From this page you can:
Home |
Search results
141 result(s) search for keyword(s) 'โรงพยาบาล. พยาบาล. ประสิทธิผลองค์การ. ภาวะผู้นำ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร / พรจันทร์ เทพพิทักษ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between transformational leadership of head nurses, effective followership of staff nurses and effecteveness of patient units as perceived by staff nurses, governmental hospitals, Bangkok Metropolis Material Type: printed text Authors: พรจันทร์ เทพพิทักษ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2548 Pagination: ก-ฎ, 127 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-532-023-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]].-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ประสิทธิผลองค์กร
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: โรงพยาบาล.
พยาบาล.
ประสิทธิผลองค์การ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY18 พ672 2548 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23154 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร = Relationships between transformational leadership of head nurses, effective followership of staff nurses and effecteveness of patient units as perceived by staff nurses, governmental hospitals, Bangkok Metropolis [printed text] / พรจันทร์ เทพพิทักษ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 . - ก-ฎ, 127 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-532-023-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]].-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ประสิทธิผลองค์กร
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: โรงพยาบาล.
พยาบาล.
ประสิทธิผลองค์การ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY18 พ672 2548 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23154 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354397 WY18 พ672 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิาชีพ / ปาริชาติ รัตนราช in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิาชีพ : โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี Original title : Factor affecting positive practice enviromenta; of registered nurse in Sanpasithiprasong hospital UbonRatchathani province Material Type: printed text Authors: ปาริชาติ รัตนราช, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.74-81 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.74-81Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง.ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก.สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงาน.โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์.จังหวัดอุบลราชธานี. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก กับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ 3. ตัวแปรที่ทำนายสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 107 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบมีระบบ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ 0.98 0.98 และ 0.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธฺของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเป็นขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี มีค่าเฉลี่ยโดยรวมในระดับสูง คือ 4.41 4.13 และ 3.93 ตามลำดับ 2.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.74 และ 0.67) ตามลำดับ และ 3 ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกสามารถร่วมกันทำนายสภาพแวดล้อมการปฎิบัติงานที่ดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้ร้อยละ 70 (อาร์กำลังสอง =0.70)
ดังนั้นเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมในการปฎิบัติงานที่ดี ควรส่งเสริมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพยาบาลวิชาชีพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27215 [article] ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิาชีพ = Factor affecting positive practice enviromenta; of registered nurse in Sanpasithiprasong hospital UbonRatchathani province : โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี [printed text] / ปาริชาติ รัตนราช, Author . - 2017 . - p.74-81.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.74-81Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง.ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก.สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงาน.โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์.จังหวัดอุบลราชธานี. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก กับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ 3. ตัวแปรที่ทำนายสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 107 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบมีระบบ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ 0.98 0.98 และ 0.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธฺของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเป็นขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี มีค่าเฉลี่ยโดยรวมในระดับสูง คือ 4.41 4.13 และ 3.93 ตามลำดับ 2.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.74 และ 0.67) ตามลำดับ และ 3 ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกสามารถร่วมกันทำนายสภาพแวดล้อมการปฎิบัติงานที่ดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้ร้อยละ 70 (อาร์กำลังสอง =0.70)
ดังนั้นเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมในการปฎิบัติงานที่ดี ควรส่งเสริมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพยาบาลวิชาชีพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27215 การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน / อุษนันท์ อินทมาศน์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน Original title : Role performance of professional nurse in community hospital Material Type: printed text Authors: อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฌ, 117 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-780-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน = Role performance of professional nurse in community hospital [printed text] / อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฌ, 117 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-780-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355493 WY100 อ948 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน / หนึ่งนุช คำชาย / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน Original title : The development of professional nurses competency assessment scale, community hospitals, Nan Province Material Type: printed text Authors: หนึ่งนุช คำชาย, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ญ, 138 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาบุคลากร
[LCSH]พยาบาล -- การประเมิน
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชน -- ไทย -- น่านKeywords: โรงพยาบาลชุมชน.
จังหวัดน่าน.
การพัฒนาบุคลากร.
พยาบาล.
