From this page you can:
Home |
Search results
92 result(s) search for keyword(s) 'ภาวะผู้นำ. โรงพยาบาล. การบริการ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำและกระบวนการบริหารคุณภาพบริการดกับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ในเขตภาคกลาง / กนกพร สุทธิกาญจน์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำและกระบวนการบริหารคุณภาพบริการดกับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ในเขตภาคกลาง Original title : Relationship between personal factors leader traits and service quality management process and perceived performance of the administration board members of mediums size private hospital in the central region Material Type: printed text Authors: กนกพร สุทธิกาญจน์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ฎ, 155 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-545-023-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [สม. [วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]คุณภาพการบริการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลเอกชนKeywords: ภาวะผู้นำ.
โรงพยาบาล.
การบริการ.Class number: WX40 ก151 2547 Abstract: การศึกษาเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำกรรมการบริหาร กระบวนการบริหารคุณภาพบริการของกรรมการบริหารกับผลการดำเนินงานตามการับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลด้านบริการ การมุ่งเน้นลูกค้า การเิงิน และการตลาด และประสิทธิผลของโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง จำนวน 14 แห่ง โดยการสุ่มตัวอย่างเก็บข้อมูลจากกรรมการบริหารของโรงพยาบาลเอกชนทั้งหมดจำนวน 116 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า กรรมการบริหารโรงพยาบาลส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 75.0 มีสถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 64.7 มีประสบการณืบริหารตั้งแต่ 1-3 ปั ร้อยละ 30.2 สำเร็จการศึกาาระดับปริญยาตรี ร้อยละ 66.4 คณะกรรมการบริหารมีลักษณะเป็นผู็นำอยู่ในระดับสูงทุกลักษณะ ยกเว้นการให้กำลัีงใจเป็นนิจระดับปานกลาง กระบวนการบริหารคุณภาพบริการอยู่ในระดับสูง และผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง
การศึกษาความสัีมพันธ์พบว่า ลักษณะประชากรมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารอย่างไม่มีนัียสำคัญทางสถิติ p-value>0.05 ลักษณะผู้นำมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารทางบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value<0.05,r=0.66 สำหรับด้านการวางแผนเชิงกลยุทธ์และการมุ่งเน้นลูกค้าและการตลาดมีความสัมพันธ์ระดับปานกลาง r=0.51และ0.53 ตามลำดับ ส่วนการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคลมีความสัีมพันธ์ในระดับค่อนข้่างสูง r=0.65 ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคือ ในการบริหารงานโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ผู้บริหารควรให้ความสำคัญกับผลการดำเนินงานเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับบริการที่ดีมีคุณธรรม
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23137 ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำและกระบวนการบริหารคุณภาพบริการดกับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ในเขตภาคกลาง = Relationship between personal factors leader traits and service quality management process and perceived performance of the administration board members of mediums size private hospital in the central region [printed text] / กนกพร สุทธิกาญจน์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ฎ, 155 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-545-023-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [สม. [วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]คุณภาพการบริการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลเอกชนKeywords: ภาวะผู้นำ.
โรงพยาบาล.
การบริการ.Class number: WX40 ก151 2547 Abstract: การศึกษาเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำกรรมการบริหาร กระบวนการบริหารคุณภาพบริการของกรรมการบริหารกับผลการดำเนินงานตามการับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลด้านบริการ การมุ่งเน้นลูกค้า การเิงิน และการตลาด และประสิทธิผลของโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง จำนวน 14 แห่ง โดยการสุ่มตัวอย่างเก็บข้อมูลจากกรรมการบริหารของโรงพยาบาลเอกชนทั้งหมดจำนวน 116 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า กรรมการบริหารโรงพยาบาลส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 75.0 มีสถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 64.7 มีประสบการณืบริหารตั้งแต่ 1-3 ปั ร้อยละ 30.2 สำเร็จการศึกาาระดับปริญยาตรี ร้อยละ 66.4 คณะกรรมการบริหารมีลักษณะเป็นผู็นำอยู่ในระดับสูงทุกลักษณะ ยกเว้นการให้กำลัีงใจเป็นนิจระดับปานกลาง กระบวนการบริหารคุณภาพบริการอยู่ในระดับสูง และผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง
การศึกษาความสัีมพันธ์พบว่า ลักษณะประชากรมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารอย่างไม่มีนัียสำคัญทางสถิติ p-value>0.05 ลักษณะผู้นำมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารทางบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value<0.05,r=0.66 สำหรับด้านการวางแผนเชิงกลยุทธ์และการมุ่งเน้นลูกค้าและการตลาดมีความสัมพันธ์ระดับปานกลาง r=0.51และ0.53 ตามลำดับ ส่วนการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคลมีความสัีมพันธ์ในระดับค่อนข้่างสูง r=0.65 ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคือ ในการบริหารงานโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ผู้บริหารควรให้ความสำคัญกับผลการดำเนินงานเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับบริการที่ดีมีคุณธรรม
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23137 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354652 WX40 ก151 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available การศึกษาสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข / วีรวรรณ เกิดทอง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2543
