From this page you can:
Home |
Search results
149 result(s) search for keyword(s) 'การบริหารคุณภาพโดยรวม. โรงพยาบาล. การบริหาร. การบริการ. พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 / รำไพ ปรียากร / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2552
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 Original title : Relationships between total qualty mamagement ability of head nurse, workaholism, and units' productivity as perceived by staff nurses, general hospitals region 11 Material Type: printed text Authors: รำไพ ปรียากร, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2552 Pagination: ก-ญ, 119 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริหาร.
การบริการ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WX150 ร729 2552 Abstract: งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 จำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มแบบ 2 ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามภาวะการติดงาน และแบบสอบถามผลผลิตของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและคำนวณค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .94, .89 และ.84 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลผลิตของหอผู้ป่วย ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 อยู่ในระดับสูง (X-bar = 3.80, SD = .43, X-bar = 3.54, SD = .61 และ X-bar = 3.87, SD = .48 ตามลำดับ) 2. ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลผลิตของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .47 และ r = .57 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23223 ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 = Relationships between total qualty mamagement ability of head nurse, workaholism, and units' productivity as perceived by staff nurses, general hospitals region 11 [printed text] / รำไพ ปรียากร, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - ก-ญ, 119 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริหาร.
การบริการ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WX150 ร729 2552 Abstract: งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 จำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มแบบ 2 ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามภาวะการติดงาน และแบบสอบถามผลผลิตของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและคำนวณค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .94, .89 และ.84 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลผลิตของหอผู้ป่วย ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 อยู่ในระดับสูง (X-bar = 3.80, SD = .43, X-bar = 3.54, SD = .61 และ X-bar = 3.87, SD = .48 ตามลำดับ) 2. ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลผลิตของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .47 และ r = .57 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23223 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355147 WX150 ร729 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available การศึกษาสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข / วีรวรรณ เกิดทอง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2543
Title : การศึกษาสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : A study of orgaizational health of nursing departments governmental hospital health under the jurisdiction of theMinstry of public health Material Type: printed text Authors: วีรวรรณ เกิดทอง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2543 Pagination: ฎ, 165 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-131-018-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การรับรองคุณภาพ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริการAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสุขภพาองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข และเปรียบเทียบสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล จำแนกตามการได้รับรองคุณภาพโรงพยาบาล และที่ตั้งโรงพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพ ประกอบด้วยพยาบาลประจำการ 753 คน และผู้บริหาร 181 คส สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงหนื้อหาและทดสอบความเที่ยงด้วยการหาสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้่อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและทดสอบความแตกต่าง Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23364 การศึกษาสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข = A study of orgaizational health of nursing departments governmental hospital health under the jurisdiction of theMinstry of public health [printed text] / วีรวรรณ เกิดทอง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 . - ฎ, 165 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-131-018-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การรับรองคุณภาพ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริการAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสุขภพาองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข และเปรียบเทียบสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล จำแนกตามการได้รับรองคุณภาพโรงพยาบาล และที่ตั้งโรงพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพ ประกอบด้วยพยาบาลประจำการ 753 คน และผู้บริหาร 181 คส สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงหนื้อหาและทดสอบความเที่ยงด้วยการหาสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้่อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและทดสอบความแตกต่าง Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23364 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000543171 THE WY125 ว737 2543 Thesis Main Library Thesis Corner Available วัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ / เฉลิมศรี นนทนาคร / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2549
Title : วัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Original title : The nursing organizational culture of accredited regional hospitals Material Type: printed text Authors: เฉลิมศรี นนทนาคร, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2549 Pagination: ก-ญ, 214 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2549 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การบริหาร.
โรงพยาบาล.
การรับรองคุณภาพ.
การบริการ.Class number: WX15 ฉ276 2549 Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาวัฒนธรรมองค์การพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพโดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) ผู้ให้ข้อมูลคือผู้เชี่ยวชาญจำนวน 29 คน ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านการพยาบาลศึกษา ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญด้านการปฏิบัติการพยาบาล และผู้เชี่ยวชาญด้านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล วิธีการดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสัมภาษณ์เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ ขั้นตอนที่ 2 นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหาแล้วนำมาสร้างแบบสอบถาม เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความสำคัญของข้อคำถามแต่ละข้อ ขั้นตอนที่ 3 นำข้อมูลที่ได้มาคำนวณค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ และส่งแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันความคิดเห็นเพื่อสรุปเป็นวัฒนธรรมองค์การพยาบาลที่สำคัญ หลังจากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาสรุปผลการวิจัยโดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 และค่าผลต่างระหว่างฐานนิยมและมัธยฐานไม่เกิน 1.00 ผลการวิจัยพบว่า วัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ รวม 61 รายการ ดังนี้ 1) ผู้นำ 7 รายการ 2) การบริหารองค์การ 11 รายการ 3) การบริการ 11 รายการ 4) การพัฒนาคุณภาพการบริการ 10 รายการ 5) คุณภาพชีวิตการทำงาน 9 รายการ 6) ไมตรีสัมพันธ์ 6 รายการ 7) สภาพแวดล้อม 7 รายการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23197 วัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ = The nursing organizational culture of accredited regional hospitals [printed text] / เฉลิมศรี นนทนาคร, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 . - ก-ญ, 214 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2549
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การบริหาร.
โรงพยาบาล.
การรับรองคุณภาพ.