การประเมิน.Class number: WY100 ห953 2551 Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ พัฒนาแบบประเมินสมรรถนะและตรวจสอบคุณภาพแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน กลุ่มตัวอย่างมี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน จำนวน 15 คน และกลุ่มหัวหน้าหอผู้ป่วย และรองหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน 13 แห่ง จำนวน 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพแบบมาตรประมาณค่ายึดพฤติกรรม (Behaviorally anchored rating scale : BARS) 4 ระดับ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และมีค่าความเที่ยงของการสังเกตระหว่างผู้ประเมิน (Interrater reliability) เท่ากับ .82 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. แบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน ประกอบด้วยสมรรถนะ 8 ด้าน คือ ด้านองค์ความรู้ทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ด้านภาวะผู้นำและการบริหารจัดการ ด้านจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมาย ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ ด้านการสื่อสารและสัมพันธภาพ ด้านการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล และด้านวิชาการและการวิจัย รวมเป็นสมรรถนะย่อย 22 ข้อ 2. แบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน มีค่าความสอดคล้องของแบบประเมินเท่ากับ .86 (r = .86) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23219 การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน = The development of professional nurses competency assessment scale, community hospitals, Nan Province [printed text] / หนึ่งนุช คำชาย, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ญ, 138 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาบุคลากร
[LCSH]พยาบาล -- การประเมิน
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชน -- ไทย -- น่านKeywords: โรงพยาบาลชุมชน.
จังหวัดน่าน.
การพัฒนาบุคลากร.
พยาบาล.
การประเมิน.Class number: WY100 ห953 2551 Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ พัฒนาแบบประเมินสมรรถนะและตรวจสอบคุณภาพแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน กลุ่มตัวอย่างมี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน จำนวน 15 คน และกลุ่มหัวหน้าหอผู้ป่วย และรองหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน 13 แห่ง จำนวน 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพแบบมาตรประมาณค่ายึดพฤติกรรม (Behaviorally anchored rating scale : BARS) 4 ระดับ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และมีค่าความเที่ยงของการสังเกตระหว่างผู้ประเมิน (Interrater reliability) เท่ากับ .82 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. แบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน ประกอบด้วยสมรรถนะ 8 ด้าน คือ ด้านองค์ความรู้ทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ด้านภาวะผู้นำและการบริหารจัดการ ด้านจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมาย ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ ด้านการสื่อสารและสัมพันธภาพ ด้านการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล และด้านวิชาการและการวิจัย รวมเป็นสมรรถนะย่อย 22 ข้อ 2. แบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน มีค่าความสอดคล้องของแบบประเมินเท่ากับ .86 (r = .86) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23219 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354835 WY100 ห953 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ / อมราพร นาโควงค์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2554
Title : การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ Original title : The development of competency scale for nurses as mediators, government hospitals Material Type: printed text Authors: อมราพร นาโควงค์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2554 Pagination: ก-ฎ, 240 แผ่น : แผนภูมิ Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2554 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความขัดแย้ง (จิตวิทยา)
[LCSH]พยาบาล -- การประเมิน
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลของรัฐ -- การบริหารKeywords: พยาบาล.
การไกล่เกลี่ย.
