From this page you can:
Home |
Search results
192 result(s) search for keyword(s) 'โรงพยาบาล. การบริหาร. การจัดการ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
การจัดการเชิงระบบ: วิถีองค์รวมเพื่อการสร้างคุณค่า / สถาบันพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพโรงพยาบาล / นนทบุรี : สถาบันพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพโรงพยาบาล - 2548
Title : การจัดการเชิงระบบ: วิถีองค์รวมเพื่อการสร้างคุณค่า : (15-19 มีนาคม 2548) ณ. ศูนย์การประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี Original title : 6th National forum on quality improvement & hospital accreditation. Material Type: printed text Authors: สถาบันพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพโรงพยาบาล, Author Publisher: นนทบุรี : สถาบันพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพโรงพยาบาล Publication Date: 2548 Pagination: vii, 264 หน้า. Size: 29 ซม. ISBN (or other code): 978-974-465-962-9 General note: ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]Hospital Accreditation
[LCSH]โรงพยาบาล -- การจัดการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: โรงพยาบาล.
การบริหาร.
การจัดการ.Class number: RA971 ส842 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22978 การจัดการเชิงระบบ: วิถีองค์รวมเพื่อการสร้างคุณค่า = 6th National forum on quality improvement & hospital accreditation. : (15-19 มีนาคม 2548) ณ. ศูนย์การประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี [printed text] / สถาบันพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพโรงพยาบาล, Author . - นนทบุรี : สถาบันพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพโรงพยาบาล, 2548 . - vii, 264 หน้า. ; 29 ซม.
ISSN : 978-974-465-962-9
ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]Hospital Accreditation
[LCSH]โรงพยาบาล -- การจัดการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: โรงพยาบาล.
การบริหาร.
การจัดการ.Class number: RA971 ส842 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22978 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354082 RA971 ส842 2548 Book Main Library Library Counter Not for loan อนาคตภาพองค์กรพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน / สุพัตรา มะปรางหวาน / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : อนาคตภาพองค์กรพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน : ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 Original title : Scenario of nursing organization private hospitals during 2007-2011 Material Type: printed text Authors: สุพัตรา มะปรางหวาน, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฎ, 206 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ,แผนภูมิ. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-584-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาบุคลากร
[LCSH]องค์การแห่งการเรียนรู้
[LCSH]โรงพยาบาล -- การจัดการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: องค์การ.
โรงพยาบาลเอกชน
การบริหาร
การจัดการClass number: WX150 ส846 2546 Abstract: การวิจัยนี้ เพื่อศึกษาอนาคตภาพองค์การพยาบาล โรงพยายาลเอกชนในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 วิธีดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ
1. ศึกษาวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย
2.ศึกษาอนาคตภาพองค์การพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 โดโดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Future Research (EDFR) จำนวนผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ 20 ท่าน คัดเลือกอนาคตองค์การพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดะับมากขึ้นไป และเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ (Md มากกว่า 1.50 Mo-Md ไม่เกิน 1.00) ระยะเวลาในการรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 93 วัน
ผลการวิจัยพบว่า อนาคตภาพอง การพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 มีแนวโน้ม 5 ด้าน คือ โครงสร้างองค์การและการบริหาร การบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหารความปลอดภัยของบุคลากรและผู้ใช้บริการ ระบบสารสนเทศทางการพยาบาล รูปแบบบริการพยาบาล ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1. โครงสร้างองค์การและการบริหาร โครงสร้างองค์การผสมผสานระหว่างแบบเมตริกซ์ และแบบแบนราบ ส่วนการบริหารงาน องค์การมีการสร้างเวิรมภาวะผู้นำ และพลังอำนาจแก่บุคลากร เพื่อให้เกิดทีมงานที่มีประสิทธิภาพ
2. การบริหารทรัพยากรบุคคล มีการประสานความร่วมมือกับสถานศึกษาพยาบาลในการสรรหา การคัดเลือก และการพัฒนาบุคลากร ส่วนการประเมินผลการปฏิบัติงานใช้การประเมินแบบ 360 องศา
3. การบริหารความปลอดภัยของบุคลากรและผู้ใช้บริการ มีการประกันความเสี่ยงในการปฏิบัิติงานให้่แก่บุคลากร และการบริหารความปลอดภัยของผู็ใช้บริการ มีระบบความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล
4. ระบบสารสนเทศทางการพยาบาล นำสารสนเทศมาใช้ในระบบบันทึกทางการพยาบาล การบริหารการพยาบาล การบริหารทรัพยากรบุคคล และการสื่อสารภายในองค์การ
5. รูปแบบบริการพยาบาล มีลักษณะการบริการพยาบาลที่ทันสมัย ให้บริการเชิงรุก เตรียมความพร้อมในการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการชาวต่างชาติ และพัฒนาบริการพยาบาลให้ได้ตามมาตรฐานในระดับสากลCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23351 อนาคตภาพองค์กรพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน = Scenario of nursing organization private hospitals during 2007-2011 : ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 [printed text] / สุพัตรา มะปรางหวาน, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฎ, 206 แผ่น. : ตารางประกอบ,แผนภูมิ. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-584-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาบุคลากร
[LCSH]องค์การแห่งการเรียนรู้
[LCSH]โรงพยาบาล -- การจัดการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: องค์การ.