การบริการ.Class number: WX15 ฉ276 2549 Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาวัฒนธรรมองค์การพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพโดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) ผู้ให้ข้อมูลคือผู้เชี่ยวชาญจำนวน 29 คน ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านการพยาบาลศึกษา ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญด้านการปฏิบัติการพยาบาล และผู้เชี่ยวชาญด้านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล วิธีการดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสัมภาษณ์เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ ขั้นตอนที่ 2 นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหาแล้วนำมาสร้างแบบสอบถาม เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความสำคัญของข้อคำถามแต่ละข้อ ขั้นตอนที่ 3 นำข้อมูลที่ได้มาคำนวณค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ และส่งแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันความคิดเห็นเพื่อสรุปเป็นวัฒนธรรมองค์การพยาบาลที่สำคัญ หลังจากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาสรุปผลการวิจัยโดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 และค่าผลต่างระหว่างฐานนิยมและมัธยฐานไม่เกิน 1.00 ผลการวิจัยพบว่า วัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ รวม 61 รายการ ดังนี้ 1) ผู้นำ 7 รายการ 2) การบริหารองค์การ 11 รายการ 3) การบริการ 11 รายการ 4) การพัฒนาคุณภาพการบริการ 10 รายการ 5) คุณภาพชีวิตการทำงาน 9 รายการ 6) ไมตรีสัมพันธ์ 6 รายการ 7) สภาพแวดล้อม 7 รายการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23197 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355014 WX15 ฉ276 2549 Thesis Main Library Thesis Corner Available การจัดการเชิงระบบ: วิถีองค์รวมเพื่อการสร้างคุณค่า / สถาบันพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพโรงพยาบาล / นนทบุรี : สถาบันพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพโรงพยาบาล - 2548
Title : การจัดการเชิงระบบ: วิถีองค์รวมเพื่อการสร้างคุณค่า : (15-19 มีนาคม 2548) ณ. ศูนย์การประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี Original title : 6th National forum on quality improvement & hospital accreditation. Material Type: printed text Authors: สถาบันพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพโรงพยาบาล, Author Publisher: นนทบุรี : สถาบันพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพโรงพยาบาล Publication Date: 2548 Pagination: vii, 264 หน้า. Size: 29 ซม. ISBN (or other code): 978-974-465-962-9 General note: ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]Hospital Accreditation
[LCSH]โรงพยาบาล -- การจัดการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: โรงพยาบาล.
การบริหาร.
การจัดการ.Class number: RA971 ส842 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22978 การจัดการเชิงระบบ: วิถีองค์รวมเพื่อการสร้างคุณค่า = 6th National forum on quality improvement & hospital accreditation. : (15-19 มีนาคม 2548) ณ. ศูนย์การประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี [printed text] / สถาบันพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพโรงพยาบาล, Author . - นนทบุรี : สถาบันพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพโรงพยาบาล, 2548 . - vii, 264 หน้า. ; 29 ซม.
ISSN : 978-974-465-962-9
ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]Hospital Accreditation
[LCSH]โรงพยาบาล -- การจัดการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: โรงพยาบาล.
การบริหาร.
การจัดการ.Class number: RA971 ส842 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22978 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354082 RA971 ส842 2548 Book Main Library Library Counter Not for loan การบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ / สมบูณ ขัตติยะสุวงศ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2543
Title : การบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ : ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลรัฐและเอกชน กรุงเทพมหานคร Original title : Hospital services based on service marketing mix strategies as perceived by clients governmental and private hospitals Banglok metropolis Material Type: printed text Authors: สมบูณ ขัตติยะสุวงศ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2543 Pagination: ก-ฎ,134 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-130-979-1 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย.ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตลาด
[LCSH]อุตสาหกรรมบริการ -- การตลาด
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การบริหารโรงพยาบาล.
การตลาด.
การบริการ.Class number: WX150 ส865 2543 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เปรียบเทียบการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการระหว่างโรงพยาบาลรัฐบาล โรงพยาบาลเอกชนที่ดำเนินการในรูปบริษัท และโรงพยาบาลเอกชนที่เป็นขององค์กรศาสนา หรือมูลนิธิ 2. เปรียบเทียบการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลุยทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการระหว่างโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองคุณภาพ (HA) กับโรงพยาบาลที่ยังไม่ได้รับการรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ใช้บริการจำนวน 368 คน สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบการบริการตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและทดสอบความเที่ยว .90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และสถิติทดสอบความแปรปรวนทางเดียวและสถิติทดสอบ เชพเฟ
ผลการวิจัยพบว่า
1. ค่าเฉลี่ยบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านผลิตภัณฑ์บริการ บุคลากร ลักษณะทางกายภาพ และกระบวนการ อยู่ในระดับมากส่วนด้านราคา ช่องทางการให้บริการ และการส่งเสริมการตลาดอยู่ในระดับปานกลาง
2. ค่าเฉลี่ยการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ จำแนกตามประเภทโรงพยาบาล ระหว่างโรงพยาบาลรัฐบาล และโรงพยาบาลเอกชนที่ดำเนินการในรูปบริษัท และโรงพยาบาลเอกชนที่เป็นขององค์กรศาสนา มูลนิธิ พบว่าค่าเฉลี่ยโรงพยาบาลรัฐกับเอกชนที่เป็นขององค์กรศาสนาหรือมูลนิธิมีค่าเฉลี่ยด้านผลิตภัณฑ์บริการ การส่งเสริมการตลาด บุคลากร และโดยรวมแตกต่างกัน โรงพยาบาลของรัฐกับเอกชนที่ดำเนินการในรูปบริษัทมีค่าเฉลี่ยด้านผลิตภัณฑ์บริการ ราคา ลักษณะทางกายภาพ กระบวนการ และโดยรวมแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05
3. ค่าเฉลี่ยการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ จำแนกตามประเภทของโรงพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) กับโรงพยาบาลที่ยังไม่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Non HA) พบว่าโดยรวมไม่แตกต่างกัน ด้านราคา ช่องทางการให้บริการ และการส่งเสริมการตลาดแตกต่างกันที่ระัดับนัยสำคัญ .05 ด้านการผลิดภัณฑ์บริการ บุคลากร ลักษณะทางกายภาพ และกระบวนการให้บริการไม่แตกต่างกันCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23325 การบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ = Hospital services based on service marketing mix strategies as perceived by clients governmental and private hospitals Banglok metropolis : ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลรัฐและเอกชน กรุงเทพมหานคร [printed text] / สมบูณ ขัตติยะสุวงศ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 . - ก-ฎ,134 แผ่น. : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-130-979-1 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย.ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตลาด
[LCSH]อุตสาหกรรมบริการ -- การตลาด
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การบริหารโรงพยาบาล.
