From this page you can:
Home |
Search results
4 result(s) search for keyword(s) 'การบริหารความเสี่ยง. หัวหน้่าหอผู้ป่วย. โรงพยาบาลศูนย์สังกัดกระทรวงสาธารณสุข.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข / กันยารัตน์ ม้าวิไล / 2551
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : Factors affecting risk management behaviors of head nurse in regional hospitals under the jurisdiction of the Ministry of public health Material Type: printed text Authors: กันยารัตน์ ม้าวิไล, Author Publication Date: 2551 Pagination: ก-ฎ, 148 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล]] -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารความเสี่ยง
[LCSH]ทักษะการติดต่อสื่อสาร
[LCSH]เจตคติต่อการบริหารความเสี่ยงKeywords: การบริหารความเสี่ยง.
หัวหน้่าหอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลศูนย์สังกัดกระทรวงสาธารณสุข.Class number: WY18 ก115 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา เพื่อศึกษา 1. ระดับของพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย 2. ปัจจัยส่วนบุคคล เจตคติการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อสื่อสารของหัวหน้าหอผู้ป่วย 3. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล เจตคติการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อสื่อสารกับพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และ 4. ตัวแปรพยากรณ์ที่ร่วมทำนายพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย
ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วยโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2.ค่าเฉลี่ยของเจตคติต่อการบริหารความเสี่ยงและทักษะการติดต่อสื่อสารเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงโดยรวมอยู่ในระดับสูง 3. วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และการได้รับการอบรมไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย สำหรัีบเจตคติมีความสัมพนธ์ทางบวกในระดับปานกลาง และทักษะการติดต่อสื่อสารมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. เจตคติต่อการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อสื่อสารสามารถร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วยได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ.05 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมบริหารความเสี่ยงได้ร้อยละ 44 (R=.440) และความสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบได้
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23224 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข = Factors affecting risk management behaviors of head nurse in regional hospitals under the jurisdiction of the Ministry of public health [printed text] / กันยารัตน์ ม้าวิไล, Author . - 2551 . - ก-ฎ, 148 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล]] -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารความเสี่ยง
[LCSH]ทักษะการติดต่อสื่อสาร
[LCSH]เจตคติต่อการบริหารความเสี่ยงKeywords: การบริหารความเสี่ยง.
หัวหน้่าหอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลศูนย์สังกัดกระทรวงสาธารณสุข.Class number: WY18 ก115 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา เพื่อศึกษา 1. ระดับของพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย 2. ปัจจัยส่วนบุคคล เจตคติการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อสื่อสารของหัวหน้าหอผู้ป่วย 3. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล เจตคติการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อสื่อสารกับพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และ 4. ตัวแปรพยากรณ์ที่ร่วมทำนายพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย
ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วยโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2.ค่าเฉลี่ยของเจตคติต่อการบริหารความเสี่ยงและทักษะการติดต่อสื่อสารเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงโดยรวมอยู่ในระดับสูง 3. วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และการได้รับการอบรมไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย สำหรัีบเจตคติมีความสัมพนธ์ทางบวกในระดับปานกลาง และทักษะการติดต่อสื่อสารมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. เจตคติต่อการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อสื่อสารสามารถร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วยได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ.05 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมบริหารความเสี่ยงได้ร้อยละ 44 (R=.440) และความสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบได้
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23224 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354900 WY18 ก115 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร / จุฑามาส ดุลยพิชช์ / คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2552
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between systems thinking of head nurses, emotional intelligence of staff nurses, and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses, tertiary hospitals, Bangkok Metropolis Material Type: printed text Authors: จุฑามาส ดุลยพิชช์, Author Publisher: คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2552 Pagination: ก-ฎ, 151 แผ่น Layout: ภาพประกอบ Size: 30 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม.[การบริหารการพยาบาล]]--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]ความฉลาดทางอารมณ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้่าหอผู้ป่วย.
ความฉลาดทางอารมณ์.
จิตวิทยา.Class number: WY18 จ243 2552 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่มีประสบการณ์ทำงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 365 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling) เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ .97, .91 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย และการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง (mean = 3.71, SD = .61 และ mean = 3.88, SD = .56 ตามลำดับ) ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับปานกลาง (mean = 151.26, SD = 33.59) 2. การคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย และความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ ต่างก็มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r =.45 และ .32 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23208 ความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร = Relationships between systems thinking of head nurses, emotional intelligence of staff nurses, and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses, tertiary hospitals, Bangkok Metropolis [printed text] / จุฑามาส ดุลยพิชช์, Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - ก-ฎ, 151 แผ่น : ภาพประกอบ ; 30.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม.[การบริหารการพยาบาล]]--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]ความฉลาดทางอารมณ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้่าหอผู้ป่วย.
ความฉลาดทางอารมณ์.
จิตวิทยา.Class number: WY18 จ243 2552 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่มีประสบการณ์ทำงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 365 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling) เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ .97, .91 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย และการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง (mean = 3.71, SD = .61 และ mean = 3.88, SD = .56 ตามลำดับ) ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับปานกลาง (mean = 151.26, SD = 33.59) 2. การคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย และความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ ต่างก็มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r =.45 และ .32 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23208 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354843 WY18 จ243 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยา / จันทนา แก้วฟู / คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัียสุโขทัยธรรมาธิราช - 2554
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยา : ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ ภาคเหนือ Original title : Factors affecting risk management of medication errors by professional nurses at regional hospitals in Northern region Material Type: printed text Authors: จันทนา แก้วฟู, Author Publisher: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัียสุโขทัยธรรมาธิราช Publication Date: 2554 Pagination: ก-ฎ, 122 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2554 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Drug Therapy -- nursing
[LCSH]Medication errors -- preventing & control
[LCSH]การบริหารความเสี่ยง
[LCSH]ยา -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์ ภาคเหนือKeywords: การบริหารความเสี่ยง.