โรงพยาบาลของรัฐ.Class number: WY115 อ967 2554 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและตรวจสอบแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาล จำนวน 8 คน กลุ่มพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย จำนวน 408 คน และหัวหน้างานและรองหัวหน้างานของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย จำนวน 60 คน รวมทั้งหมด 476 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน ได้ค่าความตรงเชิงเนื้อหาโดยเฉลี่ย เท่ากับ 0.85 และค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 โดยแบ่งวิธีการศึกษาเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 สังเคราะห์ตัวประกอบและรายการสมรรถนะของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ โดยทบทวนวรรณกรรมและบูรณการร่วมกับข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาล ขั้นตอนที่ 2 สร้างแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ โดยรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย นำไปการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ตัวประกอบ สกัดตัวประกอบหลัก หมุนแกนแบบมุมแหลม ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ โดยการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างหัวหน้างานและรองหัวหน้างานของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย เพื่อตรวจสอบความตรง ความเที่ยง และความสอดคล้องของการประเมินระหว่างผู้ประเมิน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. แบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ ประกอบด้วย ตัวประกอบสมรรถนะ 5 ด้าน คือ ด้านกระบวนการเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลาง 22 ข้อ ด้านคุณธรรม จริยธรรม 12 ข้อ ด้านการพัฒนาองค์ความรู้การเจรจาไกล่เกลี่ย 9 ข้อ ด้านคุณลักษณะส่วนบุคคลและการสร้างสัมพันธภาพ 6 ข้อ และด้านการทำงานเป็นทีม 4 ข้อ รวมเป็นสมรรถนะย่อย 53 ข้อ 2. คุณภาพของแบบประเมินด้านความตรง พบว่า ทุกข้อคำถามของแบบประเมินสามารถจำแนกพยาบาลที่ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยที่มีสมรรถนะสูงออกจากที่มีสมรรถนะต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. คุณภาพของแบบประเมินด้านความเที่ยง พบว่า ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค .94 4. คุณภาพของแบบประเมินด้านความสอดคล้องของการประเมินระหว่างผู้ประเมิน พบว่า ในโรงพยาบาลศูนย์ ได้ค่าเท่ากับ .97 และโรงพยาบาลทั่วไป ได้ค่าเท่ากับ .92Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23217 การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ = The development of competency scale for nurses as mediators, government hospitals [printed text] / อมราพร นาโควงค์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 . - ก-ฎ, 240 แผ่น : แผนภูมิ : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2554
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความขัดแย้ง (จิตวิทยา)
[LCSH]พยาบาล -- การประเมิน
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลของรัฐ -- การบริหารKeywords: พยาบาล.
การไกล่เกลี่ย.
โรงพยาบาลของรัฐ.Class number: WY115 อ967 2554 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและตรวจสอบแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาล จำนวน 8 คน กลุ่มพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย จำนวน 408 คน และหัวหน้างานและรองหัวหน้างานของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย จำนวน 60 คน รวมทั้งหมด 476 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน ได้ค่าความตรงเชิงเนื้อหาโดยเฉลี่ย เท่ากับ 0.85 และค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 โดยแบ่งวิธีการศึกษาเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 สังเคราะห์ตัวประกอบและรายการสมรรถนะของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ โดยทบทวนวรรณกรรมและบูรณการร่วมกับข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาล ขั้นตอนที่ 2 สร้างแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ โดยรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย นำไปการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ตัวประกอบ สกัดตัวประกอบหลัก หมุนแกนแบบมุมแหลม ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ โดยการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างหัวหน้างานและรองหัวหน้างานของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย เพื่อตรวจสอบความตรง ความเที่ยง และความสอดคล้องของการประเมินระหว่างผู้ประเมิน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. แบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ ประกอบด้วย ตัวประกอบสมรรถนะ 5 ด้าน คือ ด้านกระบวนการเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลาง 22 ข้อ ด้านคุณธรรม จริยธรรม 12 ข้อ ด้านการพัฒนาองค์ความรู้การเจรจาไกล่เกลี่ย 9 ข้อ ด้านคุณลักษณะส่วนบุคคลและการสร้างสัมพันธภาพ 6 ข้อ และด้านการทำงานเป็นทีม 4 ข้อ รวมเป็นสมรรถนะย่อย 53 ข้อ 2. คุณภาพของแบบประเมินด้านความตรง พบว่า ทุกข้อคำถามของแบบประเมินสามารถจำแนกพยาบาลที่ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยที่มีสมรรถนะสูงออกจากที่มีสมรรถนะต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. คุณภาพของแบบประเมินด้านความเที่ยง พบว่า ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค .94 4. คุณภาพของแบบประเมินด้านความสอดคล้องของการประเมินระหว่างผู้ประเมิน พบว่า ในโรงพยาบาลศูนย์ ได้ค่าเท่ากับ .97 และโรงพยาบาลทั่วไป ได้ค่าเท่ากับ .92Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23217 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355139 WY115 อ967 2554 Thesis Main Library Thesis Corner Available การพัฒนาแบบประเมินสมรรถภาพพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง / อรอุมา ศิริวัฒนา in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Vol.27 No.2 (May-Aug) 2015 ([03/16/2016])
