พิพัฒนสุคนธ์, Author ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 70 น. Layout: ill, tables Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2014-07
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริการ -- ความพอใจ
[LCSH]ผู้บริโภค -- พฤติกรรมKeywords: ธุรกิจงานรักษาความปลอดภัย
ความเป็นไปได้ด้านการตลาด
การตัดสินใจ
ความพึงพอใจAbstract: การวิจัยเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการทำธุรกิจประเภทรักษาความปลอดภัย ในจังหวัดสมุทรสาคร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ด้านการตลาดในการลงทุนทำธุรกิจรักษาความปลอดภัย เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยในการลงทุนทำธุรกิจรักษาความปลอดภัย เพื่อศึกษาวิเคราะห์พฤติกรรมในการเลือกใช้บริการงานรักษาความปลอดภัย และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรักษาความปลอดภัย ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้วิธีการสำรวจ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือผู้ประกอบการหรือองค์การผู้ใช้ระบบรักษาความปลอดภัยและกลุ่มผู้ใช้บริการงานรักษาความปลอดภัย ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26204 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการทำธุรกิจประเภทรักษาความปลอดภัยในจังหวัดสมุทรสาคร = Factors Affecting Security Business in Samut Sakhon Province [printed text] / พลจักร พิพัฒนสุคนธ์, Author ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 70 น. : ill, tables ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2014-07
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริการ -- ความพอใจ
[LCSH]ผู้บริโภค -- พฤติกรรมKeywords: ธุรกิจงานรักษาความปลอดภัย
ความเป็นไปได้ด้านการตลาด
การตัดสินใจ
ความพึงพอใจAbstract: การวิจัยเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการทำธุรกิจประเภทรักษาความปลอดภัย ในจังหวัดสมุทรสาคร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ด้านการตลาดในการลงทุนทำธุรกิจรักษาความปลอดภัย เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยในการลงทุนทำธุรกิจรักษาความปลอดภัย เพื่อศึกษาวิเคราะห์พฤติกรรมในการเลือกใช้บริการงานรักษาความปลอดภัย และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรักษาความปลอดภัย ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้วิธีการสำรวจ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือผู้ประกอบการหรือองค์การผู้ใช้ระบบรักษาความปลอดภัยและกลุ่มผู้ใช้บริการงานรักษาความปลอดภัย ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26204 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000580629 SIU IS-T: SOM-MBA-2014-07 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความก้าวหน้าในอาชีพข้าราชการตำรวจระดับประทวน ในสังกัดกองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ / อรรถพร แป้นเพชร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อความก้าวหน้าในอาชีพข้าราชการตำรวจระดับประทวน ในสังกัดกองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ Original title : Factors Affecting Career Advancement of Non – Commissioned Police Officers in the Patrol Sub-Division, Patrol and Special Operation Division Material Type: printed text Authors: อรรถพร แป้นเพชร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 56 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-12
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ
[LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ความต้องการความก้าวหน้าในอาชีพ
ข้าราชการตำรวจระดับประทวน
กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลให้มีความก้าวหน้าในอาชีพในทัศนของตำรวจระดับประทวน จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นข้าราชการตำรวจในสังกัดกองกำกับการสายตรวจ และปฏิบัติการพิเศษ Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26087 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความก้าวหน้าในอาชีพข้าราชการตำรวจระดับประทวน ในสังกัดกองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ = Factors Affecting Career Advancement of Non – Commissioned Police Officers in the Patrol Sub-Division, Patrol and Special Operation Division [printed text] / อรรถพร แป้นเพชร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 56 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-12
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ
[LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ความต้องการความก้าวหน้าในอาชีพ
ข้าราชการตำรวจระดับประทวน
กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลให้มีความก้าวหน้าในอาชีพในทัศนของตำรวจระดับประทวน จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นข้าราชการตำรวจในสังกัดกองกำกับการสายตรวจ และปฏิบัติการพิเศษ Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26087 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000506954 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-12 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000506855 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-12 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000506970 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-12 c.3 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000506988 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-12 c.4 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ / นงนภัส จุลเปมะ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ Original title : Factors Influencing Thai Tourist Decision Making on Choosing Five-Star Hotel in Amphoe Muang, Chiang Mai Material Type: printed text Authors: นงนภัส จุลเปมะ, Author ; มณฑิรา ชุนลิ้ม, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: viii, 77 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2019-04
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2019.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้บริโภค -- การตัดสินใจ
[LCSH]ส่วนประสมการตลาด
[LCSH]โรงแรมKeywords: ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด,
คุณภาพการให้บริการ,
การตัดสินใจเลือกใช้บริการ,
โรงแรมระดับห้าดาวAbstract: ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางด้านประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาว อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาว อำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ และ 3) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยคุณภาพบริการที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาว อำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ใช้วิธีการศึกษาเชิงสำรวจ รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ซึ่งกลุ่มตัวอย่างคือนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มาพักค้างในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 400 คน โดยใช้สถิติวิเคราะห์ผลเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติวิเคราะห์ผลเชิงอนุมาน ทดสอบความแตกต่างโดยใช้สถิติแบบ t–test, F–test และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ วิธีการทดสอบ Least Significant Difference (LSD) test และทดสอบความสัมพันธ์ใช้สถิติทดสอบแบบ Chi-Square test