ยา.Class number: WY100 จ214 2554 Abstract: งานวิจัยนี้มุ่งศึกษา 1. การบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยา เจตคติในการป้องกันความคลาดเคบื่อนทางยา และภาระงานของพยาบาลวิชาชีพ 2. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติในการป้ิองกันความคลาดเคลื่อนทางยา ภาระงาน กับการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาของพยาบาลวิชาชีพ และ 3 ศึกษาตัสแปรที่ร่วมกันทำนายการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาของพยาบาลวิชาชีพ
ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารความเสี่ยงความคลาดเคลื่อนทางยามีค่าเฉลี่ยของคะแนนโดยรวมอยู่ในระดับมาก เจตคติในการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยามีค่าเฉลี่ยของคะแนนโดยรวมอยู่ในรดับมากที่สุด และภาระงานมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. เจตคติในการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยามีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง และภาระงานมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดัีบน้อยที่สุดกับการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคบื่อนทางยาอย่างมีนัยสกคัญที่ระดับ 0.05 3 เจคติในการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาสามารถทำนายการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาของพยาบาลวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยวามารถอธิบายความแปรปรวนของการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาได้ร้อยละ 31.3 (R=0.13) และสามารถสร้างสมการทำนายรูปคะแนนดิบได้ดังนี้
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23211 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยา = Factors affecting risk management of medication errors by professional nurses at regional hospitals in Northern region : ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ ภาคเหนือ [printed text] / จันทนา แก้วฟู, Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัียสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554 . - ก-ฎ, 122 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2554
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Drug Therapy -- nursing
[LCSH]Medication errors -- preventing & control
[LCSH]การบริหารความเสี่ยง
[LCSH]ยา -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์ ภาคเหนือKeywords: การบริหารความเสี่ยง.
ยา.Class number: WY100 จ214 2554 Abstract: งานวิจัยนี้มุ่งศึกษา 1. การบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยา เจตคติในการป้องกันความคลาดเคบื่อนทางยา และภาระงานของพยาบาลวิชาชีพ 2. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติในการป้ิองกันความคลาดเคลื่อนทางยา ภาระงาน กับการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาของพยาบาลวิชาชีพ และ 3 ศึกษาตัสแปรที่ร่วมกันทำนายการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาของพยาบาลวิชาชีพ
ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารความเสี่ยงความคลาดเคลื่อนทางยามีค่าเฉลี่ยของคะแนนโดยรวมอยู่ในระดับมาก เจตคติในการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยามีค่าเฉลี่ยของคะแนนโดยรวมอยู่ในรดับมากที่สุด และภาระงานมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. เจตคติในการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยามีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง และภาระงานมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดัีบน้อยที่สุดกับการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคบื่อนทางยาอย่างมีนัยสกคัญที่ระดับ 0.05 3 เจคติในการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาสามารถทำนายการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาของพยาบาลวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยวามารถอธิบายความแปรปรวนของการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาได้ร้อยละ 31.3 (R=0.13) และสามารถสร้างสมการทำนายรูปคะแนนดิบได้ดังนี้
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23211 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354751 WY100 จ214 2554 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงต่อความสามารถในการจัดการความเสี่ยง / ชวไล ชุ่มคำ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ผลของการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงต่อความสามารถในการจัดการความเสี่ยง : ของพยาบาลวิชาชีพ กรณีศึกษาโรงพยาบาลเลิดสิน Original title : The effect of risk prevention training program on risk management ability of professional nurses a case study of Lerdsin hospital Material Type: printed text Authors: ชวไล ชุ่มคำ, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ญ, 103 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-179-850-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารความเสี่ยง
[LCSH]การพยาบาล -- การฝึกอบรม
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลเลิดสินKeywords: การบริหารความเสี่ยง.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 ช279 2545 Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบการทดลองเบื้องต้น ศึกษาในกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลองมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ ในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลเลิดสิน กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยอายุรกรรมชายและอายุรกรรมหญิงโรงพยาบาลเลิดสิน จำนวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วยแผนการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง แนวทางป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วยและแบบตรวจเยี่ยมการปฏิบัติตามแนวทางป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบอัตนัยประยุกต์ (เอ็ม อี คิว) วัดความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอรนบาคเท่ากับ 0.746 ค่าดัชนีความยากของแบบสอบเท่ากับ 0.43 ค่าอำนาจจำแนกเท่ากับ 0.75 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพภายหลังการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วยอายุรกรรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23123 ผลของการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงต่อความสามารถในการจัดการความเสี่ยง = The effect of risk prevention training program on risk management ability of professional nurses a case study of Lerdsin hospital : ของพยาบาลวิชาชีพ กรณีศึกษาโรงพยาบาลเลิดสิน [printed text] / ชวไล ชุ่มคำ, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ญ, 103 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-179-850-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารความเสี่ยง
[LCSH]การพยาบาล -- การฝึกอบรม
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลเลิดสินKeywords: การบริหารความเสี่ยง.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 ช279 2545 Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบการทดลองเบื้องต้น ศึกษาในกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลองมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ ในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลเลิดสิน กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยอายุรกรรมชายและอายุรกรรมหญิงโรงพยาบาลเลิดสิน จำนวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วยแผนการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง แนวทางป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วยและแบบตรวจเยี่ยมการปฏิบัติตามแนวทางป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบอัตนัยประยุกต์ (เอ็ม อี คิว) วัดความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอรนบาคเท่ากับ 0.746 ค่าดัชนีความยากของแบบสอบเท่ากับ 0.43 ค่าอำนาจจำแนกเท่ากับ 0.75 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพภายหลังการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วยอายุรกรรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23123 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354512 WY100 ช279 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available