[article]
Title : การพัฒนาแบบประเมินสมรรถภาพพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง : สังกัดกองทัพบก Original title : The development of competency assessment scale for staff nurse in 30-90 bed hospitals under the jurisdiction of the Royal Thai Army Material Type: printed text Authors: อรอุมา ศิริวัฒนา, Author ; กัญญดา ประจุศิลป, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.1-10 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Vol.27 No.2 (May-Aug) 2015 [03/16/2016] . - p.1-10Keywords: การพัฒนาแบบประเมินประสิทธิภาพ.พยาบาลประจำการ.โรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง.โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก. Curricular : BNS Link for e-copy: http://tci-thaijo.org/index.php/CUNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25655 [article] การพัฒนาแบบประเมินสมรรถภาพพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง = The development of competency assessment scale for staff nurse in 30-90 bed hospitals under the jurisdiction of the Royal Thai Army : สังกัดกองทัพบก [printed text] / อรอุมา ศิริวัฒนา, Author ; กัญญดา ประจุศิลป, Author . - 2016 . - p.1-10.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Vol.27 No.2 (May-Aug) 2015 [03/16/2016] . - p.1-10Keywords: การพัฒนาแบบประเมินประสิทธิภาพ.พยาบาลประจำการ.โรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง.โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก. Curricular : BNS Link for e-copy: http://tci-thaijo.org/index.php/CUNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25655 การเสริมสร้างพลังอำนาจกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของการพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ / เนตรนภา สาสังข์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : การเสริมสร้างพลังอำนาจกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของการพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ Original title : Empowerment and organization commitment of professional nurses in Thammasat university hospital Material Type: printed text Authors: เนตรนภา สาสังข์, Author ; นิตยา เพ็ญศิรินภา, Author ; อารยา ประเสริฐชัย, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.79-87 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.79-87Keywords: การเสริมสร้างพลังอำนาจ.ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ.พยาบาลวิเชาชีพ.โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25564 [article] การเสริมสร้างพลังอำนาจกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของการพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ = Empowerment and organization commitment of professional nurses in Thammasat university hospital [printed text] / เนตรนภา สาสังข์, Author ; นิตยา เพ็ญศิรินภา, Author ; อารยา ประเสริฐชัย, Author . - 2016 . - p.79-87.
Languages : Thai (tha)การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน / สุภาพร เสือรอด in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน : ในโรงพยาบ่าลชุมชนพื่นที่ติดชายแดนภาคตะวันตก Original title : Proactive health care service of nurseworking in a community hospital at west Material Type: printed text Authors: สุภาพร เสือรอด, Author ; อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.79-87 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.79-87Keywords: การบริการสุขภาพเชิงรุก.การบริการทางการพยาบาล.พยาบาลวิชาชีพ.โรงพยาบาลชุมชนชายแดนภาคตะวันออก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ บรรยายการให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนพื้นที่ติดชายแดนตะวันตก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบปรากฎการณ์วิทยาการตีความตามแนวคิดของ Heidegger คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง โดยผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานเชิงรุกในโรงพยาบาลชุมชน พื้นที่ติดชายแดนภาคะวันตก มีความยินดีในการเข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะจงและการบันทึกเทป ร่วมกับการบันทึกภาคสนาม นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยวิธีการตีความของ Van Manen (1990) ผลการศึกษามีดังนี้ 1 ร่วมวางแผนการเดินทางกับทุกภาคส่วน 2 เดินทางเข้าหมู่บ้านผ่านเส้นทางอันตราย ต้องใช้ผู้ชำนาญทาง 3 เข้าถึงพื้นที่ เริ่มงานทันที ตามหน้าที่ที่แบ่งกัน 4 ออกจากพื้นที่ไปให้ถึงอีกพื้นที่ก่อนพลบค่ำ 5 ดำเนินการตรวจรักษาชาวบ้านมากหน้าหลายตามารอรับบริการ และ 6 เสร็จงานออกจากพื้นที่ บางครั้งมีปัญหากลับโรงพยาบาลล่าช้ากว่ากำหนด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24955 [article] การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน = Proactive health care service of nurseworking in a community hospital at west : ในโรงพยาบ่าลชุมชนพื่นที่ติดชายแดนภาคตะวันตก [printed text] / สุภาพร เสือรอด, Author ; อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author . - 2015 . - p.79-87.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.79-87Keywords: การบริการสุขภาพเชิงรุก.การบริการทางการพยาบาล.พยาบาลวิชาชีพ.