ผลวิจัยพบว่าลักษณะประชากรศาสตร์ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชายและมีอายุ 31 – 40 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มากกว่า 60,000 บาท 1) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการให้ความสำคัญในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านการสร้างและนำเสนอลักษณะทางกายภาพ ด้านบุคลากร ด้านราคา ด้านกระบวนการ ด้านสถานที่หรือช่องทางจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาดตามลำดับ และด้านผลิตภัณฑ์ให้ความสำคัญในระดับมาก 2) ด้านปัจจัยคุณภาพการให้บริการให้ความสำคัญระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านการตอบสนองต่อลูกค้า ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อลูกค้า ด้านการรู้จักและเอาใจลูกค้า และด้านความเป็นรูปธรรมของบริการ ตามลำดับ 3) การตัดสินใจใช้บริการในระดับมากที่สุด คือ ด้านความพึงพอใจต่อการให้บริการของโรงแรม ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า 1)ปัจจัยลักษณะประชากรศาสตร์ด้านระดับการศึกษามีผลต่อการเลือกใช้บริการโรงแรมแตกต่างกัน โดยกลุ่มนักท่องเที่ยวระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีเลือกใช้บริการโรงแรมต่ำกว่า กลุ่มระดับการศึกษาปริญญาตรีและสูงกว่าปริญญาตรี 2) ผลทดสอบความสัมพันธ์ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการโรงแรมมีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้บริการโรงแรม โดยด้านบุคลากร มีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมา คือ ด้านกระบวนการ ด้านการสร้างและนำเสนอลักษณะทางกายภาพ ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านสถานที่หรือช่องทางจัดจำหน่าย ด้านราคา และด้านผลิตภัณฑ์ ตามลำดับ 3) ปัจจัยคุณภาพการให้บริการมีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้บริการโรงแรมของนักท่องเที่ยวชาวไทยในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้านการรู้จักและเอาใจลูกค้า มีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมาคือด้านการตอบสนองต่อลูกค้า ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อลูกค้า และด้านความเป็นรูปธรรมของบริการ ตามลำดับCurricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27993 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ = Factors Influencing Thai Tourist Decision Making on Choosing Five-Star Hotel in Amphoe Muang, Chiang Mai [printed text] / นงนภัส จุลเปมะ, Author ; มณฑิรา ชุนลิ้ม, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - viii, 77 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU IS-T: SOM-MBA-2019-04
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2019.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้บริโภค -- การตัดสินใจ
[LCSH]ส่วนประสมการตลาด
[LCSH]โรงแรมKeywords: ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด,
คุณภาพการให้บริการ,
การตัดสินใจเลือกใช้บริการ,
โรงแรมระดับห้าดาวAbstract: ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางด้านประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาว อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาว อำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ และ 3) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยคุณภาพบริการที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาว อำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ใช้วิธีการศึกษาเชิงสำรวจ รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ซึ่งกลุ่มตัวอย่างคือนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มาพักค้างในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 400 คน โดยใช้สถิติวิเคราะห์ผลเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติวิเคราะห์ผลเชิงอนุมาน ทดสอบความแตกต่างโดยใช้สถิติแบบ t–test, F–test และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ วิธีการทดสอบ Least Significant Difference (LSD) test และทดสอบความสัมพันธ์ใช้สถิติทดสอบแบบ Chi-Square test
ผลวิจัยพบว่าลักษณะประชากรศาสตร์ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชายและมีอายุ 31 – 40 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มากกว่า 60,000 บาท 1) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการให้ความสำคัญในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านการสร้างและนำเสนอลักษณะทางกายภาพ ด้านบุคลากร ด้านราคา ด้านกระบวนการ ด้านสถานที่หรือช่องทางจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาดตามลำดับ และด้านผลิตภัณฑ์ให้ความสำคัญในระดับมาก 2) ด้านปัจจัยคุณภาพการให้บริการให้ความสำคัญระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านการตอบสนองต่อลูกค้า ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อลูกค้า ด้านการรู้จักและเอาใจลูกค้า และด้านความเป็นรูปธรรมของบริการ ตามลำดับ 3) การตัดสินใจใช้บริการในระดับมากที่สุด คือ ด้านความพึงพอใจต่อการให้บริการของโรงแรม ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า 1)ปัจจัยลักษณะประชากรศาสตร์ด้านระดับการศึกษามีผลต่อการเลือกใช้บริการโรงแรมแตกต่างกัน โดยกลุ่มนักท่องเที่ยวระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีเลือกใช้บริการโรงแรมต่ำกว่า กลุ่มระดับการศึกษาปริญญาตรีและสูงกว่าปริญญาตรี 2) ผลทดสอบความสัมพันธ์ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการโรงแรมมีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้บริการโรงแรม โดยด้านบุคลากร มีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมา คือ ด้านกระบวนการ ด้านการสร้างและนำเสนอลักษณะทางกายภาพ ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านสถานที่หรือช่องทางจัดจำหน่าย ด้านราคา และด้านผลิตภัณฑ์ ตามลำดับ 3) ปัจจัยคุณภาพการให้บริการมีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้บริการโรงแรมของนักท่องเที่ยวชาวไทยในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้านการรู้จักและเอาใจลูกค้า มีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมาคือด้านการตอบสนองต่อลูกค้า ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อลูกค้า และด้านความเป็นรูปธรรมของบริการ ตามลำดับCurricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27993 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607456 SIU IS-T: SOM-MBA-2019-04 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607455 SIU IS-T: SOM-MBA-2019-04 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทอง มวยไทยยิม / ปริชาติ มูลสวัสดิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทอง มวยไทยยิม Original title : Influencing Factors affecting Customer Decision Toward Jaroenthong Muay Thai Gym Material Type: printed text Authors: ปริชาติ มูลสวัสดิ์, Author ; มณฑิรา ชุนลิ้ม, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: ix, 75 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2019-02