โรงพยาบาลเอกชน
การบริหาร
การจัดการClass number: WX150 ส846 2546 Abstract: การวิจัยนี้ เพื่อศึกษาอนาคตภาพองค์การพยาบาล โรงพยายาลเอกชนในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 วิธีดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ
1. ศึกษาวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย
2.ศึกษาอนาคตภาพองค์การพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 โดโดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Future Research (EDFR) จำนวนผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ 20 ท่าน คัดเลือกอนาคตองค์การพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดะับมากขึ้นไป และเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ (Md มากกว่า 1.50 Mo-Md ไม่เกิน 1.00) ระยะเวลาในการรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 93 วัน
ผลการวิจัยพบว่า อนาคตภาพอง การพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 มีแนวโน้ม 5 ด้าน คือ โครงสร้างองค์การและการบริหาร การบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหารความปลอดภัยของบุคลากรและผู้ใช้บริการ ระบบสารสนเทศทางการพยาบาล รูปแบบบริการพยาบาล ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1. โครงสร้างองค์การและการบริหาร โครงสร้างองค์การผสมผสานระหว่างแบบเมตริกซ์ และแบบแบนราบ ส่วนการบริหารงาน องค์การมีการสร้างเวิรมภาวะผู้นำ และพลังอำนาจแก่บุคลากร เพื่อให้เกิดทีมงานที่มีประสิทธิภาพ
2. การบริหารทรัพยากรบุคคล มีการประสานความร่วมมือกับสถานศึกษาพยาบาลในการสรรหา การคัดเลือก และการพัฒนาบุคลากร ส่วนการประเมินผลการปฏิบัติงานใช้การประเมินแบบ 360 องศา
3. การบริหารความปลอดภัยของบุคลากรและผู้ใช้บริการ มีการประกันความเสี่ยงในการปฏิบัิติงานให้่แก่บุคลากร และการบริหารความปลอดภัยของผู็ใช้บริการ มีระบบความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล
4. ระบบสารสนเทศทางการพยาบาล นำสารสนเทศมาใช้ในระบบบันทึกทางการพยาบาล การบริหารการพยาบาล การบริหารทรัพยากรบุคคล และการสื่อสารภายในองค์การ
5. รูปแบบบริการพยาบาล มีลักษณะการบริการพยาบาลที่ทันสมัย ให้บริการเชิงรุก เตรียมความพร้อมในการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการชาวต่างชาติ และพัฒนาบริการพยาบาลให้ได้ตามมาตรฐานในระดับสากลCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23351 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000356996 THE WX150 ส846 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. รูปแบบการจัดการความรู้ในการพยาบาลโรคหัวใจ / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2557
Collection Title: SIU THE-T Title : รูปแบบการจัดการความรู้ในการพยาบาลโรคหัวใจ : ในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง Original title : Model of knowledge management for cardiac nursing in the high competence public and private hospitals Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author Publisher: คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2557 Pagination: x,460 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]รูปแบบการจัดการความรู้ -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง
[NLM]โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูงKeywords: การจัดการความรู้.
รูปแบบการจัดการความรู้.
การพยาบาลโรคหัวใจ.
โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง.
โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูง.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 Abstract: การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาผสมผสานวิธีการเชิงปริมาณ และเขิงคุณภาพในการพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัใจในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพสูงในประเทศ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจของโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน และเพื่อสร้างและยืนยันรูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 629 คน วิเคราะห์ความเชื่อถือและองค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรมสมการโครงสร้าง SEM เพื่อยืนยันสมมติฐาน ซึ่งผลการศึกษา พบว่า โมเดลการวัดของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยสอดคล้องกับทฤษฎีตามองค์ประกอบด้าน 1. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ ผู้บริหารและเทคโนโลยีมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ และการบริหารมีผลต่อผลลัพธ์การจัดความรู้ 2. โครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานมีตัวแปรแฝง คือ วัฒนธรรม การเสริมพลัง และความร่วมมือมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ 3. กระบวนการจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ การแบ่งปัน การนำความรู้ไปใช้ และการติดตามมีผลต่อผลัพธ์การจัดการความรู้ ส่วนผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า การจัดการความรู้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไม่แตกต่างกันทุกด้าน แต่มีข้อแตกต่างเพียงเล็กน้อย คือ ด้านเอกชนมีการใช้เทคโนโลยีมากกว่าบางโรงพยาบาล โรงพยาบาลภาครัฐมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทีมระหว่างสหสาขาวิชาชีพมากกว่า Contents note: ปีการศึกษา 2557 Curricular : PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25887 SIU THE-T. รูปแบบการจัดการความรู้ในการพยาบาลโรคหัวใจ = Model of knowledge management for cardiac nursing in the high competence public and private hospitals : ในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author . - [S.l.] : คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2557 . - x,460 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]รูปแบบการจัดการความรู้ -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง
[NLM]โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูงKeywords: การจัดการความรู้.
รูปแบบการจัดการความรู้.
การพยาบาลโรคหัวใจ.
โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง.
โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูง.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 Abstract: การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาผสมผสานวิธีการเชิงปริมาณ และเขิงคุณภาพในการพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัใจในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพสูงในประเทศ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจของโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน และเพื่อสร้างและยืนยันรูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 629 คน วิเคราะห์ความเชื่อถือและองค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรมสมการโครงสร้าง SEM เพื่อยืนยันสมมติฐาน ซึ่งผลการศึกษา พบว่า โมเดลการวัดของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยสอดคล้องกับทฤษฎีตามองค์ประกอบด้าน 1. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ ผู้บริหารและเทคโนโลยีมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ และการบริหารมีผลต่อผลลัพธ์การจัดความรู้ 2. โครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานมีตัวแปรแฝง คือ วัฒนธรรม การเสริมพลัง และความร่วมมือมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ 3. กระบวนการจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ การแบ่งปัน การนำความรู้ไปใช้ และการติดตามมีผลต่อผลัพธ์การจัดการความรู้ ส่วนผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า การจัดการความรู้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไม่แตกต่างกันทุกด้าน แต่มีข้อแตกต่างเพียงเล็กน้อย คือ ด้านเอกชนมีการใช้เทคโนโลยีมากกว่าบางโรงพยาบาล โรงพยาบาลภาครัฐมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทีมระหว่างสหสาขาวิชาชีพมากกว่า Contents note: ปีการศึกษา 2557 Curricular : PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25887 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550846 SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000507036 SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available การจัดการสินค้าในอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป / กรทิพย์ วัชรปัญญาวงศ์ เตชะเมธีกุล / [นนทบุรี] : โครงการส่งเสริมการแต่งตำรา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - 2549
Title : การจัดการสินค้าในอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป Original title : Apparel merchandising management Material Type: printed text Authors: กรทิพย์ วัชรปัญญาวงศ์ เตชะเมธีกุล, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: [นนทบุรี] : โครงการส่งเสริมการแต่งตำรา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Publication Date: 2549 Pagination: 216 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-088-737-636-3 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]อุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป -- การจัดการ
[LCSH]อุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป -- การบริหารKeywords: เสื้อผ้าสำเร็จรูป.
อุตสาหกรรม.
การบริหาร.
การจัดการ.Class number: HD9940. A2 ก174 Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22979 การจัดการสินค้าในอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป = Apparel merchandising management [printed text] / กรทิพย์ วัชรปัญญาวงศ์ เตชะเมธีกุล, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - [นนทบุรี] : โครงการส่งเสริมการแต่งตำรา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549 . - 216 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
ISSN : 978-088-737-636-3
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]อุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป -- การจัดการ
[LCSH]อุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป -- การบริหารKeywords: เสื้อผ้าสำเร็จรูป.
อุตสาหกรรม.
การบริหาร.
การจัดการ.Class number: HD9940. A2 ก174 Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22979 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000352458 HD9940.A2 ก174 2549 Book Main Library General Shelf Available การรับรู้ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล / บุบผา พวงมาลี / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2542
Title : การรับรู้ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล : โรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานคร Original title : perception of learning organization of nursing department governmental hospital Bangkok metopolis Material Type: printed text Authors: บุบผา พวงมาลี, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2542 Pagination: ก-ญ, 170 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-334-594-9 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริการการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]องค์การแห่งการเรียนรู้
[LCSH]โรงพยาบาลของรัฐ -- การบริหารKeywords: องค์การแห่งการเรียนรู้.
การพยาบาล.
โรงพยาบาลของรัฐ.
การบริหาร.Class number: WX150 บ545 2542 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ รับรู้ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 ปี ขึ้นไป โรงพยาบาลของรัฐ เขตกทม. 8 แห่ง จำนวน 380 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบ หลายขั้นตอน เครื่อมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเกี่ยวกับความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล มีค่าความเที่ยง .98 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานครโดยรวมอยู่ในระดับสูง และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมและการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง การมีแบบแผนความคิด การสร่างวิสัยทัศน์ร่วมกัน อยู่ในในระดับสูง
2. ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาลของสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย อยู่ในระดัีบปานกลาง และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า สังกัดกรุงเทพมหานคร ด้านการมีแบบแผนความคิดอยู่ในระดับสูง ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การเรียนรู้กันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติด้านการมีแบบแผนความคิด การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง สังกัดกระทรวงกลาโหม ทุกด้านอยู่ในระดับสูง สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การมีแบบแผนความคิด อยู่ในระดับสูง ด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบอยู่ในระดับปานกลาง สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ทุกด้านอยู่ในระดับปานกลางCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23349 การรับรู้ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล = perception of learning organization of nursing department governmental hospital Bangkok metopolis : โรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานคร [printed text] / บุบผา พวงมาลี, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 . - ก-ญ, 170 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-334-594-9 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริการการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]องค์การแห่งการเรียนรู้
[LCSH]โรงพยาบาลของรัฐ -- การบริหารKeywords: องค์การแห่งการเรียนรู้.
การพยาบาล.
โรงพยาบาลของรัฐ.