โรงพยาบาลชุมชนชายแดนภาคตะวันออก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ บรรยายการให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนพื้นที่ติดชายแดนตะวันตก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบปรากฎการณ์วิทยาการตีความตามแนวคิดของ Heidegger คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง โดยผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานเชิงรุกในโรงพยาบาลชุมชน พื้นที่ติดชายแดนภาคะวันตก มีความยินดีในการเข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะจงและการบันทึกเทป ร่วมกับการบันทึกภาคสนาม นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยวิธีการตีความของ Van Manen (1990) ผลการศึกษามีดังนี้ 1 ร่วมวางแผนการเดินทางกับทุกภาคส่วน 2 เดินทางเข้าหมู่บ้านผ่านเส้นทางอันตราย ต้องใช้ผู้ชำนาญทาง 3 เข้าถึงพื้นที่ เริ่มงานทันที ตามหน้าที่ที่แบ่งกัน 4 ออกจากพื้นที่ไปให้ถึงอีกพื้นที่ก่อนพลบค่ำ 5 ดำเนินการตรวจรักษาชาวบ้านมากหน้าหลายตามารอรับบริการ และ 6 เสร็จงานออกจากพื้นที่ บางครั้งมีปัญหากลับโรงพยาบาลล่าช้ากว่ากำหนด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24955 ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว / บุตธะนา สุมามาลย์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว : โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี Original title : Organizational commitment of temporary nurses in coomunity hospitals, Udonthani province Material Type: printed text Authors: บุตธะนา สุมามาลย์, Author ; นิตยา เพ็ญศิรินภา, Author ; พรทิพย์ กีระพงษ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.104-112 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.104-112Keywords: พยาบาลลูกจ้างชั่วคราว.โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี.ความยึดมั่นต่อองค์การ.ความผูกพันต่อองค์การ. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษา 1.ความผูกพันต่องค์การ 2.ปัจจัยส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงาน และ3.ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจันส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว ประชากรที่ศึกษา พยาบาลลูกจ้างชั่วคราวโรงพยาบาลชุมชนฯ จำนวน 222 คน กลุ่มตัวอย่าง 155 คน เลือกแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ ข้อมูลทัั่วไป ลักษณะของงาน ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน และความผูกพันต่อองค์การ ที่มีความเที่ยงอยู่ระหว่าง 0.69 ถึง 0.78
ผลการศึกษา พบว่า 1 ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.24 2 ปัจจันส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า อายุเฉลี่ย 26 ปี มีระยะเวลาการปฏิบัติงานเฉลี่ย 3 ปี ลักษณะงานโดยรวมอยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 3.62 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.05 และ 3 ลักษณะของงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับทางบวกในระดับต่ำกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ.405 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับความยึดมั้นผูกพันต่อองค์การทางบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .629 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความยึดมั่นผูกพันต่องค์การLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26746 [article] ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว = Organizational commitment of temporary nurses in coomunity hospitals, Udonthani province : โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี [printed text] / บุตธะนา สุมามาลย์, Author ; นิตยา เพ็ญศิรินภา, Author ; พรทิพย์ กีระพงษ์, Author . - 2017 . - p.104-112.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.104-112Keywords: พยาบาลลูกจ้างชั่วคราว.โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี.ความยึดมั่นต่อองค์การ.ความผูกพันต่อองค์การ. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษา 1.ความผูกพันต่องค์การ 2.ปัจจัยส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงาน และ3.ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจันส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว ประชากรที่ศึกษา พยาบาลลูกจ้างชั่วคราวโรงพยาบาลชุมชนฯ จำนวน 222 คน กลุ่มตัวอย่าง 155 คน เลือกแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ ข้อมูลทัั่วไป ลักษณะของงาน ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน และความผูกพันต่อองค์การ ที่มีความเที่ยงอยู่ระหว่าง 0.69 ถึง 0.78
ผลการศึกษา พบว่า 1 ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.24 2 ปัจจันส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า อายุเฉลี่ย 26 ปี มีระยะเวลาการปฏิบัติงานเฉลี่ย 3 ปี ลักษณะงานโดยรวมอยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 3.62 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.05 และ 3 ลักษณะของงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับทางบวกในระดับต่ำกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ.405 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับความยึดมั้นผูกพันต่อองค์การทางบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .629 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความยึดมั่นผูกพันต่องค์การLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26746 ความสัมพันธ์ ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร / กัลยลักษณ์ คลับคล้าย / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2553
Title : ความสัมพันธ์ ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between structural empowerment, Job satisfaction, and administrative roles performance of head nurses, tertiary hospitals, Bangkok Metropolis Material Type: printed text Authors: กัลยลักษณ์ คลับคล้าย, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2553 Pagination: ก-ฎ, 126 แผ่น Layout: แผนภูมิ Size: 30 cm. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: หัวหน้ัาหอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลตติยภูมิ.