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2019.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภค
[LCSH]มวยไทย
[LCSH]สถานกายบริหาร
[LCSH]ส่วนประสมการตลาดKeywords: ส่วนประสมทางการตลาด, พฤติกรรมผู้บริโภค, การตัดสินใจ, สถานออกกำลังกายมวยไทยยิม Abstract: การศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิม มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยทางด้านลักษณะทางประชากรศาสตร์ ที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิม 2) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิม และ 3) เพื่อศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิม ระเบียบวิธีวิจัยเป็นงานวิจัยเชิงปริมาณใช้วิธีการศึกษาเชิงสำรวจรวบรวมข้อมูลที่ได้รับจากแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิม จำนวน 200 ตัวอย่าง ทดสอบความน่าเชื่อถือของเครื่องมือ ตามแนวคิดของครอนบัค (Cronbach Alpha Formula) จำนวน 30 ตัวอย่าง ได้ผลทดสอบความน่าเชื่อถือเครื่องมือที่ 0.95 และผลทดสอบค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างเนื้อหา (IOC) มีเท่ากับ 0.972 สถิติในการวิเคราะห์ผลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณทดสอบความแตกต่างโดยใช้สถิติแบบ T – test , F – Test และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่วิธีการทดสอบ Least Significant Difference test และทดสอบความสัมพันธ์ใช้สถิติทดสอบแบบ Pearson's Correlation Coefficient ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ประมวลผลข้อมูลจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ
ผลวิจัยข้อมูลลักษณะส่วนบุคคล เป็นเพศหญิงมากกว่า เพศชาย ส่วนใหญ่ อายุ 36 – 40 ปี รองลงมา อายุ 20 – 25 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี รองลงมา สูงกว่าปริญญาตรี มีสถานภาพโสด รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่ำกว่า 25,000 บาท รองลงมา 25,000 - 35,000 บาท มีความถี่ในการใช้บริการสถานออกกำลังกาย จำนวน 3-4 ครั้งต่อสัปดาห์ มากสุด รองลงมา จำนวน 1-2 ครั้งต่อสัปดาห์ วันที่ใช้บริการเป็นวันหยุดจากการทำงานมากกว่าวันทำงาน โดยมีช่วงเวลาที่ใช้บริการ เวลา 16.01 - 20.00 น. รองลงมา เวลา 09.00 - 12.00 น. โดยส่วนใหญ่ไม่มีครูฝึกสอนส่วนตัว (Personal Trainer) มากกว่ามีครูฝึกสอนส่วนตัว ปัจจัยส่วนประสมการตลาดสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิมมีความสำคัญในระดับมากที่สุด โดยสูงสุดด้านบุคคล รองลงมา ด้านการนำเสนอลักษณะทางกายภาพ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านกระบวนการ ด้านราคา และให้ความสำคัญในระดับมาก ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับ
จากผลวิจัยปัจจัยพฤติกรรมผู้บริโภคในการใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิม มีความสำคัญในระดับมาก โดยสูงสุดในด้านสังคม รองลงมา ด้านจิตวิทยา และด้านกลุ่มอ้างอิง ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ด้านอายุมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิม แตกต่างกัน และปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิมมีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิม โดยด้านบุคคล มีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมา ด้านกระบวนการ ด้านการนำเสนอลักษณะทางกายภาพ ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และด้านผลิตภัณฑ์ ตามลำดับ และปัจจัยพฤติกรรมผู้บริโภคในการใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิมมีความสัมพันธ์เชิงบวกในต่อการตัดสินใจใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิม โดย ด้านสังคมมีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมา ด้านจิตวิทยา และด้านกลุ่มอ้างอิง ตามลำดับ
Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27991 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทอง มวยไทยยิม = Influencing Factors affecting Customer Decision Toward Jaroenthong Muay Thai Gym [printed text] / ปริชาติ มูลสวัสดิ์, Author ; มณฑิรา ชุนลิ้ม, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - ix, 75 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU IS-T: SOM-MBA-2019-02
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2019.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภค
[LCSH]มวยไทย
[LCSH]สถานกายบริหาร
[LCSH]ส่วนประสมการตลาดKeywords: ส่วนประสมทางการตลาด, พฤติกรรมผู้บริโภค, การตัดสินใจ, สถานออกกำลังกายมวยไทยยิม Abstract: การศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิม มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยทางด้านลักษณะทางประชากรศาสตร์ ที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิม 2) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิม และ 3) เพื่อศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิม ระเบียบวิธีวิจัยเป็นงานวิจัยเชิงปริมาณใช้วิธีการศึกษาเชิงสำรวจรวบรวมข้อมูลที่ได้รับจากแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิม จำนวน 200 ตัวอย่าง ทดสอบความน่าเชื่อถือของเครื่องมือ ตามแนวคิดของครอนบัค (Cronbach Alpha Formula) จำนวน 30 ตัวอย่าง ได้ผลทดสอบความน่าเชื่อถือเครื่องมือที่ 0.95 และผลทดสอบค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างเนื้อหา (IOC) มีเท่ากับ 0.972 สถิติในการวิเคราะห์ผลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณทดสอบความแตกต่างโดยใช้สถิติแบบ T – test , F – Test และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่วิธีการทดสอบ Least Significant Difference test และทดสอบความสัมพันธ์ใช้สถิติทดสอบแบบ Pearson's Correlation Coefficient ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ประมวลผลข้อมูลจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ
ผลวิจัยข้อมูลลักษณะส่วนบุคคล เป็นเพศหญิงมากกว่า เพศชาย ส่วนใหญ่ อายุ 36 – 40 ปี รองลงมา อายุ 20 – 25 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี รองลงมา สูงกว่าปริญญาตรี มีสถานภาพโสด รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่ำกว่า 25,000 บาท รองลงมา 25,000 - 35,000 บาท มีความถี่ในการใช้บริการสถานออกกำลังกาย จำนวน 3-4 ครั้งต่อสัปดาห์ มากสุด รองลงมา จำนวน 1-2 ครั้งต่อสัปดาห์ วันที่ใช้บริการเป็นวันหยุดจากการทำงานมากกว่าวันทำงาน โดยมีช่วงเวลาที่ใช้บริการ เวลา 16.01 - 20.00 น. รองลงมา เวลา 09.00 - 12.00 น. โดยส่วนใหญ่ไม่มีครูฝึกสอนส่วนตัว (Personal Trainer) มากกว่ามีครูฝึกสอนส่วนตัว ปัจจัยส่วนประสมการตลาดสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิมมีความสำคัญในระดับมากที่สุด โดยสูงสุดด้านบุคคล รองลงมา ด้านการนำเสนอลักษณะทางกายภาพ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านกระบวนการ ด้านราคา และให้ความสำคัญในระดับมาก ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับ
จากผลวิจัยปัจจัยพฤติกรรมผู้บริโภคในการใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิม มีความสำคัญในระดับมาก โดยสูงสุดในด้านสังคม รองลงมา ด้านจิตวิทยา และด้านกลุ่มอ้างอิง ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ด้านอายุมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิม แตกต่างกัน และปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิมมีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิม โดยด้านบุคคล มีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมา ด้านกระบวนการ ด้านการนำเสนอลักษณะทางกายภาพ ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และด้านผลิตภัณฑ์ ตามลำดับ และปัจจัยพฤติกรรมผู้บริโภคในการใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิมมีความสัมพันธ์เชิงบวกในต่อการตัดสินใจใช้บริการสถานออกกำลังกายเจริญทองมวยไทยยิม โดย ด้านสังคมมีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมา ด้านจิตวิทยา และด้านกลุ่มอ้างอิง ตามลำดับ
Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27991 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607451 SIU IS-T: SOM-MBA-2019-02 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607452 SIU IS-T: SOM-MBA-2019-02 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บัตรเดบิตของพนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) / สาธิดา แก้วขาว / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บัตรเดบิตของพนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) Original title : Influencing Factors affecting decision making on Debit Card of Thai Airways International Employee Material Type: printed text Authors: สาธิดา แก้วขาว, Author ; พิมพ์พิศา สังข์สุวรรณ, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: x, 82 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2019-01
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2019.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตัดสินใจ
[LCSH]บัตรเดบิต
[LCSH]ส่วนประสมการตลาดKeywords: ส่วนประสมการตลาด 7P, การตัดสินใจ, บัตรเดบิต Abstract: การศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บัตรเดบิตของพนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บัตรเดบิตของพนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) และเพื่อศึกษาพฤติกรรมการตัดสินใจใช้บัตรเดบิตของพนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) ระเบียบวิธีวิจัยเป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ใช้วิธีการศึกษาเชิงสำรวจ รวบรวมข้อมูลที่ได้รับจากแบบสอบถามใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) จำนวน 400 ตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ผลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ทดสอบความแตกต่างโดยใช้สถิติแบบ t – test, F – Test,One-Way ANOVA และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ วิธีการทดสอบ Least Significant Difference (LSD) test และทดสอบความสัมพันธ์ของสองตัวแปรโดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่าลักษณะส่วนบุคคลเป็นเพศหญิง มากกว่า เพศชาย ส่วนใหญ่มี อายุ 31 – 40 ปี รองลงมา อายุ 41 – 50 ปี มีสถานภาพโสด มีระดับการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า รองลงมา ปริญญาโท รายได้เฉลี่ยต่อเดือน มากกว่า 50,000 บาท โดยกลุ่มพนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) ให้ความสำคัญต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดบัตรเดบิตในระดับมาก โดยสูงสุดในด้านกระบวนการในการทำงาน รองลงมา ด้านพนักงาน ด้านสถานที่ ด้านกระบวนการทางกายภาพ และให้ความสำคัญในระดับมาก ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับ และให้ความสำคัญต่อขั้นตอนการตัดสินใจใช้บัตรเดบิตในระดับมากที่สุด สูงสุดด้านการใช้บริการบัตรเดบิต รองลงมา ด้านปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บัตรเดบิต ด้านขั้นตอนการตัดสินใจ และด้านเหตุผลการเลือกถือครองบัตรเดบิต ตามลำดับ และพนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) มีการตัดสินใจใช้บัตรเดบิตระดับมากโดยสูงสุดสถาบันการเงินได้มาตรฐานสากลของผลิตภัณฑ์และบริการและนำมาใช้ในกรณีฉุกเฉินได้ทันทีแม้ไม่มีเงินสดตามสถานที่ที่มีบริการรับบัตรเดบิต
ผลการทดสอบสมมติฐานงานวิจัยพบว่าปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ด้านการศึกษามีผลต่อการตัดสินใจใช้บัตรเดบิต แตกต่างกัน โดยกลุ่มพนักงานระดับการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจะมีการตัดสินใจใช้บัตรเดบิต ต่ำกว่า กลุ่มระดับการศึกษาปริญญาเอกและกลุ่มพนักงานระดับการศึกษาปริญญาโทจะมีการตัดสินใจใช้บัตรเดบิตต่ำกว่ากลุ่มระดับการศึกษา ปริญญาเอก ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบัตรเดบิต มีผลต่อการตัดสินใจใช้บัตรเดบิต โดยผลด้านพนักงานมีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมา ด้านกระบวนการในการทำงาน ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านสถานที่ ด้านกระบวนการทางกายภาพ ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านราคา ตามลำดับ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในขั้นตอนการตัดสินใจมีผลต่อการตัดสินใจใช้บัตรเดบิตของพนักงานการบินไทย โดยด้านเหตุผลการเลือกถือครองบัตรเดบิตมีอิทธิพลสูงสุด รองลงมา ด้านขั้นตอนการตัดสินใจ ด้านปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บัตรเดบิต และด้านการใช้บริการบัตรเดบิต ตามลำดับCurricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27990 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บัตรเดบิตของพนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) = Influencing Factors affecting decision making on Debit Card of Thai Airways International Employee [printed text] / สาธิดา แก้วขาว, Author ; พิมพ์พิศา สังข์สุวรรณ, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - x, 82 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU IS-T: SOM-MBA-2019-01
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2019.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตัดสินใจ
[LCSH]บัตรเดบิต