การบริหาร.Class number: WX150 บ545 2542 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ รับรู้ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 ปี ขึ้นไป โรงพยาบาลของรัฐ เขตกทม. 8 แห่ง จำนวน 380 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบ หลายขั้นตอน เครื่อมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเกี่ยวกับความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล มีค่าความเที่ยง .98 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานครโดยรวมอยู่ในระดับสูง และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมและการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง การมีแบบแผนความคิด การสร่างวิสัยทัศน์ร่วมกัน อยู่ในในระดับสูง
2. ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาลของสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย อยู่ในระดัีบปานกลาง และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า สังกัดกรุงเทพมหานคร ด้านการมีแบบแผนความคิดอยู่ในระดับสูง ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การเรียนรู้กันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติด้านการมีแบบแผนความคิด การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง สังกัดกระทรวงกลาโหม ทุกด้านอยู่ในระดับสูง สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การมีแบบแผนความคิด อยู่ในระดับสูง ด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบอยู่ในระดับปานกลาง สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ทุกด้านอยู่ในระดับปานกลางCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23349 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357002 THE WX150 บ545 2542 Thesis Main Library Thesis Corner Available การศึกษาสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข / วีรวรรณ เกิดทอง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2543
Title : การศึกษาสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : A study of orgaizational health of nursing departments governmental hospital health under the jurisdiction of theMinstry of public health Material Type: printed text Authors: วีรวรรณ เกิดทอง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2543 Pagination: ฎ, 165 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-131-018-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การรับรองคุณภาพ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริการAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสุขภพาองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข และเปรียบเทียบสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล จำแนกตามการได้รับรองคุณภาพโรงพยาบาล และที่ตั้งโรงพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพ ประกอบด้วยพยาบาลประจำการ 753 คน และผู้บริหาร 181 คส สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงหนื้อหาและทดสอบความเที่ยงด้วยการหาสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้่อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและทดสอบความแตกต่าง Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23364 การศึกษาสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข = A study of orgaizational health of nursing departments governmental hospital health under the jurisdiction of theMinstry of public health [printed text] / วีรวรรณ เกิดทอง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 . - ฎ, 165 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-131-018-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การรับรองคุณภาพ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริการAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสุขภพาองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข และเปรียบเทียบสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล จำแนกตามการได้รับรองคุณภาพโรงพยาบาล และที่ตั้งโรงพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพ ประกอบด้วยพยาบาลประจำการ 753 คน และผู้บริหาร 181 คส สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงหนื้อหาและทดสอบความเที่ยงด้วยการหาสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้่อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและทดสอบความแตกต่าง Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23364 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000543171 THE WY125 ว737 2543 Thesis Main Library Thesis Corner Available กึ่งศตวรรษ วิถีแห่งยามาฮ่า / อื้อง ยิปโซ / ฟ็อกซ์ เฮ้าส์ - 2554
Title : กึ่งศตวรรษ วิถีแห่งยามาฮ่า Material Type: printed text Authors: อื้อง ยิปโซ, Author ; อภิรดี จุฑะศร, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: ฟ็อกซ์ เฮ้าส์ Publication Date: 2554 Pagination: 262 หน้า : Layout: ภาพประกอบ (ภาพสีบางภาพ) Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-974-7514-70-4 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Motorcycle industry -- Management
[LCSH]Yamaha motorcycle -- History
[LCSH]จักรยานยนต์ยามาฮ่า -- ประวัติ
[LCSH]บริษัท ยามาฮ่ามอเตอร์ประเทศไทย จำกัด
[LCSH]อุตสาหกรรมจักรยานยนต์ -- การจัดการKeywords: ยามาฮ่า.
การบริหาร.
การจัดการ.
จักรยานยนต์.Class number: HD9710.5 J3 อ931 2554 Contents note: หัวใจที่กล้าแกร่ง. -- ชีวิตและโลกทัศน์แห่งผู้นำ. -- บทเส้นทางของวงล้อ. -- กลยุทธ์การตลาด.-- จิตวิญญาณแห่งการบริหาร. -- เมื่อยามาฮ่าประนีประนอมต่อโลก. -- สัมผัสหัวใจผู้นำ ไทยยามาฮ่ามอเตอร์.-- Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23253 กึ่งศตวรรษ วิถีแห่งยามาฮ่า [printed text] / อื้อง ยิปโซ, Author ; อภิรดี จุฑะศร, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - [S.l.] : ฟ็อกซ์ เฮ้าส์, 2554 . - 262 หน้า : : ภาพประกอบ (ภาพสีบางภาพ) ; 21 ซม.
ISBN : 978-974-7514-70-4 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Motorcycle industry -- Management
[LCSH]Yamaha motorcycle -- History
[LCSH]จักรยานยนต์ยามาฮ่า -- ประวัติ
[LCSH]บริษัท ยามาฮ่ามอเตอร์ประเทศไทย จำกัด
[LCSH]อุตสาหกรรมจักรยานยนต์ -- การจัดการKeywords: ยามาฮ่า.
การบริหาร.
การจัดการ.
จักรยานยนต์.Class number: HD9710.5 J3 อ931 2554 Contents note: หัวใจที่กล้าแกร่ง. -- ชีวิตและโลกทัศน์แห่งผู้นำ. -- บทเส้นทางของวงล้อ. -- กลยุทธ์การตลาด.-- จิตวิญญาณแห่งการบริหาร. -- เมื่อยามาฮ่าประนีประนอมต่อโลก. -- สัมผัสหัวใจผู้นำ ไทยยามาฮ่ามอเตอร์.-- Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23253 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355824 HD9710.5 J3 อ931 2554 c.2 Book Graduate Library General Shelf Available 32002000355832 HD9710.5 J3 อ931 2554 c.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000355840 HD9710.5 J3 อ931 2554 c.3 Book Main Library General Shelf Available ความสัมพันธ์ระว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ / ทิพย์สุดา ดวงแก้ว / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2552
Title : ความสัมพันธ์ระว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ Original title : Relationships between strategic leadership of head nurse, job involvment of staff nurse, and effectiveness of patient unit, general hospitals under jurisdiction of the Ministry of Public Health in Northern region Material Type: printed text Authors: ทิพย์สุดา ดวงแก้ว, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2552 Pagination: ก-ฎ, 150 แผ่น Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์.
ภาวะผู้นำ.
หอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.Class number: WY18 ท436 2552 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไป เขตภาคเหนือ จำนวน 356 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .95, .93 และ .87 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ อยู่ในระดับสูง (x-bar = 3.78, SD = .67 ; x-bar = 3.99, SD = .45 และ x-bar = 3.80, SD = .47 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .428 และ .613 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23230 ความสัมพันธ์ระว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ = Relationships between strategic leadership of head nurse, job involvment of staff nurse, and effectiveness of patient unit, general hospitals under jurisdiction of the Ministry of Public Health in Northern region [printed text] / ทิพย์สุดา ดวงแก้ว, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - ก-ฎ, 150 แผ่น : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์.
ภาวะผู้นำ.
หอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.Class number: WY18 ท436 2552 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไป เขตภาคเหนือ จำนวน 356 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .95, .93 และ .87 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ อยู่ในระดับสูง (x-bar = 3.78, SD = .67 ; x-bar = 3.99, SD = .45 และ x-bar = 3.80, SD = .47 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .428 และ .613 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23230 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354744 WY18 ท436 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 / รำไพ ปรียากร / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2552
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 Original title : Relationships between total qualty mamagement ability of head nurse, workaholism, and units' productivity as perceived by staff nurses, general hospitals region 11 Material Type: printed text Authors: รำไพ ปรียากร, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2552 Pagination: ก-ญ, 119 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริหาร.
การบริการ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WX150 ร729 2552 Abstract: งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 จำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มแบบ 2 ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามภาวะการติดงาน และแบบสอบถามผลผลิตของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและคำนวณค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .94, .89 และ.84 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลผลิตของหอผู้ป่วย ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 อยู่ในระดับสูง (X-bar = 3.80, SD = .43, X-bar = 3.54, SD = .61 และ X-bar = 3.87, SD = .48 ตามลำดับ) 2. ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลผลิตของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .47 และ r = .57 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23223 ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 = Relationships between total qualty mamagement ability of head nurse, workaholism, and units' productivity as perceived by staff nurses, general hospitals region 11 [printed text] / รำไพ ปรียากร, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - ก-ญ, 119 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริหาร.
การบริการ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WX150 ร729 2552 Abstract: งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 จำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มแบบ 2 ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามภาวะการติดงาน และแบบสอบถามผลผลิตของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและคำนวณค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .94, .89 และ.84 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลผลิตของหอผู้ป่วย ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 อยู่ในระดับสูง (X-bar = 3.80, SD = .43, X-bar = 3.54, SD = .61 และ X-bar = 3.87, SD = .48 ตามลำดับ) 2. ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลผลิตของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .47 และ r = .57 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23223 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355147 WX150 ร729 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ / กุลญนาท ผ่องแผ้ว / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2549
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Original title : Relationships between total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses at accredited regional hospitals Material Type: printed text Authors: กุลญนาท ผ่องแผ้ว, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2549 Pagination: ก-ญ, 129 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2549 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]ความสามารถทางการบริหาร
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: วัฒนธรรมองค์การ.
การบริหาร
โรงพยาบาลClass number: WX40 ก133 2549 Abstract: To examine the relationships between total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses at accredited regional hospitals. Subject were 352 staff nurses how worked in patient units at accredited regional hospitals more than 3 years, selected by multi-stage sampling. Data were collected by using questionnaires : demographic data, total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient units. The questionnaires were tested for content validity and reliability by Cronbach’s alpha coefficients were .98, .95, and .92, respectively. Data were analyzed by percentage, frequency, mean, standard deviation and Pearson’s product moment correlation coefficient. The major findings were as follows: 1. Effectiveness of patient units, total quality management ability of head nurses and constructive organizational culture at accredited regional hospitals were at high level. (mean = 4.02, SD = .42, X = 3.93, SD = .59 and mean = 3.82, DS = .50, respectively) 2. Total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture were positive significantly correlated with effectiveness of patient units, at the .05 level.) r = .72 and .75, respectively.
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ จำนวน 352 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามรถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .98, .95 และ .92 ตามลชำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย และวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ อยู่ในระดับสูง (X =4.02, SD =.42, X =3.93, SD =.59 และ X =3.82, SD = .50 ตามลำดับ) 2. ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย และวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .72 และ .75 ตามลำดับ)Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23133 ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ = Relationships between total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses at accredited regional hospitals [printed text] / กุลญนาท ผ่องแผ้ว, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 . - ก-ญ, 129 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2549
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]ความสามารถทางการบริหาร
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: วัฒนธรรมองค์การ.
การบริหาร
โรงพยาบาลClass number: WX40 ก133 2549 Abstract: To examine the relationships between total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses at accredited regional hospitals. Subject were 352 staff nurses how worked in patient units at accredited regional hospitals more than 3 years, selected by multi-stage sampling. Data were collected by using questionnaires : demographic data, total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient units. The questionnaires were tested for content validity and reliability by Cronbach’s alpha coefficients were .98, .95, and .92, respectively. Data were analyzed by percentage, frequency, mean, standard deviation and Pearson’s product moment correlation coefficient. The major findings were as follows: 1. Effectiveness of patient units, total quality management ability of head nurses and constructive organizational culture at accredited regional hospitals were at high level. (mean = 4.02, SD = .42, X = 3.93, SD = .59 and mean = 3.82, DS = .50, respectively) 2. Total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture were positive significantly correlated with effectiveness of patient units, at the .05 level.) r = .72 and .75, respectively.