การตลาด.
การบริการ.Class number: WX150 ส865 2543 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เปรียบเทียบการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการระหว่างโรงพยาบาลรัฐบาล โรงพยาบาลเอกชนที่ดำเนินการในรูปบริษัท และโรงพยาบาลเอกชนที่เป็นขององค์กรศาสนา หรือมูลนิธิ 2. เปรียบเทียบการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลุยทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการระหว่างโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองคุณภาพ (HA) กับโรงพยาบาลที่ยังไม่ได้รับการรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ใช้บริการจำนวน 368 คน สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบการบริการตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและทดสอบความเที่ยว .90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และสถิติทดสอบความแปรปรวนทางเดียวและสถิติทดสอบ เชพเฟ
ผลการวิจัยพบว่า
1. ค่าเฉลี่ยบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านผลิตภัณฑ์บริการ บุคลากร ลักษณะทางกายภาพ และกระบวนการ อยู่ในระดับมากส่วนด้านราคา ช่องทางการให้บริการ และการส่งเสริมการตลาดอยู่ในระดับปานกลาง
2. ค่าเฉลี่ยการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ จำแนกตามประเภทโรงพยาบาล ระหว่างโรงพยาบาลรัฐบาล และโรงพยาบาลเอกชนที่ดำเนินการในรูปบริษัท และโรงพยาบาลเอกชนที่เป็นขององค์กรศาสนา มูลนิธิ พบว่าค่าเฉลี่ยโรงพยาบาลรัฐกับเอกชนที่เป็นขององค์กรศาสนาหรือมูลนิธิมีค่าเฉลี่ยด้านผลิตภัณฑ์บริการ การส่งเสริมการตลาด บุคลากร และโดยรวมแตกต่างกัน โรงพยาบาลของรัฐกับเอกชนที่ดำเนินการในรูปบริษัทมีค่าเฉลี่ยด้านผลิตภัณฑ์บริการ ราคา ลักษณะทางกายภาพ กระบวนการ และโดยรวมแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05
3. ค่าเฉลี่ยการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ จำแนกตามประเภทของโรงพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) กับโรงพยาบาลที่ยังไม่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Non HA) พบว่าโดยรวมไม่แตกต่างกัน ด้านราคา ช่องทางการให้บริการ และการส่งเสริมการตลาดแตกต่างกันที่ระัดับนัยสำคัญ .05 ด้านการผลิดภัณฑ์บริการ บุคลากร ลักษณะทางกายภาพ และกระบวนการให้บริการไม่แตกต่างกันCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23325 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357317 THE WX150 ส865 2543 Thesis Main Library Thesis Corner Available การรับรู้ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล / บุบผา พวงมาลี / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2542
Title : การรับรู้ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล : โรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานคร Original title : perception of learning organization of nursing department governmental hospital Bangkok metopolis Material Type: printed text Authors: บุบผา พวงมาลี, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2542 Pagination: ก-ญ, 170 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-334-594-9 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริการการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]องค์การแห่งการเรียนรู้
[LCSH]โรงพยาบาลของรัฐ -- การบริหารKeywords: องค์การแห่งการเรียนรู้.
การพยาบาล.
โรงพยาบาลของรัฐ.
การบริหาร.Class number: WX150 บ545 2542 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ รับรู้ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 ปี ขึ้นไป โรงพยาบาลของรัฐ เขตกทม. 8 แห่ง จำนวน 380 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบ หลายขั้นตอน เครื่อมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเกี่ยวกับความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล มีค่าความเที่ยง .98 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานครโดยรวมอยู่ในระดับสูง และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมและการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง การมีแบบแผนความคิด การสร่างวิสัยทัศน์ร่วมกัน อยู่ในในระดับสูง
2. ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาลของสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย อยู่ในระดัีบปานกลาง และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า สังกัดกรุงเทพมหานคร ด้านการมีแบบแผนความคิดอยู่ในระดับสูง ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การเรียนรู้กันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติด้านการมีแบบแผนความคิด การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง สังกัดกระทรวงกลาโหม ทุกด้านอยู่ในระดับสูง สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การมีแบบแผนความคิด อยู่ในระดับสูง ด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบอยู่ในระดับปานกลาง สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ทุกด้านอยู่ในระดับปานกลางCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23349 การรับรู้ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล = perception of learning organization of nursing department governmental hospital Bangkok metopolis : โรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานคร [printed text] / บุบผา พวงมาลี, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 . - ก-ญ, 170 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-334-594-9 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริการการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]องค์การแห่งการเรียนรู้
[LCSH]โรงพยาบาลของรัฐ -- การบริหารKeywords: องค์การแห่งการเรียนรู้.
การพยาบาล.
โรงพยาบาลของรัฐ.