Title : การศึกษาสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : A study of orgaizational health of nursing departments governmental hospital health under the jurisdiction of theMinstry of public health Material Type: printed text Authors: วีรวรรณ เกิดทอง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2543 Pagination: ฎ, 165 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-131-018-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การรับรองคุณภาพ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริการAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสุขภพาองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข และเปรียบเทียบสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล จำแนกตามการได้รับรองคุณภาพโรงพยาบาล และที่ตั้งโรงพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพ ประกอบด้วยพยาบาลประจำการ 753 คน และผู้บริหาร 181 คส สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงหนื้อหาและทดสอบความเที่ยงด้วยการหาสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้่อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและทดสอบความแตกต่าง Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23364 การศึกษาสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข = A study of orgaizational health of nursing departments governmental hospital health under the jurisdiction of theMinstry of public health [printed text] / วีรวรรณ เกิดทอง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 . - ฎ, 165 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-131-018-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การรับรองคุณภาพ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริการAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสุขภพาองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข และเปรียบเทียบสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล จำแนกตามการได้รับรองคุณภาพโรงพยาบาล และที่ตั้งโรงพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพ ประกอบด้วยพยาบาลประจำการ 753 คน และผู้บริหาร 181 คส สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงหนื้อหาและทดสอบความเที่ยงด้วยการหาสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้่อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและทดสอบความแตกต่าง Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23364 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000543171 THE WY125 ว737 2543 Thesis Main Library Thesis Corner Available การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน / สุภาพร เสือรอด in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน : ในโรงพยาบ่าลชุมชนพื่นที่ติดชายแดนภาคตะวันตก Original title : Proactive health care service of nurseworking in a community hospital at west Material Type: printed text Authors: สุภาพร เสือรอด, Author ; อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.79-87 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.79-87Keywords: การบริการสุขภาพเชิงรุก.การบริการทางการพยาบาล.พยาบาลวิชาชีพ.โรงพยาบาลชุมชนชายแดนภาคตะวันออก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ บรรยายการให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนพื้นที่ติดชายแดนตะวันตก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบปรากฎการณ์วิทยาการตีความตามแนวคิดของ Heidegger คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง โดยผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานเชิงรุกในโรงพยาบาลชุมชน พื้นที่ติดชายแดนภาคะวันตก มีความยินดีในการเข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะจงและการบันทึกเทป ร่วมกับการบันทึกภาคสนาม นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยวิธีการตีความของ Van Manen (1990) ผลการศึกษามีดังนี้ 1 ร่วมวางแผนการเดินทางกับทุกภาคส่วน 2 เดินทางเข้าหมู่บ้านผ่านเส้นทางอันตราย ต้องใช้ผู้ชำนาญทาง 3 เข้าถึงพื้นที่ เริ่มงานทันที ตามหน้าที่ที่แบ่งกัน 4 ออกจากพื้นที่ไปให้ถึงอีกพื้นที่ก่อนพลบค่ำ 5 ดำเนินการตรวจรักษาชาวบ้านมากหน้าหลายตามารอรับบริการ และ 6 เสร็จงานออกจากพื้นที่ บางครั้งมีปัญหากลับโรงพยาบาลล่าช้ากว่ากำหนด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24955 [article] การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน = Proactive health care service of nurseworking in a community hospital at west : ในโรงพยาบ่าลชุมชนพื่นที่ติดชายแดนภาคตะวันตก [printed text] / สุภาพร เสือรอด, Author ; อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author . - 2015 . - p.79-87.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.79-87Keywords: การบริการสุขภาพเชิงรุก.การบริการทางการพยาบาล.พยาบาลวิชาชีพ.โรงพยาบาลชุมชนชายแดนภาคตะวันออก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ บรรยายการให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนพื้นที่ติดชายแดนตะวันตก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบปรากฎการณ์วิทยาการตีความตามแนวคิดของ Heidegger คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง โดยผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานเชิงรุกในโรงพยาบาลชุมชน พื้นที่ติดชายแดนภาคะวันตก มีความยินดีในการเข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะจงและการบันทึกเทป ร่วมกับการบันทึกภาคสนาม นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยวิธีการตีความของ Van Manen (1990) ผลการศึกษามีดังนี้ 1 ร่วมวางแผนการเดินทางกับทุกภาคส่วน 2 เดินทางเข้าหมู่บ้านผ่านเส้นทางอันตราย ต้องใช้ผู้ชำนาญทาง 3 เข้าถึงพื้นที่ เริ่มงานทันที ตามหน้าที่ที่แบ่งกัน 4 ออกจากพื้นที่ไปให้ถึงอีกพื้นที่ก่อนพลบค่ำ 5 ดำเนินการตรวจรักษาชาวบ้านมากหน้าหลายตามารอรับบริการ และ 6 เสร็จงานออกจากพื้นที่ บางครั้งมีปัญหากลับโรงพยาบาลล่าช้ากว่ากำหนด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24955 ความสัมพันธ์ ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร / กัลยลักษณ์ คลับคล้าย / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2553
Title : ความสัมพันธ์ ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between structural empowerment, Job satisfaction, and administrative roles performance of head nurses, tertiary hospitals, Bangkok Metropolis Material Type: printed text Authors: กัลยลักษณ์ คลับคล้าย, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2553 Pagination: ก-ฎ, 126 แผ่น Layout: แผนภูมิ Size: 30 cm. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: หัวหน้ัาหอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลตติยภูมิ.