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ จำนวน 352 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามรถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .98, .95 และ .92 ตามลชำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย และวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ อยู่ในระดับสูง (X =4.02, SD =.42, X =3.93, SD =.59 และ X =3.82, SD = .50 ตามลำดับ) 2. ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย และวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .72 และ .75 ตามลำดับ)Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23133 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354421 WX40 ก133 2549 Thesis Main Library Thesis Corner Available คู่มือและแนวปฎิบัติสำหรับการจัดการศึกษาแก่บุคคล / กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานปลัดกระทรวง / กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย - 2555
Title : คู่มือและแนวปฎิบัติสำหรับการจัดการศึกษาแก่บุคคล : ที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร หรือไม่มีสัญชาติไทย Material Type: printed text Authors: กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานปลัดกระทรวง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย Publication Date: 2555 Pagination: 181 หน้า Size: 30 ซม. Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการศึกษา -- ไทย -- วิจัย
[LCSH]การศึกษา -- ไทย -- การบริหาร
[LCSH]งานทะเบียนราษฎร
[LCSH]บุคคลไร้สัญชาติ -- การศึกษาKeywords: บุคคลไร้สัญชาติไทย.
การจัดการศึกษา.
การบริหาร.Class number: K/TH940 ศ931 2555 Contents note: บทที่ 1 สิทธิทางการศึกษาของบุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร หรือไม่มีสัญชาติไทยกับนโยบายของประเทศไทย.-- บทที่ 2 แนวทางในการจัดการศึกาาแก่บุคคลที่ไม่มีหลักฐานทางทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย แยกตามระดับและประเภทการศึกษา.-- บทที่ 3 แนวทางการปรับปรุงระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานในการรับนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียนในสถานศึกษ พ.ศ 2548.-- Curricular : BALA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23269 คู่มือและแนวปฎิบัติสำหรับการจัดการศึกษาแก่บุคคล : ที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร หรือไม่มีสัญชาติไทย [printed text] / กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานปลัดกระทรวง, Author . - กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2555 . - 181 หน้า ; 30 ซม.
บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการศึกษา -- ไทย -- วิจัย
[LCSH]การศึกษา -- ไทย -- การบริหาร
[LCSH]งานทะเบียนราษฎร
[LCSH]บุคคลไร้สัญชาติ -- การศึกษาKeywords: บุคคลไร้สัญชาติไทย.
การจัดการศึกษา.
การบริหาร.Class number: K/TH940 ศ931 2555 Contents note: บทที่ 1 สิทธิทางการศึกษาของบุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร หรือไม่มีสัญชาติไทยกับนโยบายของประเทศไทย.-- บทที่ 2 แนวทางในการจัดการศึกาาแก่บุคคลที่ไม่มีหลักฐานทางทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย แยกตามระดับและประเภทการศึกษา.-- บทที่ 3 แนวทางการปรับปรุงระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานในการรับนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียนในสถานศึกษ พ.ศ 2548.-- Curricular : BALA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23269 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000356194 K/TH940 ศ931 2555 Book Main Library General Shelf Available ตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูนย์ / ชลธิชา กองจริต / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูนย์ Original title : Indicators of nursing administration quality in intensive care units, regional hospital and medical centers Material Type: printed text Authors: ชลธิชา กองจริต, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ฎ, 210 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-176-047-7 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม. (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยม 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต -- การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์Keywords: การบริหาร.
การพยาบาล.
หอผู้ป่วยวิกฤต.
โรงพยาบาลศูนย์.Class number: WX150 ช274 2547 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูนย์โดยใช้วิธีเชิงประจักษ์ วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลักดังนี้
ขั้นที่ 1 กำหนดกรอบแนวคิดเบื้องต้นของการวิจัย โดยทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องร่วมกับการสัมภาษณ์ผู้เชียวชาญทั้งหมด 10 ท่าน ซึ่งมีประสบการณ์การทำงานในหอผู้ป่วยวิกฤ๖ โรงพยาบาลศูนย์
ขั้นที่ 2 สร้างเครื่องมือโดยใช้แบบสอบถามตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤตและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยการตรวจสอบความตรงตามเนื่อหาจากผู้เชี่ยวชาญ และหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้่าความเที่ยงเท่ากับ 0.97
ขั้นที่ 3 รวบรวมข้อมูลเชิงประจักษ์จากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ทำงานในหอผู้ป่วยวิกฤต 5 ปีขึ้นไป จำนวน 678 คน แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์คิดเป็นร้อยละ 96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนคิการวิเคราะห์องค์ประกอบ สกัดองค์ประกอบด้วยวิธีองค์ประกอบหลัก หมุนแกนแบบออโธร์กอนอล ด้วยวิธีแวริแมกซ์ คัดเลือกตัวชี้วัดมีค่าไอแกนมากว่า 1.02 องค์ประกอบตัวชี้วัดมีตัวชี้ย่อยไม่น้อยกว่า 3 ตัวแปนขึ้นไป ตัวชี้วัดมีน้ำหนักองค์ประกอบอย่างน้อย 0.40
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
ตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูฯย์ ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 67.67 โดยมีตัวชี้วัด ดังนี้
1. การนิเทศ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 11 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 16.68%
2. การบริหารพัสดุและพื้นที่ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 11 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 12.09%
3. ทีมสหสาขาและการศึกษาต่อเนื่อง ประกอบก้วยตัวชี้วัดย่อย 7 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 9.51%
4. การจัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 7 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 8.79%
5. การจัดระบบงาน ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 4 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 8.67%
6. การควบคุมการติดเชื้อ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 6 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 6.58%
7. การพัฒนาบุคลากรเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยวิกฤต ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 4 ตัวชี้วัด อธิบายความแปปรวนได้ 5.328%
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23306 ตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูนย์ = Indicators of nursing administration quality in intensive care units, regional hospital and medical centers [printed text] / ชลธิชา กองจริต, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ฎ, 210 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-176-047-7 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม. (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยม 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต -- การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์Keywords: การบริหาร.
