From this page you can:
Home |
Search results
12 result(s) search for keyword(s) 'องค์การ. โรงพยาบาลเอกชน การบริหาร การจัดการ'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
อนาคตภาพองค์กรพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน / สุพัตรา มะปรางหวาน / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : อนาคตภาพองค์กรพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน : ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 Original title : Scenario of nursing organization private hospitals during 2007-2011 Material Type: printed text Authors: สุพัตรา มะปรางหวาน, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฎ, 206 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ,แผนภูมิ. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-584-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาบุคลากร
[LCSH]องค์การแห่งการเรียนรู้
[LCSH]โรงพยาบาล -- การจัดการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: องค์การ.
โรงพยาบาลเอกชน
การบริหาร
การจัดการClass number: WX150 ส846 2546 Abstract: การวิจัยนี้ เพื่อศึกษาอนาคตภาพองค์การพยาบาล โรงพยายาลเอกชนในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 วิธีดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ
1. ศึกษาวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย
2.ศึกษาอนาคตภาพองค์การพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 โดโดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Future Research (EDFR) จำนวนผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ 20 ท่าน คัดเลือกอนาคตองค์การพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดะับมากขึ้นไป และเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ (Md มากกว่า 1.50 Mo-Md ไม่เกิน 1.00) ระยะเวลาในการรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 93 วัน
ผลการวิจัยพบว่า อนาคตภาพอง การพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 มีแนวโน้ม 5 ด้าน คือ โครงสร้างองค์การและการบริหาร การบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหารความปลอดภัยของบุคลากรและผู้ใช้บริการ ระบบสารสนเทศทางการพยาบาล รูปแบบบริการพยาบาล ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1. โครงสร้างองค์การและการบริหาร โครงสร้างองค์การผสมผสานระหว่างแบบเมตริกซ์ และแบบแบนราบ ส่วนการบริหารงาน องค์การมีการสร้างเวิรมภาวะผู้นำ และพลังอำนาจแก่บุคลากร เพื่อให้เกิดทีมงานที่มีประสิทธิภาพ
2. การบริหารทรัพยากรบุคคล มีการประสานความร่วมมือกับสถานศึกษาพยาบาลในการสรรหา การคัดเลือก และการพัฒนาบุคลากร ส่วนการประเมินผลการปฏิบัติงานใช้การประเมินแบบ 360 องศา
3. การบริหารความปลอดภัยของบุคลากรและผู้ใช้บริการ มีการประกันความเสี่ยงในการปฏิบัิติงานให้่แก่บุคลากร และการบริหารความปลอดภัยของผู็ใช้บริการ มีระบบความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล
4. ระบบสารสนเทศทางการพยาบาล นำสารสนเทศมาใช้ในระบบบันทึกทางการพยาบาล การบริหารการพยาบาล การบริหารทรัพยากรบุคคล และการสื่อสารภายในองค์การ
5. รูปแบบบริการพยาบาล มีลักษณะการบริการพยาบาลที่ทันสมัย ให้บริการเชิงรุก เตรียมความพร้อมในการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการชาวต่างชาติ และพัฒนาบริการพยาบาลให้ได้ตามมาตรฐานในระดับสากลCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23351 อนาคตภาพองค์กรพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน = Scenario of nursing organization private hospitals during 2007-2011 : ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 [printed text] / สุพัตรา มะปรางหวาน, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฎ, 206 แผ่น. : ตารางประกอบ,แผนภูมิ. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-584-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาบุคลากร
[LCSH]องค์การแห่งการเรียนรู้
[LCSH]โรงพยาบาล -- การจัดการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: องค์การ.