ความพึงพอใจ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY105 ก117 2553 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 246 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหาร การเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง และความพึงพอใจในการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .83, .92 และ .76 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23216 ความสัมพันธ์ ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร = Relationships between structural empowerment, Job satisfaction, and administrative roles performance of head nurses, tertiary hospitals, Bangkok Metropolis [printed text] / กัลยลักษณ์ คลับคล้าย, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 . - ก-ฎ, 126 แผ่น : แผนภูมิ ; 30 cm.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: หัวหน้ัาหอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลตติยภูมิ.
ความพึงพอใจ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY105 ก117 2553 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 246 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหาร การเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง และความพึงพอใจในการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .83, .92 และ .76 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23216 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355154 WY105 ก117 2553 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ / ทิพย์สุดา ดวงแก้ว / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2552
Title : ความสัมพันธ์ระว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ Original title : Relationships between strategic leadership of head nurse, job involvment of staff nurse, and effectiveness of patient unit, general hospitals under jurisdiction of the Ministry of Public Health in Northern region Material Type: printed text Authors: ทิพย์สุดา ดวงแก้ว, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2552 Pagination: ก-ฎ, 150 แผ่น Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์.
ภาวะผู้นำ.
หอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.Class number: WY18 ท436 2552 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไป เขตภาคเหนือ จำนวน 356 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .95, .93 และ .87 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ อยู่ในระดับสูง (x-bar = 3.78, SD = .67 ; x-bar = 3.99, SD = .45 และ x-bar = 3.80, SD = .47 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .428 และ .613 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23230 ความสัมพันธ์ระว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ = Relationships between strategic leadership of head nurse, job involvment of staff nurse, and effectiveness of patient unit, general hospitals under jurisdiction of the Ministry of Public Health in Northern region [printed text] / ทิพย์สุดา ดวงแก้ว, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - ก-ฎ, 150 แผ่น : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์.
ภาวะผู้นำ.
หอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.Class number: WY18 ท436 2552 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไป เขตภาคเหนือ จำนวน 356 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .95, .93 และ .87 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ อยู่ในระดับสูง (x-bar = 3.78, SD = .67 ; x-bar = 3.99, SD = .45 และ x-bar = 3.80, SD = .47 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .428 และ .613 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23230 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354744 WY18 ท436 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 / รำไพ ปรียากร / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2552
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 Original title : Relationships between total qualty mamagement ability of head nurse, workaholism, and units' productivity as perceived by staff nurses, general hospitals region 11 Material Type: printed text Authors: รำไพ ปรียากร, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2552 Pagination: ก-ญ, 119 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริหาร.
การบริการ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WX150 ร729 2552 Abstract: งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 จำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มแบบ 2 ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามภาวะการติดงาน และแบบสอบถามผลผลิตของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและคำนวณค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .94, .89 และ.84 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลผลิตของหอผู้ป่วย ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 อยู่ในระดับสูง (X-bar = 3.80, SD = .43, X-bar = 3.54, SD = .61 และ X-bar = 3.87, SD = .48 ตามลำดับ) 2. ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลผลิตของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .47 และ r = .57 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23223 ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 = Relationships between total qualty mamagement ability of head nurse, workaholism, and units' productivity as perceived by staff nurses, general hospitals region 11 [printed text] / รำไพ ปรียากร, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - ก-ญ, 119 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริหาร.