การพยาบาล.
หอผู้ป่วยวิกฤต.
โรงพยาบาลศูนย์.Class number: WX150 ช274 2547 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูนย์โดยใช้วิธีเชิงประจักษ์ วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลักดังนี้
ขั้นที่ 1 กำหนดกรอบแนวคิดเบื้องต้นของการวิจัย โดยทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องร่วมกับการสัมภาษณ์ผู้เชียวชาญทั้งหมด 10 ท่าน ซึ่งมีประสบการณ์การทำงานในหอผู้ป่วยวิกฤ๖ โรงพยาบาลศูนย์
ขั้นที่ 2 สร้างเครื่องมือโดยใช้แบบสอบถามตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤตและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยการตรวจสอบความตรงตามเนื่อหาจากผู้เชี่ยวชาญ และหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้่าความเที่ยงเท่ากับ 0.97
ขั้นที่ 3 รวบรวมข้อมูลเชิงประจักษ์จากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ทำงานในหอผู้ป่วยวิกฤต 5 ปีขึ้นไป จำนวน 678 คน แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์คิดเป็นร้อยละ 96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนคิการวิเคราะห์องค์ประกอบ สกัดองค์ประกอบด้วยวิธีองค์ประกอบหลัก หมุนแกนแบบออโธร์กอนอล ด้วยวิธีแวริแมกซ์ คัดเลือกตัวชี้วัดมีค่าไอแกนมากว่า 1.02 องค์ประกอบตัวชี้วัดมีตัวชี้ย่อยไม่น้อยกว่า 3 ตัวแปนขึ้นไป ตัวชี้วัดมีน้ำหนักองค์ประกอบอย่างน้อย 0.40
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
ตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูฯย์ ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 67.67 โดยมีตัวชี้วัด ดังนี้
1. การนิเทศ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 11 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 16.68%
2. การบริหารพัสดุและพื้นที่ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 11 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 12.09%
3. ทีมสหสาขาและการศึกษาต่อเนื่อง ประกอบก้วยตัวชี้วัดย่อย 7 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 9.51%
4. การจัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 7 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 8.79%
5. การจัดระบบงาน ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 4 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 8.67%
6. การควบคุมการติดเชื้อ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 6 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 6.58%
7. การพัฒนาบุคลากรเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยวิกฤต ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 4 ตัวชี้วัด อธิบายความแปปรวนได้ 5.328%
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23306 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000384659 THE WX150 ช274 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) / วิภาวรรณ บัวสรวง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) Original title : The Desirable roles of nursing directors, government university hospitals, in the next decade (A.D. 2008-2017) Material Type: printed text Authors: วิภาวรรณ บัวสรวง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ฏ, 188 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การบริหารงานบุคคล.
การบริหาร.
โรงพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ว736 2550 Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 25 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารโรงพยาบาล ด้านการบริหารการพยาบาล ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านองค์การวิชาชีพพยาบาล และด้านนโยบายและองค์การสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 93 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหนัาพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 69 ข้อ เป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 56 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 13 ข้อ จำแนกเป็น 9 ด้านดังนี้
1. ภาวะผู้นำ 2. การบริหารจัดการ 3. การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล 4. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. พัฒนาวิชาชีพ 6. วิชาการและการวิจัย 7. ด้านการจัดการการเิงิน 8. ด้านการจัดการสารสนเทศทางการพยาบาล 9. ด้านการอำนวยความสะดวกRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23231 บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) = The Desirable roles of nursing directors, government university hospitals, in the next decade (A.D. 2008-2017) [printed text] / วิภาวรรณ บัวสรวง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ฏ, 188 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การบริหารงานบุคคล.
การบริหาร.
โรงพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ว736 2550 Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 25 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารโรงพยาบาล ด้านการบริหารการพยาบาล ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านองค์การวิชาชีพพยาบาล และด้านนโยบายและองค์การสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 93 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหนัาพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 69 ข้อ เป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 56 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 13 ข้อ จำแนกเป็น 9 ด้านดังนี้
1. ภาวะผู้นำ 2. การบริหารจัดการ 3. การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล 4. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. พัฒนาวิชาชีพ 6. วิชาการและการวิจัย 7. ด้านการจัดการการเิงิน 8. ด้านการจัดการสารสนเทศทางการพยาบาล 9. ด้านการอำนวยความสะดวกRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23231 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355022 WX150 ว736 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available บริหารธุรกิจ: ความสำเร็จและความยั่งยืนบนการสร้างคุณค่า / วิทยา ด่านธำรงกูล / ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - 2561
Title : บริหารธุรกิจ: ความสำเร็จและความยั่งยืนบนการสร้างคุณค่า Original title : Business: Creating value for success and sustainability Material Type: printed text Authors: วิทยา ด่านธำรงกูล, Author Publisher: ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Publication Date: 2561 Pagination: 434 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 28 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-474854-5 Price: 420.00 บาท Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการอุตสาหกรรม
[LCSH]การจัดตั้งธุรกิจ
[LCSH]การสร้างสรรค์ทางธุรกิจ -- ไทย
[LCSH]ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ -- ไทย
[LCSH]ความเป็นผู้ประกอบการทางสังคม -- ไทย
[LCSH]โมเดลธุรกิจKeywords: ธุรกิจ, การจัดการ, การบริหารธุรกิจ, ความสำเร็จทางธุรกิจ Class number: HD37 .ว634บ 2561 Contents note: ส่วนที่ 1 ธุรกิจ: การปรับตัวเพื่อความสำเร็จและยั่งยืน -- ส่วนที่ 2 การบริหารธุรกิจเพื่อประสิทธิผลและประสิทธิภาพ -- ส่วนที่ 3 ธุรกิจกับการผลิิตสินค้าและบริการคุณภาพ -- ส่วนที่ 4 ธุรกิจกับการสร้างความพึงพอใจให้ผู้บริโภค -- ส่วนที่ 5 การบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อประสิทธิภาพ -- ส่วนที่ 6 การบริหารการเงินเพื่อสร้างคุณค่าทางธุรกิจ. Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28209 บริหารธุรกิจ: ความสำเร็จและความยั่งยืนบนการสร้างคุณค่า = Business: Creating value for success and sustainability [printed text] / วิทยา ด่านธำรงกูล, Author . - [S.l.] : ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561 . - 434 น. : ภาพประกอบ ; 28 ซม.