ความพึงพอใจ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY105 ก117 2553 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 246 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหาร การเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง และความพึงพอใจในการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .83, .92 และ .76 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23216 ความสัมพันธ์ ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร = Relationships between structural empowerment, Job satisfaction, and administrative roles performance of head nurses, tertiary hospitals, Bangkok Metropolis [printed text] / กัลยลักษณ์ คลับคล้าย, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 . - ก-ฎ, 126 แผ่น : แผนภูมิ ; 30 cm.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: หัวหน้ัาหอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลตติยภูมิ.
ความพึงพอใจ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY105 ก117 2553 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 246 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหาร การเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง และความพึงพอใจในการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .83, .92 และ .76 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23216 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355154 WY105 ก117 2553 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ / ทิพย์สุดา ดวงแก้ว / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2552
Title : ความสัมพันธ์ระว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ Original title : Relationships between strategic leadership of head nurse, job involvment of staff nurse, and effectiveness of patient unit, general hospitals under jurisdiction of the Ministry of Public Health in Northern region Material Type: printed text Authors: ทิพย์สุดา ดวงแก้ว, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2552 Pagination: ก-ฎ, 150 แผ่น Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์.
ภาวะผู้นำ.
หอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.Class number: WY18 ท436 2552 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไป เขตภาคเหนือ จำนวน 356 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .95, .93 และ .87 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ อยู่ในระดับสูง (x-bar = 3.78, SD = .67 ; x-bar = 3.99, SD = .45 และ x-bar = 3.80, SD = .47 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .428 และ .613 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23230 ความสัมพันธ์ระว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ = Relationships between strategic leadership of head nurse, job involvment of staff nurse, and effectiveness of patient unit, general hospitals under jurisdiction of the Ministry of Public Health in Northern region [printed text] / ทิพย์สุดา ดวงแก้ว, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - ก-ฎ, 150 แผ่น : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์.
ภาวะผู้นำ.
หอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.Class number: WY18 ท436 2552 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไป เขตภาคเหนือ จำนวน 356 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .95, .93 และ .87 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ อยู่ในระดับสูง (x-bar = 3.78, SD = .67 ; x-bar = 3.99, SD = .45 และ x-bar = 3.80, SD = .47 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .428 และ .613 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23230 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354744 WY18 ท436 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 / รำไพ ปรียากร / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2552
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 Original title : Relationships between total qualty mamagement ability of head nurse, workaholism, and units' productivity as perceived by staff nurses, general hospitals region 11 Material Type: printed text Authors: รำไพ ปรียากร, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2552 Pagination: ก-ญ, 119 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริหาร.