การบริการ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WX150 ร729 2552 Abstract: งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 จำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มแบบ 2 ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามภาวะการติดงาน และแบบสอบถามผลผลิตของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและคำนวณค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .94, .89 และ.84 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลผลิตของหอผู้ป่วย ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 อยู่ในระดับสูง (X-bar = 3.80, SD = .43, X-bar = 3.54, SD = .61 และ X-bar = 3.87, SD = .48 ตามลำดับ) 2. ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลผลิตของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .47 และ r = .57 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23223 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355147 WX150 ร729 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร / พรจันทร์ เทพพิทักษ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between transformational leadership of head nurses, effective followership of staff nurses and effecteveness of patient units as perceived by staff nurses, governmental hospitals, Bangkok Metropolis Material Type: printed text Authors: พรจันทร์ เทพพิทักษ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2548 Pagination: ก-ฎ, 127 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-532-023-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]].-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ประสิทธิผลองค์กร
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: โรงพยาบาล.
พยาบาล.
ประสิทธิผลองค์การ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY18 พ672 2548 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23154 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร = Relationships between transformational leadership of head nurses, effective followership of staff nurses and effecteveness of patient units as perceived by staff nurses, governmental hospitals, Bangkok Metropolis [printed text] / พรจันทร์ เทพพิทักษ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 . - ก-ฎ, 127 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-532-023-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]].-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ประสิทธิผลองค์กร
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: โรงพยาบาล.
พยาบาล.
ประสิทธิผลองค์การ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY18 พ672 2548 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23154 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354397 WY18 พ672 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ภาคเหนือตอนล่าง / ธารินี ฟังเสนาะ in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.11 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2560 ([03/20/2018])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ภาคเหนือตอนล่าง Original title : Factor Influencing Transformational Leadershipof Head Nurses University Hospital Lower Northern Region Material Type: printed text Authors: ธารินี ฟังเสนาะ, Author ; พูลสุข หิงคานนท์, Author Publication Date: 2018 Article on page: p.68-78 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.11 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2560 [03/20/2018] . - p.68-78Keywords: ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง.หัวหน้าหอผู้ป่วย.โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ภาคเหนือตอนล่าง. Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27573 [article] ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ภาคเหนือตอนล่าง = Factor Influencing Transformational Leadershipof Head Nurses University Hospital Lower Northern Region [printed text] / ธารินี ฟังเสนาะ, Author ; พูลสุข หิงคานนท์, Author . - 2018 . - p.68-78.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิาชีพ / ปาริชาติ รัตนราช in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิาชีพ : โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี Original title : Factor affecting positive practice enviromenta; of registered nurse in Sanpasithiprasong hospital UbonRatchathani province Material Type: printed text Authors: ปาริชาติ รัตนราช, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.74-81 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.74-81Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง.ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก.สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงาน.โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์.จังหวัดอุบลราชธานี. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก กับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ 3. ตัวแปรที่ทำนายสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 107 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบมีระบบ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ 0.98 0.98 และ 0.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธฺของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเป็นขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี มีค่าเฉลี่ยโดยรวมในระดับสูง คือ 4.41 4.13 และ 3.93 ตามลำดับ 2.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.74 และ 0.67) ตามลำดับ และ 3 ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกสามารถร่วมกันทำนายสภาพแวดล้อมการปฎิบัติงานที่ดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้ร้อยละ 70 (อาร์กำลังสอง =0.70)
ดังนั้นเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมในการปฎิบัติงานที่ดี ควรส่งเสริมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพยาบาลวิชาชีพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27215 [article] ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิาชีพ = Factor affecting positive practice enviromenta; of registered nurse in Sanpasithiprasong hospital UbonRatchathani province : โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี [printed text] / ปาริชาติ รัตนราช, Author . - 2017 . - p.74-81.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.74-81Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง.ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก.สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงาน.โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์.จังหวัดอุบลราชธานี. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก กับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ 3. ตัวแปรที่ทำนายสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 107 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบมีระบบ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ 0.98 0.98 และ 0.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธฺของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเป็นขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี มีค่าเฉลี่ยโดยรวมในระดับสูง คือ 4.41 4.13 และ 3.93 ตามลำดับ 2.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.74 และ 0.67) ตามลำดับ และ 3 ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกสามารถร่วมกันทำนายสภาพแวดล้อมการปฎิบัติงานที่ดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้ร้อยละ 70 (อาร์กำลังสอง =0.70)
ดังนั้นเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมในการปฎิบัติงานที่ดี ควรส่งเสริมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพยาบาลวิชาชีพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27215 ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลประจำจังหวัดสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเขต 14 / ขวัญจิต เพ็งแป้น / มหาวิทยาลัยราชธานี - 2551
Title : ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลประจำจังหวัดสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเขต 14 Original title : Professional nurse image as perceived by patients provincial hospitals The Ministry of public health the 14th region Material Type: printed text Authors: ขวัญจิต เพ็งแป้น, Author Publisher: มหาวิทยาลัยราชธานี Publication Date: 2551 Pagination: 128 หน้า. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม. (การบริหารการพยาบาล)).-- มหาวิทยาลัยราชธานี, 2551. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- การบริการ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลประจำจังหวัดKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลประจำจังหวัด.