ISBN : 978-6-16-474854-5 : 420.00 บาท
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการอุตสาหกรรม
[LCSH]การจัดตั้งธุรกิจ
[LCSH]การสร้างสรรค์ทางธุรกิจ -- ไทย
[LCSH]ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ -- ไทย
[LCSH]ความเป็นผู้ประกอบการทางสังคม -- ไทย
[LCSH]โมเดลธุรกิจKeywords: ธุรกิจ, การจัดการ, การบริหารธุรกิจ, ความสำเร็จทางธุรกิจ Class number: HD37 .ว634บ 2561 Contents note: ส่วนที่ 1 ธุรกิจ: การปรับตัวเพื่อความสำเร็จและยั่งยืน -- ส่วนที่ 2 การบริหารธุรกิจเพื่อประสิทธิผลและประสิทธิภาพ -- ส่วนที่ 3 ธุรกิจกับการผลิิตสินค้าและบริการคุณภาพ -- ส่วนที่ 4 ธุรกิจกับการสร้างความพึงพอใจให้ผู้บริโภค -- ส่วนที่ 5 การบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อประสิทธิภาพ -- ส่วนที่ 6 การบริหารการเงินเพื่อสร้างคุณค่าทางธุรกิจ. Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28209 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607059 HD37 .ว634บ 2561 Book Main Library General Shelf Available ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข / กันยารัตน์ ม้าวิไล / 2551
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : Factors affecting risk management behaviors of head nurse in regional hospitals under the jurisdiction of the Ministry of public health Material Type: printed text Authors: กันยารัตน์ ม้าวิไล, Author Publication Date: 2551 Pagination: ก-ฎ, 148 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล]] -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารความเสี่ยง
[LCSH]ทักษะการติดต่อสื่อสาร
[LCSH]เจตคติต่อการบริหารความเสี่ยงKeywords: การบริหารความเสี่ยง.
หัวหน้่าหอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลศูนย์สังกัดกระทรวงสาธารณสุข.Class number: WY18 ก115 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา เพื่อศึกษา 1. ระดับของพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย 2. ปัจจัยส่วนบุคคล เจตคติการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อสื่อสารของหัวหน้าหอผู้ป่วย 3. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล เจตคติการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อสื่อสารกับพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และ 4. ตัวแปรพยากรณ์ที่ร่วมทำนายพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย
ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วยโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2.ค่าเฉลี่ยของเจตคติต่อการบริหารความเสี่ยงและทักษะการติดต่อสื่อสารเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงโดยรวมอยู่ในระดับสูง 3. วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และการได้รับการอบรมไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย สำหรัีบเจตคติมีความสัมพนธ์ทางบวกในระดับปานกลาง และทักษะการติดต่อสื่อสารมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. เจตคติต่อการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อสื่อสารสามารถร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วยได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ.05 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมบริหารความเสี่ยงได้ร้อยละ 44 (R=.440) และความสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบได้
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23224 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข = Factors affecting risk management behaviors of head nurse in regional hospitals under the jurisdiction of the Ministry of public health [printed text] / กันยารัตน์ ม้าวิไล, Author . - 2551 . - ก-ฎ, 148 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล]] -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารความเสี่ยง
[LCSH]ทักษะการติดต่อสื่อสาร
[LCSH]เจตคติต่อการบริหารความเสี่ยงKeywords: การบริหารความเสี่ยง.
หัวหน้่าหอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลศูนย์สังกัดกระทรวงสาธารณสุข.Class number: WY18 ก115 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา เพื่อศึกษา 1. ระดับของพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย 2. ปัจจัยส่วนบุคคล เจตคติการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อสื่อสารของหัวหน้าหอผู้ป่วย 3. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล เจตคติการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อสื่อสารกับพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และ 4. ตัวแปรพยากรณ์ที่ร่วมทำนายพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย
ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วยโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2.ค่าเฉลี่ยของเจตคติต่อการบริหารความเสี่ยงและทักษะการติดต่อสื่อสารเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงโดยรวมอยู่ในระดับสูง 3. วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และการได้รับการอบรมไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วย สำหรัีบเจตคติมีความสัมพนธ์ทางบวกในระดับปานกลาง และทักษะการติดต่อสื่อสารมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. เจตคติต่อการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อสื่อสารสามารถร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ป่วยได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ.05 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมบริหารความเสี่ยงได้ร้อยละ 44 (R=.440) และความสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบได้
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23224 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354900 WY18 ก115 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available