การบริหาร.Class number: WX150 บ545 2542 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ รับรู้ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 ปี ขึ้นไป โรงพยาบาลของรัฐ เขตกทม. 8 แห่ง จำนวน 380 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบ หลายขั้นตอน เครื่อมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเกี่ยวกับความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล มีค่าความเที่ยง .98 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานครโดยรวมอยู่ในระดับสูง และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมและการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง การมีแบบแผนความคิด การสร่างวิสัยทัศน์ร่วมกัน อยู่ในในระดับสูง
2. ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาลของสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย อยู่ในระดัีบปานกลาง และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า สังกัดกรุงเทพมหานคร ด้านการมีแบบแผนความคิดอยู่ในระดับสูง ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การเรียนรู้กันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติด้านการมีแบบแผนความคิด การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง สังกัดกระทรวงกลาโหม ทุกด้านอยู่ในระดับสูง สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การมีแบบแผนความคิด อยู่ในระดับสูง ด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบอยู่ในระดับปานกลาง สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ทุกด้านอยู่ในระดับปานกลางCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23349 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357002 THE WX150 บ545 2542 Thesis Main Library Thesis Corner Available การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน / สุภาพร เสือรอด in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน : ในโรงพยาบ่าลชุมชนพื่นที่ติดชายแดนภาคตะวันตก Original title : Proactive health care service of nurseworking in a community hospital at west Material Type: printed text Authors: สุภาพร เสือรอด, Author ; อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.79-87 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.79-87Keywords: การบริการสุขภาพเชิงรุก.การบริการทางการพยาบาล.พยาบาลวิชาชีพ.โรงพยาบาลชุมชนชายแดนภาคตะวันออก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ บรรยายการให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนพื้นที่ติดชายแดนตะวันตก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบปรากฎการณ์วิทยาการตีความตามแนวคิดของ Heidegger คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง โดยผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานเชิงรุกในโรงพยาบาลชุมชน พื้นที่ติดชายแดนภาคะวันตก มีความยินดีในการเข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะจงและการบันทึกเทป ร่วมกับการบันทึกภาคสนาม นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยวิธีการตีความของ Van Manen (1990) ผลการศึกษามีดังนี้ 1 ร่วมวางแผนการเดินทางกับทุกภาคส่วน 2 เดินทางเข้าหมู่บ้านผ่านเส้นทางอันตราย ต้องใช้ผู้ชำนาญทาง 3 เข้าถึงพื้นที่ เริ่มงานทันที ตามหน้าที่ที่แบ่งกัน 4 ออกจากพื้นที่ไปให้ถึงอีกพื้นที่ก่อนพลบค่ำ 5 ดำเนินการตรวจรักษาชาวบ้านมากหน้าหลายตามารอรับบริการ และ 6 เสร็จงานออกจากพื้นที่ บางครั้งมีปัญหากลับโรงพยาบาลล่าช้ากว่ากำหนด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24955 [article] การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน = Proactive health care service of nurseworking in a community hospital at west : ในโรงพยาบ่าลชุมชนพื่นที่ติดชายแดนภาคตะวันตก [printed text] / สุภาพร เสือรอด, Author ; อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author . - 2015 . - p.79-87.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.79-87Keywords: การบริการสุขภาพเชิงรุก.การบริการทางการพยาบาล.พยาบาลวิชาชีพ.โรงพยาบาลชุมชนชายแดนภาคตะวันออก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ บรรยายการให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนพื้นที่ติดชายแดนตะวันตก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบปรากฎการณ์วิทยาการตีความตามแนวคิดของ Heidegger คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง โดยผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานเชิงรุกในโรงพยาบาลชุมชน พื้นที่ติดชายแดนภาคะวันตก มีความยินดีในการเข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะจงและการบันทึกเทป ร่วมกับการบันทึกภาคสนาม นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยวิธีการตีความของ Van Manen (1990) ผลการศึกษามีดังนี้ 1 ร่วมวางแผนการเดินทางกับทุกภาคส่วน 2 เดินทางเข้าหมู่บ้านผ่านเส้นทางอันตราย ต้องใช้ผู้ชำนาญทาง 3 เข้าถึงพื้นที่ เริ่มงานทันที ตามหน้าที่ที่แบ่งกัน 4 ออกจากพื้นที่ไปให้ถึงอีกพื้นที่ก่อนพลบค่ำ 5 ดำเนินการตรวจรักษาชาวบ้านมากหน้าหลายตามารอรับบริการ และ 6 เสร็จงานออกจากพื้นที่ บางครั้งมีปัญหากลับโรงพยาบาลล่าช้ากว่ากำหนด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24955 ความสัมพันธ์ระว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ / ทิพย์สุดา ดวงแก้ว / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2552
Title : ความสัมพันธ์ระว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ Original title : Relationships between strategic leadership of head nurse, job involvment of staff nurse, and effectiveness of patient unit, general hospitals under jurisdiction of the Ministry of Public Health in Northern region Material Type: printed text Authors: ทิพย์สุดา ดวงแก้ว, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2552 Pagination: ก-ฎ, 150 แผ่น Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์.
ภาวะผู้นำ.
หอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.Class number: WY18 ท436 2552 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไป เขตภาคเหนือ จำนวน 356 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .95, .93 และ .87 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ อยู่ในระดับสูง (x-bar = 3.78, SD = .67 ; x-bar = 3.99, SD = .45 และ x-bar = 3.80, SD = .47 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .428 และ .613 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23230 ความสัมพันธ์ระว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ = Relationships between strategic leadership of head nurse, job involvment of staff nurse, and effectiveness of patient unit, general hospitals under jurisdiction of the Ministry of Public Health in Northern region [printed text] / ทิพย์สุดา ดวงแก้ว, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - ก-ฎ, 150 แผ่น : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์.