การบริการ.Class number: WY100 ข171 2551 Abstract: การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ ศึกษาภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ เปรียบเทียบภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลประจำจังหวัด สังกัดกระทรวงสาธารณสุขเขต 14 ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 400 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและผ่านการตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ หาค่าความเที่ยงด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ เท่ากับ 0.95 และ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่่าที
ผลการวิจัยพบว่า ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการอยู่ในระดับดี (ค่าเฉลี่ยตามลำดับดังนี้ 4.47 SD = 0.56 และ 4.04 SD = 0.60) ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติแตกต่างจากภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจรงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23345 ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลประจำจังหวัดสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเขต 14 = Professional nurse image as perceived by patients provincial hospitals The Ministry of public health the 14th region [printed text] / ขวัญจิต เพ็งแป้น, Author . - [S.l.] : มหาวิทยาลัยราชธานี, 2551 . - 128 หน้า. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม. (การบริหารการพยาบาล)).-- มหาวิทยาลัยราชธานี, 2551.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- การบริการ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลประจำจังหวัดKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลประจำจังหวัด.
การบริการ.Class number: WY100 ข171 2551 Abstract: การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ ศึกษาภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ เปรียบเทียบภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลประจำจังหวัด สังกัดกระทรวงสาธารณสุขเขต 14 ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 400 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและผ่านการตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ หาค่าความเที่ยงด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ เท่ากับ 0.95 และ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่่าที
ผลการวิจัยพบว่า ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการอยู่ในระดับดี (ค่าเฉลี่ยตามลำดับดังนี้ 4.47 SD = 0.56 และ 4.04 SD = 0.60) ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติแตกต่างจากภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจรงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23345 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357036 THE WY100 ข171 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available วัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ / เฉลิมศรี นนทนาคร / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2549
Title : วัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Original title : The nursing organizational culture of accredited regional hospitals Material Type: printed text Authors: เฉลิมศรี นนทนาคร, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2549 Pagination: ก-ญ, 214 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2549 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การบริหาร.
โรงพยาบาล.
การรับรองคุณภาพ.
การบริการ.Class number: WX15 ฉ276 2549 Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาวัฒนธรรมองค์การพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพโดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) ผู้ให้ข้อมูลคือผู้เชี่ยวชาญจำนวน 29 คน ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านการพยาบาลศึกษา ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญด้านการปฏิบัติการพยาบาล และผู้เชี่ยวชาญด้านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล วิธีการดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสัมภาษณ์เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ ขั้นตอนที่ 2 นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหาแล้วนำมาสร้างแบบสอบถาม เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความสำคัญของข้อคำถามแต่ละข้อ ขั้นตอนที่ 3 นำข้อมูลที่ได้มาคำนวณค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ และส่งแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันความคิดเห็นเพื่อสรุปเป็นวัฒนธรรมองค์การพยาบาลที่สำคัญ หลังจากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาสรุปผลการวิจัยโดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 และค่าผลต่างระหว่างฐานนิยมและมัธยฐานไม่เกิน 1.00 ผลการวิจัยพบว่า วัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ รวม 61 รายการ ดังนี้ 1) ผู้นำ 7 รายการ 2) การบริหารองค์การ 11 รายการ 3) การบริการ 11 รายการ 4) การพัฒนาคุณภาพการบริการ 10 รายการ 5) คุณภาพชีวิตการทำงาน 9 รายการ 6) ไมตรีสัมพันธ์ 6 รายการ 7) สภาพแวดล้อม 7 รายการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23197 วัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ = The nursing organizational culture of accredited regional hospitals [printed text] / เฉลิมศรี นนทนาคร, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 . - ก-ญ, 214 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2549
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การบริหาร.
โรงพยาบาล.
การรับรองคุณภาพ.