[LCSH]ส่วนประสมการตลาดKeywords: ส่วนประสมการตลาด 7P, การตัดสินใจ, บัตรเดบิต Abstract: การศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บัตรเดบิตของพนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บัตรเดบิตของพนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) และเพื่อศึกษาพฤติกรรมการตัดสินใจใช้บัตรเดบิตของพนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) ระเบียบวิธีวิจัยเป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ใช้วิธีการศึกษาเชิงสำรวจ รวบรวมข้อมูลที่ได้รับจากแบบสอบถามใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) จำนวน 400 ตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ผลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ทดสอบความแตกต่างโดยใช้สถิติแบบ t – test, F – Test,One-Way ANOVA และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ วิธีการทดสอบ Least Significant Difference (LSD) test และทดสอบความสัมพันธ์ของสองตัวแปรโดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่าลักษณะส่วนบุคคลเป็นเพศหญิง มากกว่า เพศชาย ส่วนใหญ่มี อายุ 31 – 40 ปี รองลงมา อายุ 41 – 50 ปี มีสถานภาพโสด มีระดับการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า รองลงมา ปริญญาโท รายได้เฉลี่ยต่อเดือน มากกว่า 50,000 บาท โดยกลุ่มพนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) ให้ความสำคัญต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดบัตรเดบิตในระดับมาก โดยสูงสุดในด้านกระบวนการในการทำงาน รองลงมา ด้านพนักงาน ด้านสถานที่ ด้านกระบวนการทางกายภาพ และให้ความสำคัญในระดับมาก ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับ และให้ความสำคัญต่อขั้นตอนการตัดสินใจใช้บัตรเดบิตในระดับมากที่สุด สูงสุดด้านการใช้บริการบัตรเดบิต รองลงมา ด้านปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บัตรเดบิต ด้านขั้นตอนการตัดสินใจ และด้านเหตุผลการเลือกถือครองบัตรเดบิต ตามลำดับ และพนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) มีการตัดสินใจใช้บัตรเดบิตระดับมากโดยสูงสุดสถาบันการเงินได้มาตรฐานสากลของผลิตภัณฑ์และบริการและนำมาใช้ในกรณีฉุกเฉินได้ทันทีแม้ไม่มีเงินสดตามสถานที่ที่มีบริการรับบัตรเดบิต
ผลการทดสอบสมมติฐานงานวิจัยพบว่าปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ด้านการศึกษามีผลต่อการตัดสินใจใช้บัตรเดบิต แตกต่างกัน โดยกลุ่มพนักงานระดับการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจะมีการตัดสินใจใช้บัตรเดบิต ต่ำกว่า กลุ่มระดับการศึกษาปริญญาเอกและกลุ่มพนักงานระดับการศึกษาปริญญาโทจะมีการตัดสินใจใช้บัตรเดบิตต่ำกว่ากลุ่มระดับการศึกษา ปริญญาเอก ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบัตรเดบิต มีผลต่อการตัดสินใจใช้บัตรเดบิต โดยผลด้านพนักงานมีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมา ด้านกระบวนการในการทำงาน ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านสถานที่ ด้านกระบวนการทางกายภาพ ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านราคา ตามลำดับ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในขั้นตอนการตัดสินใจมีผลต่อการตัดสินใจใช้บัตรเดบิตของพนักงานการบินไทย โดยด้านเหตุผลการเลือกถือครองบัตรเดบิตมีอิทธิพลสูงสุด รองลงมา ด้านขั้นตอนการตัดสินใจ ด้านปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บัตรเดบิต และด้านการใช้บริการบัตรเดบิต ตามลำดับCurricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27990 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607449 SIU IS-T: SOM-MBA-2019-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607468 SIU IS-T: SOM-MBA-2019-01 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. อิทธิพลของบรรจุภัณฑ์มีผลต่อการซื้อเครื่องสำอางของพนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบินสายการบินไทย / สรัญธร พัธนพันธุ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU IS-T Title : อิทธิพลของบรรจุภัณฑ์มีผลต่อการซื้อเครื่องสำอางของพนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบินสายการบินไทย Original title : Influencing Package towards Purchasing Cosmetics of Thai Airways Air Hostess Material Type: printed text Authors: สรัญธร พัธนพันธุ์, Author ; มณฑิรา ชุนลิ้ม, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: x, 74 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2019-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2019.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้บริโภค -- การตัดสินใจ
[LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภค
[LCSH]เครื่องสำอาง -- บรรจุภัณฑ์Keywords: พฤติกรรมผู้บริโภค,
การตัดสินใจซื้อ,
ภาพลักษณ์ตราสินค้า,
บรรจุภัณฑ์เครื่องสำอางAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของบรรจุภัณฑ์มีผลต่อการซื้อเครื่องสำอางของพนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบินสายการบินไทย ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ พนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบินสายการบินไทย ใช้สูตรการคำนวณของ W.G.Cochran ได้จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามที่ทางผู้วิจัยได้สร้างขึ้นประกอบด้วย 4 ส่วน คือ 1) ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 2) ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยด้านพฤติกรรมผู้บริโภคต่อการตัดสินใจและระดับการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอาง 3) ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยภาพลักษณ์ตราสินค้าต่อการตัดสินใจและระดับการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอาง 4) ข้อมูลเกี่ยวกับอิทธิพลของบรรจุภัณฑ์ในการซื้อเครื่องสำอางต่อการตัดสินใจและระดับการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอาง 5) ข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถาม
ผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มี อายุ 36 – 40 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 50,000 - 60,000 บาท และค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่องสำอางแต่ละครั้งโดยเฉลี่ย 1,000 - 5,000 บาท ในด้านปัจจัยพฤติกรรมผู้บริโภคด้านส่วนประสมการตลาดให้ความสำคัญในระดับมากที่สุดในด้านราคา รองลงมาเป็นด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านช่องทางในการจัดจำหน่าย ตามลำดับ ปัจจัยพฤติกรรมผู้บริโภคในด้านการตอบสนองของผู้ซื้อและลักษณะของผู้ซื้อ (ปัจจัยด้านจิตวิทยา) ให้ความสำคัญในระดับมากที่สุดโดยสูงสุดในด้านการตอบสนองของผู้ซื้อ รองลงมาลักษณะของผู้ซื้อ (ปัจจัยด้านจิตวิทยา) ในด้านกระบวนการตัดสินใจมีการตัดสินใจในระดับมากที่สุดในด้านการตัดสินใจซื้อ รองลงมาด้านพฤติกรรมภายหลังการซื้อ ด้านการประเมินทางเลือก ด้านการรับรู้ปัญหา และด้านการค้นหาข้อมูล ปัจจัยภาพลักษณ์และตราสินค้าในการซื้อเครื่องสำอางมีผลต่อการตัดสินใจในระดับมากที่สุดโดยสูงสุด ตราสินค้ามีความน่าเชื่อถือมีมาตรฐานรองรับจาก สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ อ.ย. ในด้านอิทธิพลของบรรจุภัณฑ์ในการซื้อเครื่องสำอางมีผลต่อการตัดสินใจในระดับมากที่สุด มีการตัดสินใจสูงสุดในด้านรูปทรงของบรรจุภัณฑ์สามารถสร้างความเป็นเอกลักษณ์ของสินค้าได้
ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคลด้านระดับการศึกษามีผลต่ออิทธิพลของบรรจุภัณฑ์ในการซื้อเครื่องสำอางแตกต่างกัน โดยกลุ่มพนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบินสายการบินไทยระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีจะให้ความสำคัญต่ออิทธิพลของบรรจุภัณฑ์ในการซื้อเครื่องสำอางต่ำกว่ากลุ่มพนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบินสายการบินไทยระดับการศึกษาปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ปัจจัยพฤติกรรมผู้บริโภคในด้านส่วนประสมการตลาดของเครื่องสำอางมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่ออิทธิพลของบรรจุภัณฑ์ในการซื้อเครื่องสำอาง โดยด้านการส่งเสริมการตลาดมีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมาเป็นด้านช่องทางในการจัดจำหน่าย ด้านราคา และด้านผลิตภัณฑ์ตามลำดับ ปัจจัยพฤติกรรมผู้บริโภคในการซื้อเครื่องสำอางมีความสัมพันธ์กับอิทธิพลของบรรจุภัณฑ์ในการซื้อเครื่องสำอาง โดยด้านการตอบสนองของผู้ซื้อและลักษณะของผู้ซื้อ (ปัจจัยด้านจิตวิทยา) มีความสัมพันธ์เชิงบวกโดยด้านการตอบสนองของผู้ซื้อมีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมาด้านลักษณะของผู้ซื้อ (ปัจจัยด้านจิตวิทยา) และด้านกระบวนการตัดสินใจซื้อมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่ออิทธิพลของบรรจุภัณฑ์ในการซื้อเครื่องสำอาง โดยด้านพฤติกรรมภายหลังการซื้อมีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมาเป็นด้านการประเมินทางเลือก ด้านการค้นหาข้อมูล ด้านการตัดสินใจซื้อ และด้านการรับรู้ปัญหาตามลำดับ และ ปัจจัยภาพลักษณ์ตราสินค้าเครื่องสำอางมีความสัมพันธ์เชิงบวกในต่ออิทธิพลของบรรจุภัณฑ์ในการซื้อเครื่องสำอางเช่นกันCurricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27992 SIU IS-T. อิทธิพลของบรรจุภัณฑ์มีผลต่อการซื้อเครื่องสำอางของพนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบินสายการบินไทย = Influencing Package towards Purchasing Cosmetics of Thai Airways Air Hostess [printed text] / สรัญธร พัธนพันธุ์, Author ; มณฑิรา ชุนลิ้ม, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - x, 74 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU IS-T: SOM-MBA-2019-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2019.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้บริโภค -- การตัดสินใจ
[LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภค
[LCSH]เครื่องสำอาง -- บรรจุภัณฑ์Keywords: พฤติกรรมผู้บริโภค,
การตัดสินใจซื้อ,
ภาพลักษณ์ตราสินค้า,
บรรจุภัณฑ์เครื่องสำอางAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของบรรจุภัณฑ์มีผลต่อการซื้อเครื่องสำอางของพนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบินสายการบินไทย ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ พนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบินสายการบินไทย ใช้สูตรการคำนวณของ W.G.Cochran ได้จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามที่ทางผู้วิจัยได้สร้างขึ้นประกอบด้วย 4 ส่วน คือ 1) ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 2) ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยด้านพฤติกรรมผู้บริโภคต่อการตัดสินใจและระดับการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอาง 3) ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยภาพลักษณ์ตราสินค้าต่อการตัดสินใจและระดับการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอาง 4) ข้อมูลเกี่ยวกับอิทธิพลของบรรจุภัณฑ์ในการซื้อเครื่องสำอางต่อการตัดสินใจและระดับการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอาง 5) ข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถาม
ผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มี อายุ 36 – 40 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 50,000 - 60,000 บาท และค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่องสำอางแต่ละครั้งโดยเฉลี่ย 1,000 - 5,000 บาท ในด้านปัจจัยพฤติกรรมผู้บริโภคด้านส่วนประสมการตลาดให้ความสำคัญในระดับมากที่สุดในด้านราคา รองลงมาเป็นด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านช่องทางในการจัดจำหน่าย ตามลำดับ ปัจจัยพฤติกรรมผู้บริโภคในด้านการตอบสนองของผู้ซื้อและลักษณะของผู้ซื้อ (ปัจจัยด้านจิตวิทยา) ให้ความสำคัญในระดับมากที่สุดโดยสูงสุดในด้านการตอบสนองของผู้ซื้อ รองลงมาลักษณะของผู้ซื้อ (ปัจจัยด้านจิตวิทยา) ในด้านกระบวนการตัดสินใจมีการตัดสินใจในระดับมากที่สุดในด้านการตัดสินใจซื้อ รองลงมาด้านพฤติกรรมภายหลังการซื้อ ด้านการประเมินทางเลือก ด้านการรับรู้ปัญหา และด้านการค้นหาข้อมูล ปัจจัยภาพลักษณ์และตราสินค้าในการซื้อเครื่องสำอางมีผลต่อการตัดสินใจในระดับมากที่สุดโดยสูงสุด ตราสินค้ามีความน่าเชื่อถือมีมาตรฐานรองรับจาก สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ อ.ย. ในด้านอิทธิพลของบรรจุภัณฑ์ในการซื้อเครื่องสำอางมีผลต่อการตัดสินใจในระดับมากที่สุด มีการตัดสินใจสูงสุดในด้านรูปทรงของบรรจุภัณฑ์สามารถสร้างความเป็นเอกลักษณ์ของสินค้าได้
ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคลด้านระดับการศึกษามีผลต่ออิทธิพลของบรรจุภัณฑ์ในการซื้อเครื่องสำอางแตกต่างกัน โดยกลุ่มพนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบินสายการบินไทยระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีจะให้ความสำคัญต่ออิทธิพลของบรรจุภัณฑ์ในการซื้อเครื่องสำอางต่ำกว่ากลุ่มพนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบินสายการบินไทยระดับการศึกษาปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ปัจจัยพฤติกรรมผู้บริโภคในด้านส่วนประสมการตลาดของเครื่องสำอางมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่ออิทธิพลของบรรจุภัณฑ์ในการซื้อเครื่องสำอาง โดยด้านการส่งเสริมการตลาดมีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมาเป็นด้านช่องทางในการจัดจำหน่าย ด้านราคา และด้านผลิตภัณฑ์ตามลำดับ ปัจจัยพฤติกรรมผู้บริโภคในการซื้อเครื่องสำอางมีความสัมพันธ์กับอิทธิพลของบรรจุภัณฑ์ในการซื้อเครื่องสำอาง โดยด้านการตอบสนองของผู้ซื้อและลักษณะของผู้ซื้อ (ปัจจัยด้านจิตวิทยา) มีความสัมพันธ์เชิงบวกโดยด้านการตอบสนองของผู้ซื้อมีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมาด้านลักษณะของผู้ซื้อ (ปัจจัยด้านจิตวิทยา) และด้านกระบวนการตัดสินใจซื้อมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่ออิทธิพลของบรรจุภัณฑ์ในการซื้อเครื่องสำอาง โดยด้านพฤติกรรมภายหลังการซื้อมีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมาเป็นด้านการประเมินทางเลือก ด้านการค้นหาข้อมูล ด้านการตัดสินใจซื้อ และด้านการรับรู้ปัญหาตามลำดับ และ ปัจจัยภาพลักษณ์ตราสินค้าเครื่องสำอางมีความสัมพันธ์เชิงบวกในต่ออิทธิพลของบรรจุภัณฑ์ในการซื้อเครื่องสำอางเช่นกันCurricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27992 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607454 SIU IS-T: SOM-MBA-2019-03 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607453 SIU IS-T: SOM-MBA-2019-03 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงของพยาบาลไทยตามการรับรู้ของผู้บริหารทางการพยาบาล / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงของพยาบาลไทยตามการรับรู้ของผู้บริหารทางการพยาบาล Original title : Ethical judement in risks of nursing practice among Thai nurses as perceived by nursing administrators Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.194-195 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.194-195Keywords: การตัดสินใจเชิงจริยธรรม.