ภาวะผู้นำ.
หอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.Class number: WY18 ท436 2552 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไป เขตภาคเหนือ จำนวน 356 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .95, .93 และ .87 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ อยู่ในระดับสูง (x-bar = 3.78, SD = .67 ; x-bar = 3.99, SD = .45 และ x-bar = 3.80, SD = .47 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .428 และ .613 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23230 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354744 WY18 ท436 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ / กุลญนาท ผ่องแผ้ว / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2549
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Original title : Relationships between total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses at accredited regional hospitals Material Type: printed text Authors: กุลญนาท ผ่องแผ้ว, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2549 Pagination: ก-ญ, 129 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2549 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]ความสามารถทางการบริหาร
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: วัฒนธรรมองค์การ.
การบริหาร
โรงพยาบาลClass number: WX40 ก133 2549 Abstract: To examine the relationships between total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses at accredited regional hospitals. Subject were 352 staff nurses how worked in patient units at accredited regional hospitals more than 3 years, selected by multi-stage sampling. Data were collected by using questionnaires : demographic data, total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient units. The questionnaires were tested for content validity and reliability by Cronbach’s alpha coefficients were .98, .95, and .92, respectively. Data were analyzed by percentage, frequency, mean, standard deviation and Pearson’s product moment correlation coefficient. The major findings were as follows: 1. Effectiveness of patient units, total quality management ability of head nurses and constructive organizational culture at accredited regional hospitals were at high level. (mean = 4.02, SD = .42, X = 3.93, SD = .59 and mean = 3.82, DS = .50, respectively) 2. Total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture were positive significantly correlated with effectiveness of patient units, at the .05 level.) r = .72 and .75, respectively.
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ จำนวน 352 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามรถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .98, .95 และ .92 ตามลชำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย และวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ อยู่ในระดับสูง (X =4.02, SD =.42, X =3.93, SD =.59 และ X =3.82, SD = .50 ตามลำดับ) 2. ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย และวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .72 และ .75 ตามลำดับ)Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23133 ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ = Relationships between total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses at accredited regional hospitals [printed text] / กุลญนาท ผ่องแผ้ว, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 . - ก-ญ, 129 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2549
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]ความสามารถทางการบริหาร
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: วัฒนธรรมองค์การ.
การบริหาร
โรงพยาบาลClass number: WX40 ก133 2549 Abstract: To examine the relationships between total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses at accredited regional hospitals. Subject were 352 staff nurses how worked in patient units at accredited regional hospitals more than 3 years, selected by multi-stage sampling. Data were collected by using questionnaires : demographic data, total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient units. The questionnaires were tested for content validity and reliability by Cronbach’s alpha coefficients were .98, .95, and .92, respectively. Data were analyzed by percentage, frequency, mean, standard deviation and Pearson’s product moment correlation coefficient. The major findings were as follows: 1. Effectiveness of patient units, total quality management ability of head nurses and constructive organizational culture at accredited regional hospitals were at high level. (mean = 4.02, SD = .42, X = 3.93, SD = .59 and mean = 3.82, DS = .50, respectively) 2. Total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture were positive significantly correlated with effectiveness of patient units, at the .05 level.) r = .72 and .75, respectively.
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ จำนวน 352 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามรถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .98, .95 และ .92 ตามลชำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย และวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ อยู่ในระดับสูง (X =4.02, SD =.42, X =3.93, SD =.59 และ X =3.82, SD = .50 ตามลำดับ) 2. ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย และวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .72 และ .75 ตามลำดับ)Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23133 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354421 WX40 ก133 2549 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย / ปราณี มีหาญพงษ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย : พฤติกรรมการเป็นสมาชิกองค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป Original title : Relationships between transformational leadership of head nurses organizational citizenship behavior and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses general hospital Material Type: printed text Authors: ปราณี มีหาญพงษ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ฎ, 126 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-935-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์การ
[LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารองค์การ.
ภาวะผู้นำ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ป572 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย พฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปจำนวน 389 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .96, .91 และ .93 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป อยู่ในระดับสูง ([Mean] = 4.00, S.D. = .40, [Mean] = 3.84, S.D. = .56 และ [Mean] = 4.00, S.D. = .33 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .57 และ .52 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23131 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย = Relationships between transformational leadership of head nurses organizational citizenship behavior and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses general hospital : พฤติกรรมการเป็นสมาชิกองค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป [printed text] / ปราณี มีหาญพงษ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ฎ, 126 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-935-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์การ
[LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารองค์การ.
ภาวะผู้นำ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ป572 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย พฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปจำนวน 389 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .96, .91 และ .93 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป อยู่ในระดับสูง ([Mean] = 4.00, S.D. = .40, [Mean] = 3.84, S.D. = .56 และ [Mean] = 4.00, S.D. = .33 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .57 และ .52 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23131 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354470 WY18 ป572 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำและกระบวนการบริหารคุณภาพบริการดกับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ในเขตภาคกลาง / กนกพร สุทธิกาญจน์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำและกระบวนการบริหารคุณภาพบริการดกับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ในเขตภาคกลาง Original title : Relationship between personal factors leader traits and service quality management process and perceived performance of the administration board members of mediums size private hospital in the central region Material Type: printed text Authors: กนกพร สุทธิกาญจน์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ฎ, 155 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-545-023-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [สม. [วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]คุณภาพการบริการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลเอกชนKeywords: ภาวะผู้นำ.
โรงพยาบาล.