โรงพยาบาลเอกชน
การบริหาร
การจัดการClass number: WX150 ส846 2546 Abstract: การวิจัยนี้ เพื่อศึกษาอนาคตภาพองค์การพยาบาล โรงพยายาลเอกชนในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 วิธีดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ
1. ศึกษาวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย
2.ศึกษาอนาคตภาพองค์การพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 โดโดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Future Research (EDFR) จำนวนผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ 20 ท่าน คัดเลือกอนาคตองค์การพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดะับมากขึ้นไป และเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ (Md มากกว่า 1.50 Mo-Md ไม่เกิน 1.00) ระยะเวลาในการรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 93 วัน
ผลการวิจัยพบว่า อนาคตภาพอง การพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน ในช่วงพุทธศักราช 2550-2554 มีแนวโน้ม 5 ด้าน คือ โครงสร้างองค์การและการบริหาร การบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหารความปลอดภัยของบุคลากรและผู้ใช้บริการ ระบบสารสนเทศทางการพยาบาล รูปแบบบริการพยาบาล ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1. โครงสร้างองค์การและการบริหาร โครงสร้างองค์การผสมผสานระหว่างแบบเมตริกซ์ และแบบแบนราบ ส่วนการบริหารงาน องค์การมีการสร้างเวิรมภาวะผู้นำ และพลังอำนาจแก่บุคลากร เพื่อให้เกิดทีมงานที่มีประสิทธิภาพ
2. การบริหารทรัพยากรบุคคล มีการประสานความร่วมมือกับสถานศึกษาพยาบาลในการสรรหา การคัดเลือก และการพัฒนาบุคลากร ส่วนการประเมินผลการปฏิบัติงานใช้การประเมินแบบ 360 องศา
3. การบริหารความปลอดภัยของบุคลากรและผู้ใช้บริการ มีการประกันความเสี่ยงในการปฏิบัิติงานให้่แก่บุคลากร และการบริหารความปลอดภัยของผู็ใช้บริการ มีระบบความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล
4. ระบบสารสนเทศทางการพยาบาล นำสารสนเทศมาใช้ในระบบบันทึกทางการพยาบาล การบริหารการพยาบาล การบริหารทรัพยากรบุคคล และการสื่อสารภายในองค์การ
5. รูปแบบบริการพยาบาล มีลักษณะการบริการพยาบาลที่ทันสมัย ให้บริการเชิงรุก เตรียมความพร้อมในการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการชาวต่างชาติ และพัฒนาบริการพยาบาลให้ได้ตามมาตรฐานในระดับสากลCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23351 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000356996 THE WX150 ส846 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ / ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ Original title : The Policy Implementation of Cash Allowance for the Elderly in Wangpong Subdistric Administration Organization, Pran Buri District, Prachuap Khiri Khan Province Material Type: printed text Authors: ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: v, 75 น. Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ประจวบคีรีขันธ์ -- ปราณบุรี -- -- วังก์พง
[LCSH]เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุKeywords: นโยบาย,
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาเรื่องการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบล ศึกษาปัญหาและอุปสรรค และศึกษาแนวทางแก้ไขปรับปรุงการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากร เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จำนวน 9 คนใช้การวิจัยแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) โดยคำถามเป็นแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า วิธีการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติมีกระบวนการดำเนินงานคือ 1. ทำการศึกษารายละเอียดระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 2.ทำการประชุม วางแผน มอบหมายหน้าที่ 3. ทำการประชาสัมพันธ์ 4. รับขึ้นทะเบียนผู้สูงอายุ ด้านขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงานตามนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงว่ามีความเหมาะสม ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่ามีปัญหาจากนโยบายระเบียบและแนวทางการปฏิบัติ ไม่สอดคล้องกับพื้นที่การปฏิบัติงานของบุคลากรและความต้องการของประชาชน ปัญหาการประสานงานร่วมมือกับหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ปัญหาด้านการประชาสัมพันธ์ และปัญหาเรื่องการจ่ายเงินให้ผู้สูงอายุที่เสียชีวิตแล้ว ส่วนปัจจัยที่ทำให้การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติเกิดผลสำเร็จหรือเกิดความล้มเหลว ได้แก่ ตัวของนโยบาย ผู้ที่คิดนโยบาย ผู้นำนโยบายไปปฏิบัติและผู้สูงอายุ ผลการวิจัยด้านการปรับปรุง พัฒนาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติให้ดีขึ้นพบว่า สิ่งที่ควรปรับปรุง คือ บุคลากรหรือพนักงานที่เกี่ยวข้องควรศึกษานโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้ละเอียดและเข้าใจ รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ผู้สูงอายุเข้าใจหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพ เพื่อความเข้าใจและสะดวกรวดเร็ว นอกจากนี้ ควรมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการย้ายเข้า ย้ายออกของผู้สูงอายุกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และควรเปลี่ยนหลักเกณฑ์จากการจ่ายเบี้ยยังชีพให้เป็นแบบจำนวนที่เท่ากันและควรเพิ่มจำนวนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอื่นๆให้มากขึ้นด้วยCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26893 SIU IS-T. การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ = The Policy Implementation of Cash Allowance for the Elderly in Wangpong Subdistric Administration Organization, Pran Buri District, Prachuap Khiri Khan Province [printed text] / ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - v, 75 น. ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ประจวบคีรีขันธ์ -- ปราณบุรี -- -- วังก์พง
[LCSH]เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุKeywords: นโยบาย,