ความเสี่ยงในการปฏิบัติการพยาบาล.การรับรู้ของผู้บริหา่รการพยาบาล. Abstract: เพื่อศึกษาประเด็นจริยธรรมที่เกี่ยวกับความเสี่ยงและการตัดสินใจเชิงจริยธรรมที่เกี่ยวกับความเสี่ยงในการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลตามการรับรู้ของบริหารทางการพยาบาลการออกแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด ผู้บริหารทางการพยาบาลที่เต็มใจเข้าร่วมการศึกษานี้จำนวน 36 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสนทนากลุ่มพร้อมศึกษารายงานการบันทึกกรณีศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะหฺข้อมูลเชิงผลการวิจัย พบว่า ผลจริยธรรมวิชาชีพที่เกี่ยวกับความเสี่ยงที่พยาบาลส่วนใหญ่ปฏิบัติขณะทำงานในบทบาท หน้าที่ พยาบาลตามมุมมองของผู้บริหารทางการพยาบาลมีจำนวน 7 ประเด็น ความสำคัญตามลำดับ คือ ประเด็นจริยธรรมที่มีความเสี่ยงด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1) การให้ข้อมูลการสื่อสาร 2 การประเมินอาการไม่ถูกต้องและไม่ทันเวลา 3การบริหารยาไม่ถูกต้อง 4 การบริการไม่ถูกใจ ล่าช้า และพฤจติกรรมไม่เหมาะสม 5 การส่งต่อล่าช้า 6 การผูกมัด 7 การพลัดตก และพฤติกรรมจริยธรรมที่นำไปใช้ในการปฏิบัติในการพยาบาลที่ใช้ ได้แก่ 1 การบอกความจริง 2 การป้องกันอันตราย 3 พิทักษ์สิทธิผู้ป่วย 4 ความซื่อสัตน์ 5 ความอาทรต่อผู้ป่วย 6 การเป็นอิสระในการตัดสินใจ 7 การเสียสละ 8 การมีพฤติกรรมการบริการและมีใจบริการที่ดัี 9 การดูแลผู้ป่วยอย่างเท่าเทียมและไม่เลือกปฏิบัติ 10 ความรับผิดขอบและ 11 การรักษาความลับจากข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า พยาบาลไทนมีความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพที่มีความเสี่ยงในการปฏิบัติงานและมีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถใช้ข้อมูลจากการศึกษานี้ไปใช้ในการวางแผนการพัฒนาและส่งเสริมให้พยาบาลในการสร้างความเข้าใจในการจัดการเชิงจริยธรรมที่มีความเสี่ยงสูง เพื่อลดปัญหาการปฏิบัติการพยาบาลและส่งเสริมให้พยายาลเข้าใจกระบวนการตัดสินใจที่เหมาะสมต่อไป
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26756 [article] การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงของพยาบาลไทยตามการรับรู้ของผู้บริหารทางการพยาบาล = Ethical judement in risks of nursing practice among Thai nurses as perceived by nursing administrators [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author . - 2017 . - p.194-195.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.194-195Keywords: การตัดสินใจเชิงจริยธรรม.ความเสี่ยงในการปฏิบัติการพยาบาล.การรับรู้ของผู้บริหา่รการพยาบาล. Abstract: เพื่อศึกษาประเด็นจริยธรรมที่เกี่ยวกับความเสี่ยงและการตัดสินใจเชิงจริยธรรมที่เกี่ยวกับความเสี่ยงในการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลตามการรับรู้ของบริหารทางการพยาบาลการออกแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด ผู้บริหารทางการพยาบาลที่เต็มใจเข้าร่วมการศึกษานี้จำนวน 36 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสนทนากลุ่มพร้อมศึกษารายงานการบันทึกกรณีศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะหฺข้อมูลเชิงผลการวิจัย พบว่า ผลจริยธรรมวิชาชีพที่เกี่ยวกับความเสี่ยงที่พยาบาลส่วนใหญ่ปฏิบัติขณะทำงานในบทบาท หน้าที่ พยาบาลตามมุมมองของผู้บริหารทางการพยาบาลมีจำนวน 7 ประเด็น ความสำคัญตามลำดับ คือ ประเด็นจริยธรรมที่มีความเสี่ยงด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1) การให้ข้อมูลการสื่อสาร 2 การประเมินอาการไม่ถูกต้องและไม่ทันเวลา 3การบริหารยาไม่ถูกต้อง 4 การบริการไม่ถูกใจ ล่าช้า และพฤจติกรรมไม่เหมาะสม 5 การส่งต่อล่าช้า 6 การผูกมัด 7 การพลัดตก และพฤติกรรมจริยธรรมที่นำไปใช้ในการปฏิบัติในการพยาบาลที่ใช้ ได้แก่ 1 การบอกความจริง 2 การป้องกันอันตราย 3 พิทักษ์สิทธิผู้ป่วย 4 ความซื่อสัตน์ 5 ความอาทรต่อผู้ป่วย 6 การเป็นอิสระในการตัดสินใจ 7 การเสียสละ 8 การมีพฤติกรรมการบริการและมีใจบริการที่ดัี 9 การดูแลผู้ป่วยอย่างเท่าเทียมและไม่เลือกปฏิบัติ 10 ความรับผิดขอบและ 11 การรักษาความลับจากข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า พยาบาลไทนมีความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพที่มีความเสี่ยงในการปฏิบัติงานและมีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถใช้ข้อมูลจากการศึกษานี้ไปใช้ในการวางแผนการพัฒนาและส่งเสริมให้พยาบาลในการสร้างความเข้าใจในการจัดการเชิงจริยธรรมที่มีความเสี่ยงสูง เพื่อลดปัญหาการปฏิบัติการพยาบาลและส่งเสริมให้พยายาลเข้าใจกระบวนการตัดสินใจที่เหมาะสมต่อไป
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26756 การระบุและจัดลำดับความสำคัญของความต้องการ จำเป็น / พิศมัย อรทัย in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.2 (May-Aug) 2017/2560 ([10/18/2017])
[article]
Title : การระบุและจัดลำดับความสำคัญของความต้องการ จำเป็น : ด้านการจัดการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตร์บัณฑิตตามการรับรู้ของบัณฑิตพยาบาลรามาธิบดี Original title : Identifying and prioritizing educational needs for Bachelor of nursing program as perveived by Ramathobodi nurse graduates Material Type: printed text Authors: พิศมัย อรทัย, Author ; วรรณภา ประไพพาณิช, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.242-256 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.2 (May-Aug) 2017/2560 [10/18/2017] . - p.242-256Keywords: ความต้องการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต.ความจำเป็นด้านการจัดการ.การรับรู้ของบัณฑิตพยาบาลรามาธิบดี.หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต. Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27390 [article] การระบุและจัดลำดับความสำคัญของความต้องการ จำเป็น = Identifying and prioritizing educational needs for Bachelor of nursing program as perveived by Ramathobodi nurse graduates : ด้านการจัดการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตร์บัณฑิตตามการรับรู้ของบัณฑิตพยาบาลรามาธิบดี [printed text] / พิศมัย อรทัย, Author ; วรรณภา ประไพพาณิช, Author . - 2017 . - p.242-256.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ความต้องการการได้รับการช่วยเหลือของมารดาเด็กออทิสติก / สุพัตรา จันทร์สุวรรณ in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : ความต้องการการได้รับการช่วยเหลือของมารดาเด็กออทิสติก Original title : The needs of Autistics' mother for helping support of children with autism Material Type: printed text Authors: สุพัตรา จันทร์สุวรรณ, Author ; สุนทรีย์ ขะชาตย์, Author ; ปวิตา โพธิ์ทอง, Author ; เสาวลักษณ์ แสนฉลาด, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.16-25 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.16-25Keywords: ความต้องการของมารดาเด็กออทิสติก.