การบริการ.Class number: WX40 ก151 2547 Abstract: การศึกษาเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำกรรมการบริหาร กระบวนการบริหารคุณภาพบริการของกรรมการบริหารกับผลการดำเนินงานตามการับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลด้านบริการ การมุ่งเน้นลูกค้า การเิงิน และการตลาด และประสิทธิผลของโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง จำนวน 14 แห่ง โดยการสุ่มตัวอย่างเก็บข้อมูลจากกรรมการบริหารของโรงพยาบาลเอกชนทั้งหมดจำนวน 116 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า กรรมการบริหารโรงพยาบาลส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 75.0 มีสถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 64.7 มีประสบการณืบริหารตั้งแต่ 1-3 ปั ร้อยละ 30.2 สำเร็จการศึกาาระดับปริญยาตรี ร้อยละ 66.4 คณะกรรมการบริหารมีลักษณะเป็นผู็นำอยู่ในระดับสูงทุกลักษณะ ยกเว้นการให้กำลัีงใจเป็นนิจระดับปานกลาง กระบวนการบริหารคุณภาพบริการอยู่ในระดับสูง และผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง
การศึกษาความสัีมพันธ์พบว่า ลักษณะประชากรมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารอย่างไม่มีนัียสำคัญทางสถิติ p-value>0.05 ลักษณะผู้นำมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารทางบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value<0.05,r=0.66 สำหรับด้านการวางแผนเชิงกลยุทธ์และการมุ่งเน้นลูกค้าและการตลาดมีความสัมพันธ์ระดับปานกลาง r=0.51และ0.53 ตามลำดับ ส่วนการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคลมีความสัีมพันธ์ในระดับค่อนข้่างสูง r=0.65 ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคือ ในการบริหารงานโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ผู้บริหารควรให้ความสำคัญกับผลการดำเนินงานเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับบริการที่ดีมีคุณธรรม
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23137 ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำและกระบวนการบริหารคุณภาพบริการดกับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ในเขตภาคกลาง = Relationship between personal factors leader traits and service quality management process and perceived performance of the administration board members of mediums size private hospital in the central region [printed text] / กนกพร สุทธิกาญจน์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ฎ, 155 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-545-023-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [สม. [วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]คุณภาพการบริการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลเอกชนKeywords: ภาวะผู้นำ.
โรงพยาบาล.
การบริการ.Class number: WX40 ก151 2547 Abstract: การศึกษาเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำกรรมการบริหาร กระบวนการบริหารคุณภาพบริการของกรรมการบริหารกับผลการดำเนินงานตามการับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลด้านบริการ การมุ่งเน้นลูกค้า การเิงิน และการตลาด และประสิทธิผลของโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง จำนวน 14 แห่ง โดยการสุ่มตัวอย่างเก็บข้อมูลจากกรรมการบริหารของโรงพยาบาลเอกชนทั้งหมดจำนวน 116 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า กรรมการบริหารโรงพยาบาลส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 75.0 มีสถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 64.7 มีประสบการณืบริหารตั้งแต่ 1-3 ปั ร้อยละ 30.2 สำเร็จการศึกาาระดับปริญยาตรี ร้อยละ 66.4 คณะกรรมการบริหารมีลักษณะเป็นผู็นำอยู่ในระดับสูงทุกลักษณะ ยกเว้นการให้กำลัีงใจเป็นนิจระดับปานกลาง กระบวนการบริหารคุณภาพบริการอยู่ในระดับสูง และผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง
การศึกษาความสัีมพันธ์พบว่า ลักษณะประชากรมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารอย่างไม่มีนัียสำคัญทางสถิติ p-value>0.05 ลักษณะผู้นำมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารทางบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value<0.05,r=0.66 สำหรับด้านการวางแผนเชิงกลยุทธ์และการมุ่งเน้นลูกค้าและการตลาดมีความสัมพันธ์ระดับปานกลาง r=0.51และ0.53 ตามลำดับ ส่วนการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคลมีความสัีมพันธ์ในระดับค่อนข้่างสูง r=0.65 ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคือ ในการบริหารงานโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ผู้บริหารควรให้ความสำคัญกับผลการดำเนินงานเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับบริการที่ดีมีคุณธรรม
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23137 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354652 WX40 ก151 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจในองค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบ่าล / อารีย์ คำนวนศักดิ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจในองค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบ่าล Original title : Relationships between constructive culture organizational trust and performance of nursing department as recieved by professional nurse at accredited regional hospitals and medical centers Material Type: printed text Authors: อารีย์ คำนวนศักดิ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ญ, 124 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-179-810-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริการการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ
ความผูกผันต่อองค์การ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.Class number: WY125 อ927 2545 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับผลการดำเนินงานของกลุ่มพยาบาล ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจองค์การ กับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลกลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการจำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งขั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของกลุ่มงานการพยาบาล แบบสอบถามความไว้วางใจในองค์การและแบบสอบถามผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .092 .94 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัีน และการวิเคราะห์ถดถอยแบบเข้าทีละตัว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.91)
2. ความไว้วางใจในองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.625 p<.01)
3. วัฒนธรรมเชิงสร้่างสรรค์มีความสัมพนะ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.606 p<.01)
4. ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลได้แก่ ความไว้วางใจองค์การ และวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ซึ่งสมารถร่วมกันพยากรณ์ ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลได้ร้อยละ 43.50 (R ยกกำลังสอง = .435 p<.05) โดยสมการพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23363 ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจในองค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบ่าล = Relationships between constructive culture organizational trust and performance of nursing department as recieved by professional nurse at accredited regional hospitals and medical centers [printed text] / อารีย์ คำนวนศักดิ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ญ, 124 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-179-810-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริการการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ
ความผูกผันต่อองค์การ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.Class number: WY125 อ927 2545 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับผลการดำเนินงานของกลุ่มพยาบาล ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจองค์การ กับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลกลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการจำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งขั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของกลุ่มงานการพยาบาล แบบสอบถามความไว้วางใจในองค์การและแบบสอบถามผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .092 .94 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัีน และการวิเคราะห์ถดถอยแบบเข้าทีละตัว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.91)
2. ความไว้วางใจในองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.625 p<.01)
3. วัฒนธรรมเชิงสร้่างสรรค์มีความสัมพนะ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.606 p<.01)
4. ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลได้แก่ ความไว้วางใจองค์การ และวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ซึ่งสมารถร่วมกันพยากรณ์ ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลได้ร้อยละ 43.50 (R ยกกำลังสอง = .435 p<.05) โดยสมการพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23363 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357010 THE WY125 อ927 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available ตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูนย์ / ชลธิชา กองจริต / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูนย์ Original title : Indicators of nursing administration quality in intensive care units, regional hospital and medical centers Material Type: printed text Authors: ชลธิชา กองจริต, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ฎ, 210 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-176-047-7 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม. (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยม 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต -- การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์Keywords: การบริหาร.