การบริการ.Class number: WX15 ฉ276 2549 Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาวัฒนธรรมองค์การพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพโดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) ผู้ให้ข้อมูลคือผู้เชี่ยวชาญจำนวน 29 คน ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านการพยาบาลศึกษา ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญด้านการปฏิบัติการพยาบาล และผู้เชี่ยวชาญด้านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล วิธีการดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสัมภาษณ์เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ ขั้นตอนที่ 2 นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหาแล้วนำมาสร้างแบบสอบถาม เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความสำคัญของข้อคำถามแต่ละข้อ ขั้นตอนที่ 3 นำข้อมูลที่ได้มาคำนวณค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ และส่งแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันความคิดเห็นเพื่อสรุปเป็นวัฒนธรรมองค์การพยาบาลที่สำคัญ หลังจากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาสรุปผลการวิจัยโดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 และค่าผลต่างระหว่างฐานนิยมและมัธยฐานไม่เกิน 1.00 ผลการวิจัยพบว่า วัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ รวม 61 รายการ ดังนี้ 1) ผู้นำ 7 รายการ 2) การบริหารองค์การ 11 รายการ 3) การบริการ 11 รายการ 4) การพัฒนาคุณภาพการบริการ 10 รายการ 5) คุณภาพชีวิตการทำงาน 9 รายการ 6) ไมตรีสัมพันธ์ 6 รายการ 7) สภาพแวดล้อม 7 รายการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23197 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355014 WX15 ฉ276 2549 Thesis Main Library Thesis Corner Available Old book collection. สุขภาพดีวิถีอาเซียน / วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ / สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ - 2555
Collection Title: Old book collection Title : สุขภาพดีวิถีอาเซียน : รวมบทความวิเคราะห์ระบบบริการสุขภาพ Original title : Asean health care system : Material Type: printed text Authors: วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3. Publisher: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ Publication Date: 2555 Pagination: 158 หน้า. Layout: ภาพประกอบสี Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-974-365-379-7 Price: 220.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บริการสุขภาพ
[LCSH]ระบบบริการสุขภาพ
[LCSH]ระบบบริการสุขภาพ -- รวมเรื่อง
[LCSH]สาธารณสุขมูลฐาน, การบริการKeywords: สาธารณสุขมูลฐาน.
การบริการ.
ระบบบริการสุขภาพ.Class number: W84 ส747 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23439 Old book collection. สุขภาพดีวิถีอาเซียน = Asean health care system : : รวมบทความวิเคราะห์ระบบบริการสุขภาพ [printed text] / วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 3. . - นนทบุรี : สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, 2555 . - 158 หน้า. : ภาพประกอบสี ; 26 ซม.
ISBN : 978-974-365-379-7 : 220.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บริการสุขภาพ
[LCSH]ระบบบริการสุขภาพ
[LCSH]ระบบบริการสุขภาพ -- รวมเรื่อง
[LCSH]สาธารณสุขมูลฐาน, การบริการKeywords: สาธารณสุขมูลฐาน.
การบริการ.
ระบบบริการสุขภาพ.Class number: W84 ส747 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23439 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000386910 W84 ส747 2555 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000505543 W84 ส747 2555 c.10 Book Main Library Library Counter Available 32002000505535 W84 ส747 2555 c.11 Book Main Library Library Counter Available 32002000505527 W84 ส747 2555 c.12 Book Main Library Library Counter Available 32002000505519 W84 ส747 2555 c.13 Book Main Library Library Counter Available 32002000505501 W84 ส747 2555 c.14 Book Main Library Library Counter Available 32002000505550 W84 ส747 2555 c.15 Book Main Library Library Counter Available 32002000386951 W84 ส747 2555 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000386936 W84 ส747 2555 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000386928 W84 ส747 2555 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000386944 W84 ส747 2555 c.5 Book Main Library Library Counter Available 32002000505493 W84 ส747 2555 c.6 Book Main Library Library Counter Available 32002000505485 W84 ส747 2555 c.7 Book Main Library Library Counter Available 32002000505477 W84 ส747 2555 c.8 Book Main Library Library Counter Available 32002000505568 W84 ส747 2555 c.9 Book Main Library Library Counter Available SIU THE-T. การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม / กนกพรรณ ญาณภิรัต / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม Original title : Factors Leading to the Acceptance of Female Executives’ Leadership in Brodcassting and Telecommunication Organization Material Type: printed text Authors: กนกพรรณ ญาณภิรัต, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xii, 88 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นักบริหารสตรี -- วิจัย
[LCSH]ภาวะผู้นำของสตรี
[LCSH]วิทยุกระจายเสียง
[LCSH]โทรคมนาคมKeywords: ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรี,
หน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม,
บุคลิกภาพของผู้นำAbstract: การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม เป็นงานวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการยอมรับของผู้บริหารสตรี และศึกษาภาวะผู้นำประเภทต่างๆ ที่นำไปสู่การยอมรับของผู้ร่วมงาน ลูกน้องและหัวหน้างานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม โดยศึกษาจากประชากรกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม มีการใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานในการเก็บข้อมูล และมีการวิเคราะห์ความแปรปรวน Analysis of Variance หรือ ANOVA และการวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่า คุณลักษณะ และบุคลิกภาพของผู้นำของผู้บริหารสตรีมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับการบริหารจัดการ และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารความสัมพันธ์ทางลบโดยตรงและทางบวกโดยอ้อมกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน ส่วนการบริหารจัดการมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน สำหรับผู้นำทางวิชาชีพ (professional