การบริการ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WX150 ร729 2552 Abstract: งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 จำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มแบบ 2 ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามภาวะการติดงาน และแบบสอบถามผลผลิตของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและคำนวณค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .94, .89 และ.84 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลผลิตของหอผู้ป่วย ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 อยู่ในระดับสูง (X-bar = 3.80, SD = .43, X-bar = 3.54, SD = .61 และ X-bar = 3.87, SD = .48 ตามลำดับ) 2. ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลผลิตของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .47 และ r = .57 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23223 ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 = Relationships between total qualty mamagement ability of head nurse, workaholism, and units' productivity as perceived by staff nurses, general hospitals region 11 [printed text] / รำไพ ปรียากร, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - ก-ญ, 119 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริหาร.
การบริการ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WX150 ร729 2552 Abstract: งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 จำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มแบบ 2 ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามภาวะการติดงาน และแบบสอบถามผลผลิตของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและคำนวณค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .94, .89 และ.84 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลผลิตของหอผู้ป่วย ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 อยู่ในระดับสูง (X-bar = 3.80, SD = .43, X-bar = 3.54, SD = .61 และ X-bar = 3.87, SD = .48 ตามลำดับ) 2. ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลผลิตของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .47 และ r = .57 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23223 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355147 WX150 ร729 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งอดทน การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชากับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม / สุธิดา เรืองเพ็ง / 2550
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งอดทน การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชากับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม Original title : Relationships between hardiness, director support and professional commitment of staff nurses, hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Defense Material Type: printed text Authors: สุธิดา เรืองเพ็ง, Author Publication Date: 2550 Pagination: ก-ญ, 113 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]ผู้บังคับบัญชา
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดกระทราวงกลาโหมKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ผู้บังคับบัญชา.
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม.Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งอดทน การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชากับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม จำนวน 386 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความเข้มแข็งอดทน แบบสอบถามการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .89, .84 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม อยู่ในระดับมาก (X= 3.79 S.D. = .40) 2. ความเข้มแข็งอดทนและ การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชาของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.92 S.D. = .36 และ X = 3.68 S.D. = .65 ตามลำดับ) 3. ความเข้มแข็งอดทนและการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชามีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .44 และ .26 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23221 ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งอดทน การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชากับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม = Relationships between hardiness, director support and professional commitment of staff nurses, hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Defense [printed text] / สุธิดา เรืองเพ็ง, Author . - 2550 . - ก-ญ, 113 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]ผู้บังคับบัญชา
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดกระทราวงกลาโหมKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ผู้บังคับบัญชา.
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม.Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งอดทน การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชากับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม จำนวน 386 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความเข้มแข็งอดทน แบบสอบถามการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .89, .84 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม อยู่ในระดับมาก (X= 3.79 S.D. = .40) 2. ความเข้มแข็งอดทนและ การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชาของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.92 S.D. = .36 และ X = 3.68 S.D. = .65 ตามลำดับ) 3. ความเข้มแข็งอดทนและการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชามีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .44 และ .26 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23221 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354991 WY125 ส844 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การ การสอนแนะกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ / วิมล มาดิษฐ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การ การสอนแนะกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ Original title : Relationships between organization climate, coaching and competencies of professional nurses, regional hospital and medical centers Material Type: printed text Authors: วิมล มาดิษฐ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ญ, 138 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-532-088-9 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บริการการพยาบาล
[LCSH]บริการการพยาบาล -- การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]พยาบาล -- กลุ่มทำงาน
[LCSH]พฤติกรรมองค์กร
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์Keywords: โรงพยาบาลศูนย์.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 ว736 2547 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การ การสอนแนะ กับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการ โรงพยาบาลศูนย์ ที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 ปีขึ้นไป จำนวน 378 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามบรรยากาศองค์การ แบบสอบถามการสอนแนะ และแบบสอบถามสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาความเที่ยง โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 .91 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. บรรยากาศองค์การ การสอนแนะ และสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์อยู่ในระดับสุง ([Mean] = 3.86, 3.80 และ 3.74 ตามลำดับ) 2. บรรยากาศองค์การ การสอนแนะ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .553 และ .546 ตามลำดับ)