การพยาบาล.
หอผู้ป่วยวิกฤต.
โรงพยาบาลศูนย์.Class number: WX150 ช274 2547 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูนย์โดยใช้วิธีเชิงประจักษ์ วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลักดังนี้
ขั้นที่ 1 กำหนดกรอบแนวคิดเบื้องต้นของการวิจัย โดยทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องร่วมกับการสัมภาษณ์ผู้เชียวชาญทั้งหมด 10 ท่าน ซึ่งมีประสบการณ์การทำงานในหอผู้ป่วยวิกฤ๖ โรงพยาบาลศูนย์
ขั้นที่ 2 สร้างเครื่องมือโดยใช้แบบสอบถามตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤตและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยการตรวจสอบความตรงตามเนื่อหาจากผู้เชี่ยวชาญ และหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้่าความเที่ยงเท่ากับ 0.97
ขั้นที่ 3 รวบรวมข้อมูลเชิงประจักษ์จากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ทำงานในหอผู้ป่วยวิกฤต 5 ปีขึ้นไป จำนวน 678 คน แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์คิดเป็นร้อยละ 96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนคิการวิเคราะห์องค์ประกอบ สกัดองค์ประกอบด้วยวิธีองค์ประกอบหลัก หมุนแกนแบบออโธร์กอนอล ด้วยวิธีแวริแมกซ์ คัดเลือกตัวชี้วัดมีค่าไอแกนมากว่า 1.02 องค์ประกอบตัวชี้วัดมีตัวชี้ย่อยไม่น้อยกว่า 3 ตัวแปนขึ้นไป ตัวชี้วัดมีน้ำหนักองค์ประกอบอย่างน้อย 0.40
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
ตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูฯย์ ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 67.67 โดยมีตัวชี้วัด ดังนี้
1. การนิเทศ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 11 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 16.68%
2. การบริหารพัสดุและพื้นที่ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 11 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 12.09%
3. ทีมสหสาขาและการศึกษาต่อเนื่อง ประกอบก้วยตัวชี้วัดย่อย 7 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 9.51%
4. การจัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 7 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 8.79%
5. การจัดระบบงาน ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 4 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 8.67%
6. การควบคุมการติดเชื้อ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 6 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 6.58%
7. การพัฒนาบุคลากรเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยวิกฤต ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 4 ตัวชี้วัด อธิบายความแปปรวนได้ 5.328%
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23306 ตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูนย์ = Indicators of nursing administration quality in intensive care units, regional hospital and medical centers [printed text] / ชลธิชา กองจริต, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ฎ, 210 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-176-047-7 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม. (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยม 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต -- การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์Keywords: การบริหาร.
การพยาบาล.
หอผู้ป่วยวิกฤต.
โรงพยาบาลศูนย์.Class number: WX150 ช274 2547 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูนย์โดยใช้วิธีเชิงประจักษ์ วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลักดังนี้
ขั้นที่ 1 กำหนดกรอบแนวคิดเบื้องต้นของการวิจัย โดยทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องร่วมกับการสัมภาษณ์ผู้เชียวชาญทั้งหมด 10 ท่าน ซึ่งมีประสบการณ์การทำงานในหอผู้ป่วยวิกฤ๖ โรงพยาบาลศูนย์
ขั้นที่ 2 สร้างเครื่องมือโดยใช้แบบสอบถามตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤตและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยการตรวจสอบความตรงตามเนื่อหาจากผู้เชี่ยวชาญ และหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้่าความเที่ยงเท่ากับ 0.97
ขั้นที่ 3 รวบรวมข้อมูลเชิงประจักษ์จากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ทำงานในหอผู้ป่วยวิกฤต 5 ปีขึ้นไป จำนวน 678 คน แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์คิดเป็นร้อยละ 96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนคิการวิเคราะห์องค์ประกอบ สกัดองค์ประกอบด้วยวิธีองค์ประกอบหลัก หมุนแกนแบบออโธร์กอนอล ด้วยวิธีแวริแมกซ์ คัดเลือกตัวชี้วัดมีค่าไอแกนมากว่า 1.02 องค์ประกอบตัวชี้วัดมีตัวชี้ย่อยไม่น้อยกว่า 3 ตัวแปนขึ้นไป ตัวชี้วัดมีน้ำหนักองค์ประกอบอย่างน้อย 0.40
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
ตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูฯย์ ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 67.67 โดยมีตัวชี้วัด ดังนี้
1. การนิเทศ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 11 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 16.68%
2. การบริหารพัสดุและพื้นที่ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 11 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 12.09%
3. ทีมสหสาขาและการศึกษาต่อเนื่อง ประกอบก้วยตัวชี้วัดย่อย 7 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 9.51%
4. การจัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 7 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 8.79%
5. การจัดระบบงาน ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 4 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 8.67%
6. การควบคุมการติดเชื้อ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 6 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 6.58%
7. การพัฒนาบุคลากรเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยวิกฤต ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 4 ตัวชี้วัด อธิบายความแปปรวนได้ 5.328%
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23306 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000384659 THE WX150 ช274 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) / วิภาวรรณ บัวสรวง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) Original title : The Desirable roles of nursing directors, government university hospitals, in the next decade (A.D. 2008-2017) Material Type: printed text Authors: วิภาวรรณ บัวสรวง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ฏ, 188 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การบริหารงานบุคคล.