แนวทางการได้รับการช่วยเหลือ Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความต้องการการได้รับความช่วยเหลือของมารดาเด็กออทิสติก กลุ่มตัวอย่าง คือมารดาเด็กออทิสติกที่นำบุตรมาเข้ารับการฝึก ณ ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 5 จังหวัดสุพรรณบุรี เลือกการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงที่เป็นมารดาของเด็กออทิสติกและให้การดูแลเด็กออทิสติกอย่างน้อยวันละ 6 ขั่วโมง จำนวน 10 ราย การเก็ลรวบรวมข้อมูลโดยการใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นเครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยใช้แนวคิดเรื่องของความต้องการของ ฺBrewin (2001) ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและแบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง ความเที่ยงตรงของเนื้อหาของเครื่องมือได้ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ การวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการสัมภาษณ์ทำการวิเคราะห์โดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาครั้งนี้ พบว่า ประเด็นความต้องการการได้รับความช่วยเหลือของมารดาเด็กออทิสติกประกอบด้วย 4 ประเด็น คือ
ประเด็นที่หนึ่ง คือ ความต้องการให้เด็กช่วยเหลือตัวเองได้ในอนาคต
ประเด็นที่สอง คือ ความต้องการให้เด็กมีสถานที่ดูแลตลอดชีวิต
ประเด็นที่สาม คือ ความต้องการได้รับการสนับสนุนจากสังคม และ
ประเด็นที่สี่ คือ ความต้องการได้รับกำลังใจจากครอบครัวCurricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26520 [article] ความต้องการการได้รับการช่วยเหลือของมารดาเด็กออทิสติก = The needs of Autistics' mother for helping support of children with autism [printed text] / สุพัตรา จันทร์สุวรรณ, Author ; สุนทรีย์ ขะชาตย์, Author ; ปวิตา โพธิ์ทอง, Author ; เสาวลักษณ์ แสนฉลาด, Author . - 2017 . - p.16-25.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.16-25Keywords: ความต้องการของมารดาเด็กออทิสติก.แนวทางการได้รับการช่วยเหลือ Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความต้องการการได้รับความช่วยเหลือของมารดาเด็กออทิสติก กลุ่มตัวอย่าง คือมารดาเด็กออทิสติกที่นำบุตรมาเข้ารับการฝึก ณ ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 5 จังหวัดสุพรรณบุรี เลือกการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงที่เป็นมารดาของเด็กออทิสติกและให้การดูแลเด็กออทิสติกอย่างน้อยวันละ 6 ขั่วโมง จำนวน 10 ราย การเก็ลรวบรวมข้อมูลโดยการใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นเครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยใช้แนวคิดเรื่องของความต้องการของ ฺBrewin (2001) ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและแบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง ความเที่ยงตรงของเนื้อหาของเครื่องมือได้ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ การวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการสัมภาษณ์ทำการวิเคราะห์โดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาครั้งนี้ พบว่า ประเด็นความต้องการการได้รับความช่วยเหลือของมารดาเด็กออทิสติกประกอบด้วย 4 ประเด็น คือ
ประเด็นที่หนึ่ง คือ ความต้องการให้เด็กช่วยเหลือตัวเองได้ในอนาคต
ประเด็นที่สอง คือ ความต้องการให้เด็กมีสถานที่ดูแลตลอดชีวิต
ประเด็นที่สาม คือ ความต้องการได้รับการสนับสนุนจากสังคม และ
ประเด็นที่สี่ คือ ความต้องการได้รับกำลังใจจากครอบครัวCurricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26520 ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารธุรกิจประเภทร้านไอศกรีมกับความพึงพอใจของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร / นิภาพร บุญเจริญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารธุรกิจประเภทร้านไอศกรีมกับความพึงพอใจของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร Original title : Relationship between Ice Cream Business Management and Satisfaction among Bangkok Consumer Material Type: printed text Authors: นิภาพร บุญเจริญ, Author ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: x, 85 p. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2014-09
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การศึกษา -- การบริการ
[LCSH]ธุรกิจ -- การสำรวจ
[LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภค -- กรุงเทพฯKeywords: พฤติกรรมการบริโภค
ผู้บริโภค
ร้านไอศกรีม
ไอศกรีมรสเดี่ยว
ไอศกรีมผสมAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารธุรกิจประเภทร้านไอศกรีมกับความพึงพอใจของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการเลือกกินไอศกรีม เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผู้บริโภคในการกินไอศกรีม เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริการกับความพึงพอใจของผู้บริโภค ซึ่งเป็นการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ (Survey research) ทำการรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ใช้กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริโภคที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26207 ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารธุรกิจประเภทร้านไอศกรีมกับความพึงพอใจของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร = Relationship between Ice Cream Business Management and Satisfaction among Bangkok Consumer [printed text] / นิภาพร บุญเจริญ, Author ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - x, 85 p. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2014-09
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การศึกษา -- การบริการ
[LCSH]ธุรกิจ -- การสำรวจ
[LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภค -- กรุงเทพฯKeywords: พฤติกรรมการบริโภค
ผู้บริโภค
ร้านไอศกรีม
ไอศกรีมรสเดี่ยว
ไอศกรีมผสมAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารธุรกิจประเภทร้านไอศกรีมกับความพึงพอใจของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการเลือกกินไอศกรีม เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผู้บริโภคในการกินไอศกรีม เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริการกับความพึงพอใจของผู้บริโภค ซึ่งเป็นการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ (Survey research) ทำการรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ใช้กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริโภคที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26207 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000506830 SIU IS-T: SOM-MBA-2014-09 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available