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23134 ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การ การสอนแนะกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ = Relationships between organization climate, coaching and competencies of professional nurses, regional hospital and medical centers [printed text] / วิมล มาดิษฐ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ญ, 138 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-532-088-9 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บริการการพยาบาล
[LCSH]บริการการพยาบาล -- การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]พยาบาล -- กลุ่มทำงาน
[LCSH]พฤติกรรมองค์กร
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์Keywords: โรงพยาบาลศูนย์.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 ว736 2547 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การ การสอนแนะ กับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการ โรงพยาบาลศูนย์ ที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 ปีขึ้นไป จำนวน 378 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามบรรยากาศองค์การ แบบสอบถามการสอนแนะ และแบบสอบถามสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาความเที่ยง โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 .91 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. บรรยากาศองค์การ การสอนแนะ และสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์อยู่ในระดับสุง ([Mean] = 3.86, 3.80 และ 3.74 ตามลำดับ) 2. บรรยากาศองค์การ การสอนแนะ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .553 และ .546 ตามลำดับ)
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23134 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354645 WY100 ว736 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงาน กับความเข็มแข็ง / พัชราพร แจ่มแจ้ง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงาน กับความเข็มแข็ง : ในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน Original title : Relationships between personality social support job characteristics and sense of coherence of staff nurses community hosptials Material Type: printed text Authors: พัชราพร แจ่มแจ้ง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ญ, 169 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-344-6 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การบริหารพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: บุคลิกภาพ.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลชุมชนClass number: WY18พ612 2546 Abstract: งานวิจัยนี้เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงานกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน และศึกษาตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จำนวน 393 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดบุคลิกภาพเปิดเผย ประนีประนอม อารมณ์มั่นคง ควบคุมตนเอง และบุคลิกภาพเิปิดรับประสบการณ์ แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา และเพื่อนร่วมงานจ ลักษณะงาน และความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงโดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .78 .73 .77 .79 .78 .94 .93 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัีมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณแบบขั้ยตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย คือ 3.87
2. บุคลิกภาพเปิดเผย บุคลิกภาพประนีประนอม บุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิิกภาพเปิดรับประสบการณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประำจำการอย่างมีนัยสำคัยทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.353 .305 .332 .398 และ .412 ตามลำดับ)
3. การสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา การสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.352 และ .474 ตามลำดับ)
4. ลักษณะงานมีความสัีมพันธ์ทางระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.662)
5. ตัวแปรพยากรณ์ ได้แก่ ลักษณะงาน บุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ และการสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน สามารถร่วมกันพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการได้อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของความเข็มแข็งในการมองโลกได้ร้อยละ 50.08 (R ยกกำลังสอง = .508) และสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน.Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23330 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงาน กับความเข็มแข็ง = Relationships between personality social support job characteristics and sense of coherence of staff nurses community hosptials : ในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน [printed text] / พัชราพร แจ่มแจ้ง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ญ, 169 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-344-6 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การบริหารพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: บุคลิกภาพ.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลชุมชนClass number: WY18พ612 2546 Abstract: งานวิจัยนี้เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงานกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน และศึกษาตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จำนวน 393 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดบุคลิกภาพเปิดเผย ประนีประนอม อารมณ์มั่นคง ควบคุมตนเอง และบุคลิกภาพเิปิดรับประสบการณ์ แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา และเพื่อนร่วมงานจ ลักษณะงาน และความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงโดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .78 .73 .77 .79 .78 .94 .93 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัีมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณแบบขั้ยตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย คือ 3.87
2. บุคลิกภาพเปิดเผย บุคลิกภาพประนีประนอม บุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิิกภาพเปิดรับประสบการณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประำจำการอย่างมีนัยสำคัยทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.353 .305 .332 .398 และ .412 ตามลำดับ)
3. การสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา การสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.352 และ .474 ตามลำดับ)
4. ลักษณะงานมีความสัีมพันธ์ทางระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.662)
5. ตัวแปรพยากรณ์ ได้แก่ ลักษณะงาน บุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ และการสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน สามารถร่วมกันพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการได้อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของความเข็มแข็งในการมองโลกได้ร้อยละ 50.08 (R ยกกำลังสอง = .508) และสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน.Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23330 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357259 THE WY18พ612 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available