การบริหาร.
โรงพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ว736 2550 Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 25 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารโรงพยาบาล ด้านการบริหารการพยาบาล ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านองค์การวิชาชีพพยาบาล และด้านนโยบายและองค์การสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 93 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหนัาพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 69 ข้อ เป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 56 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 13 ข้อ จำแนกเป็น 9 ด้านดังนี้
1. ภาวะผู้นำ 2. การบริหารจัดการ 3. การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล 4. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. พัฒนาวิชาชีพ 6. วิชาการและการวิจัย 7. ด้านการจัดการการเิงิน 8. ด้านการจัดการสารสนเทศทางการพยาบาล 9. ด้านการอำนวยความสะดวกRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23231 บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) = The Desirable roles of nursing directors, government university hospitals, in the next decade (A.D. 2008-2017) [printed text] / วิภาวรรณ บัวสรวง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ฏ, 188 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การบริหารงานบุคคล.
การบริหาร.
โรงพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ว736 2550 Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 25 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารโรงพยาบาล ด้านการบริหารการพยาบาล ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านองค์การวิชาชีพพยาบาล และด้านนโยบายและองค์การสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 93 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหนัาพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 69 ข้อ เป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 56 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 13 ข้อ จำแนกเป็น 9 ด้านดังนี้
1. ภาวะผู้นำ 2. การบริหารจัดการ 3. การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล 4. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. พัฒนาวิชาชีพ 6. วิชาการและการวิจัย 7. ด้านการจัดการการเิงิน 8. ด้านการจัดการสารสนเทศทางการพยาบาล 9. ด้านการอำนวยความสะดวกRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23231 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355022 WX150 ว736 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข / กันยารัตน์ ม้าวิไล / 2551
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : Factors affecting risk management behaviors of head nurse in regional hospitals under the jurisdiction of the Ministry of public health Material Type: printed text Authors: กันยารัตน์ ม้าวิไล, Author Publication Date: 2551 Pagination: ก-ฎ, 148 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล]] -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารความเสี่ยง
[LCSH]ทักษะการติดต่อสื่อสาร
[LCSH]เจตคติต่อการบริหารความเสี่ยงKeywords: การบริหารความเสี่ยง.
หัวหน้่าหอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลศูนย์สังกัดกระทรวงสาธารณสุข.Class number: WY18 ก115 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา เพื่อศึกษา 1. ระดับของพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย 2. ปัจจัยส่วนบุคคล เจตคติการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อสื่อสารของหัวหน้าหอผู้ป่วย 3. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล เจตคติการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อสื่อสารกับพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และ 4. ตัวแปรพยากรณ์ที่ร่วมทำนายพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย
ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วยโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2.ค่าเฉลี่ยของเจตคติต่อการบริหารความเสี่ยงและทักษะการติดต่อสื่อสารเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงโดยรวมอยู่ในระดับสูง 3. วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และการได้รับการอบรมไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย สำหรัีบเจตคติมีความสัมพนธ์ทางบวกในระดับปานกลาง และทักษะการติดต่อสื่อสารมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. เจตคติต่อการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อสื่อสารสามารถร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วยได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ.05 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมบริหารความเสี่ยงได้ร้อยละ 44 (R=.440) และความสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบได้
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23224 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข = Factors affecting risk management behaviors of head nurse in regional hospitals under the jurisdiction of the Ministry of public health [printed text] / กันยารัตน์ ม้าวิไล, Author . - 2551 . - ก-ฎ, 148 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล]] -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารความเสี่ยง
[LCSH]ทักษะการติดต่อสื่อสาร
[LCSH]เจตคติต่อการบริหารความเสี่ยงKeywords: การบริหารความเสี่ยง.
หัวหน้่าหอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลศูนย์สังกัดกระทรวงสาธารณสุข.Class number: WY18 ก115 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา เพื่อศึกษา 1. ระดับของพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย 2. ปัจจัยส่วนบุคคล เจตคติการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อสื่อสารของหัวหน้าหอผู้ป่วย 3. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล เจตคติการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อสื่อสารกับพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และ 4. ตัวแปรพยากรณ์ที่ร่วมทำนายพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย
ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วยโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2.ค่าเฉลี่ยของเจตคติต่อการบริหารความเสี่ยงและทักษะการติดต่อสื่อสารเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงโดยรวมอยู่ในระดับสูง 3. วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และการได้รับการอบรมไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย สำหรัีบเจตคติมีความสัมพนธ์ทางบวกในระดับปานกลาง และทักษะการติดต่อสื่อสารมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. เจตคติต่อการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อสื่อสารสามารถร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วยได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ.05 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมบริหารความเสี่ยงได้ร้อยละ 44 (R=.440) และความสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบได้
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23224 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354900 WY18 ก115 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available