leadership) เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ทำการศึกษาในครั้งนี้ อีกทั้งยังพบว่าปัจจัยด้านบุคลิกภาพซึ่งในที่นี้รวมถึงการวางตัว การแต่งตัว กริยาท่าทางของผู้บริหารสตรี ส่งผลต่อการยอมรับและนำไปสู่ความสำเร็จของการทำงาน ตลอดทั้งการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสำหรับหน่วยงานกำกับ ดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทย ซึ่งโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมเนื่องจากมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ อีกทั้งในแต่ละองค์ประกอบหรือปัจจัยแต่ละด้าน มีความเที่ยงตรง และเป็นที่ยอมรับได้ สำหรับปัจจัย เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของรูปแบบการบริหารจัดการของผู้บริหาร และเป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของความสำเร็จของการยอมรับผู้บริหารสตรีCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28048 SIU THE-T. การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม = Factors Leading to the Acceptance of Female Executives’ Leadership in Brodcassting and Telecommunication Organization [printed text] / กนกพรรณ ญาณภิรัต, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xii, 88 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นักบริหารสตรี -- วิจัย
[LCSH]ภาวะผู้นำของสตรี
[LCSH]วิทยุกระจายเสียง
[LCSH]โทรคมนาคมKeywords: ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรี,
หน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม,
บุคลิกภาพของผู้นำAbstract: การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม เป็นงานวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการยอมรับของผู้บริหารสตรี และศึกษาภาวะผู้นำประเภทต่างๆ ที่นำไปสู่การยอมรับของผู้ร่วมงาน ลูกน้องและหัวหน้างานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม โดยศึกษาจากประชากรกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม มีการใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานในการเก็บข้อมูล และมีการวิเคราะห์ความแปรปรวน Analysis of Variance หรือ ANOVA และการวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่า คุณลักษณะ และบุคลิกภาพของผู้นำของผู้บริหารสตรีมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับการบริหารจัดการ และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารความสัมพันธ์ทางลบโดยตรงและทางบวกโดยอ้อมกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน ส่วนการบริหารจัดการมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน สำหรับผู้นำทางวิชาชีพ (professional leadership) เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ทำการศึกษาในครั้งนี้ อีกทั้งยังพบว่าปัจจัยด้านบุคลิกภาพซึ่งในที่นี้รวมถึงการวางตัว การแต่งตัว กริยาท่าทางของผู้บริหารสตรี ส่งผลต่อการยอมรับและนำไปสู่ความสำเร็จของการทำงาน ตลอดทั้งการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสำหรับหน่วยงานกำกับ ดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทย ซึ่งโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมเนื่องจากมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ อีกทั้งในแต่ละองค์ประกอบหรือปัจจัยแต่ละด้าน มีความเที่ยงตรง และเป็นที่ยอมรับได้ สำหรับปัจจัย เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของรูปแบบการบริหารจัดการของผู้บริหาร และเป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของความสำเร็จของการยอมรับผู้บริหารสตรีCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28048 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607380 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607377 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 10 / พระมหาสมคิด มะลัยทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 10 Original title : Leadership Development towards Sappurisadhamma 7 Principles of Administrative Monks Under Sangha Region 10 Material Type: printed text Authors: พระมหาสมคิด มะลัยทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xi, 147 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-21
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พระสังฆาธิการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา
[LCSH]สัปปุริสธรรม -- วิจัยKeywords: ภาวะผู้นำ, สัปปุริสธรรม 7, คณะสงฆ์ภาค 10 Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จำนวน 16 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ของพระสงฆ์ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 จำนวน 6 จังหวัด จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 คือผู้นำที่มีความรู้ ความสามารถ จูงใจให้ผู้อื่นปฏิบัติตามได้ดั่งใจประสงค์และเกิดความพึงพอใจ เป็นไปตามหลักพระพุทธศาสนาได้กล่าวถึง และงานวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ปัจจัยหลักสัปปุริสธรรม 7 ที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านกาลัญญุตา มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.48, S.D. = 0.63) โดยตัวแปรอิสระทั้ง 5 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.542 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 29.40 (R Square = 0.294) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.914 ปัจจัยภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ แบบกระจายความรับผิดชอบ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.35, S.D. = 0.69) โดยตัวแปรอิสระ 2 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.507 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 25.70 (R Square = 0.257) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.893
ข้อเสนอแนะ การพัฒนาภาวะผู้นำให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละวัด เพื่อให้การพัฒนาเป็นไปตามหลักปริสัญญุตา การเข้าใจความแตกต่างของบุคลากรและวัฒนธรรมของชุมชนCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28105 SIU THE-T. การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 10 = Leadership Development towards Sappurisadhamma 7 Principles of Administrative Monks Under Sangha Region 10 [printed text] / พระมหาสมคิด มะลัยทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 147 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-21
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พระสังฆาธิการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา
[LCSH]สัปปุริสธรรม -- วิจัยKeywords: ภาวะผู้นำ, สัปปุริสธรรม 7, คณะสงฆ์ภาค 10 Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จำนวน 16 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ของพระสงฆ์ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 จำนวน 6 จังหวัด จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 คือผู้นำที่มีความรู้ ความสามารถ จูงใจให้ผู้อื่นปฏิบัติตามได้ดั่งใจประสงค์และเกิดความพึงพอใจ เป็นไปตามหลักพระพุทธศาสนาได้กล่าวถึง และงานวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ปัจจัยหลักสัปปุริสธรรม 7 ที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านกาลัญญุตา มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.48, S.D. = 0.63) โดยตัวแปรอิสระทั้ง 5 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.542 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 29.40 (R Square = 0.294) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.914 ปัจจัยภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ แบบกระจายความรับผิดชอบ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.35, S.D. = 0.69) โดยตัวแปรอิสระ 2 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.507 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 25.70 (R Square = 0.257) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.893
ข้อเสนอแนะ การพัฒนาภาวะผู้นำให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละวัด เพื่อให้การพัฒนาเป็นไปตามหลักปริสัญญุตา การเข้าใจความแตกต่างของบุคลากรและวัฒนธรรมของชุมชนCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28105 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607332 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-21 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607334 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-21 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร / อังคณา ผิวละออ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : การศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร Original title : A study of the Relationship of Factors Affecting the Administrators’ Leadership of Private Higher Education Institutions in Bangkok Area Material Type: printed text Authors: อังคณา ผิวละออ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: ix, 128 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2020-08
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้บริหาร
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]สถาบันอุดมศึกษาเอกชน -- กรุงเทพฯKeywords: ภาวะผู้นำ,
องค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำ,
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร และ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหาร ซึ่งปฏิบัติงานในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นที่พัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำของผู้บริหาร โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 270 ตัวอย่าง จากผู้บริหารของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 18 สถาบัน ซึ่งใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน (Quota Sampling) ทำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา และใช้สถิติเชิงอนุมานในการหาค่า Independent Samples t-test และ One-Way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาพบว่า
1) องค์ประกอบด้านคุณลักษณะในการบริหาร ในด้านบุคลิกภาพ ด้านความรู้ความสามารถและด้านทักษะในการบริหาร มีความสัมพันธ์กันกับภาวะผู้นำของผู้บริหาร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01
2) องค์ประกอบด้านพฤติกรรมในการบริหารของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ในด้านการมีส่วนร่วม ด้านความสำเร็จของงาน ด้านการให้การสนับสนุน และด้านอำนาจบารมี กับภาวะผู้นำของผู้บริหาร มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01
3) องค์ประกอบด้านสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องในหน่วยงานมีความสัมพันธ์ในด้านวุฒิภาวะและความพร้อม ด้านโครงสร้างงานในมหาวิทยาลัย และด้านการสนับสนุนของผู้บริหาร กับภาวะผู้นำของผู้บริหาร มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28045 SIU THE-T. การศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร = A study of the Relationship of Factors Affecting the Administrators’ Leadership of Private Higher Education Institutions in Bangkok Area [printed text] / อังคณา ผิวละออ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - ix, 128 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2020-08
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้บริหาร
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]สถาบันอุดมศึกษาเอกชน -- กรุงเทพฯKeywords: ภาวะผู้นำ,
องค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำ,
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร และ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหาร ซึ่งปฏิบัติงานในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นที่พัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำของผู้บริหาร โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 270 ตัวอย่าง จากผู้บริหารของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 18 สถาบัน ซึ่งใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน (Quota Sampling) ทำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา และใช้สถิติเชิงอนุมานในการหาค่า Independent Samples t-test และ One-Way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาพบว่า
1) องค์ประกอบด้านคุณลักษณะในการบริหาร ในด้านบุคลิกภาพ ด้านความรู้ความสามารถและด้านทักษะในการบริหาร มีความสัมพันธ์กันกับภาวะผู้นำของผู้บริหาร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01
2) องค์ประกอบด้านพฤติกรรมในการบริหารของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ในด้านการมีส่วนร่วม ด้านความสำเร็จของงาน ด้านการให้การสนับสนุน และด้านอำนาจบารมี กับภาวะผู้นำของผู้บริหาร มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01
3) องค์ประกอบด้านสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องในหน่วยงานมีความสัมพันธ์ในด้านวุฒิภาวะและความพร้อม ด้านโครงสร้างงานในมหาวิทยาลัย และด้านการสนับสนุนของผู้บริหาร กับภาวะผู้นำของผู้บริหาร มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28045 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607383 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-08 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607385 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-08 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available