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาเรื่องการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบล ศึกษาปัญหาและอุปสรรค และศึกษาแนวทางแก้ไขปรับปรุงการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากร เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จำนวน 9 คนใช้การวิจัยแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) โดยคำถามเป็นแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า วิธีการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติมีกระบวนการดำเนินงานคือ 1. ทำการศึกษารายละเอียดระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 2.ทำการประชุม วางแผน มอบหมายหน้าที่ 3. ทำการประชาสัมพันธ์ 4. รับขึ้นทะเบียนผู้สูงอายุ ด้านขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงานตามนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงว่ามีความเหมาะสม ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่ามีปัญหาจากนโยบายระเบียบและแนวทางการปฏิบัติ ไม่สอดคล้องกับพื้นที่การปฏิบัติงานของบุคลากรและความต้องการของประชาชน ปัญหาการประสานงานร่วมมือกับหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ปัญหาด้านการประชาสัมพันธ์ และปัญหาเรื่องการจ่ายเงินให้ผู้สูงอายุที่เสียชีวิตแล้ว ส่วนปัจจัยที่ทำให้การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติเกิดผลสำเร็จหรือเกิดความล้มเหลว ได้แก่ ตัวของนโยบาย ผู้ที่คิดนโยบาย ผู้นำนโยบายไปปฏิบัติและผู้สูงอายุ ผลการวิจัยด้านการปรับปรุง พัฒนาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติให้ดีขึ้นพบว่า สิ่งที่ควรปรับปรุง คือ บุคลากรหรือพนักงานที่เกี่ยวข้องควรศึกษานโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้ละเอียดและเข้าใจ รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ผู้สูงอายุเข้าใจหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพ เพื่อความเข้าใจและสะดวกรวดเร็ว นอกจากนี้ ควรมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการย้ายเข้า ย้ายออกของผู้สูงอายุกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และควรเปลี่ยนหลักเกณฑ์จากการจ่ายเบี้ยยังชีพให้เป็นแบบจำนวนที่เท่ากันและควรเพิ่มจำนวนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอื่นๆให้มากขึ้นด้วยCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26893 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593713 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593721 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชน กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบลหนองละลอก อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง / ปราโมทย์ ฉันทมิตร์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชน กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบลหนองละลอก อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง Original title : Citizen Participation in Local Development: Case Study of Nong Lalok Subdistrict, Ban Khai District, Rayong Province Material Type: printed text Authors: ปราโมทย์ ฉันทมิตร์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 61 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-04
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Community development -- Case studies
[LCSH]Participation
[LCSH]การพัฒนาชุมชน
[LCSH]การมีส่วนร่วมKeywords: การมีส่วนร่วม
การพัฒนาท้องถิ่น
ประชาชน
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง การมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชน: ศึกษากรณีองค์การบริหารส่วนตำบลหนองละลอก อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองละลอก อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง และเพื่อหาความสัมพันธ์ต่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองละลอก Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26079 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชน กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบลหนองละลอก อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง = Citizen Participation in Local Development: Case Study of Nong Lalok Subdistrict, Ban Khai District, Rayong Province [printed text] / ปราโมทย์ ฉันทมิตร์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 61 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-04
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Community development -- Case studies
[LCSH]Participation
[LCSH]การพัฒนาชุมชน
[LCSH]การมีส่วนร่วมKeywords: การมีส่วนร่วม
การพัฒนาท้องถิ่น
ประชาชน
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง การมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชน: ศึกษากรณีองค์การบริหารส่วนตำบลหนองละลอก อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองละลอก อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง และเพื่อหาความสัมพันธ์ต่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองละลอก Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26079 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000506939 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-04 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000507010 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-04 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590578 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-04 c.3 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี / อรพรรณ พัฒนรักษา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : A Research on Service Quality of the Tambol Administrative Organization of Takhanon of Kiriratnikom District, Suratthani Province Material Type: printed text Authors: อรพรรณ พัฒนรักษา, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 81 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]การบริการ -- การพัฒนา
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- สุราษธานี -- ท่าขนอน -- การให้บริการKeywords: คุณภาพการให้บริการ
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อคุณภาพการให้บริการองค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี 3) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อคุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้วิธีเชิงปริมาณ มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 376 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย วิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ทางสถิติ SPSS สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย สถิติบรรยาย (descriptive statistics) ได้แก่ ความถี่ (frequency) ร้อยละ (percentage) ค่าเฉลี่ย (mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) และสถิติอ้างอิง (inferential statistics) ได้แก่ สถิติ t-test และสถิติ one way ANOVA โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ระดับ .05 และ .01
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุ 21-30 ปี การศึกษาอนุปริญญา หรือเทียบเท่า มีอาชีพรับจ้างทั่วไป และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,000-10,000 บาท คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฏร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาและอุปสรรคที่ประชาชนได้รับจากการบริการ คือ เรื่องความล่าช้าในการรับบริการ เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อคุณภาพการให้บริการมากCurricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26539 SIU IS-T. คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี = A Research on Service Quality of the Tambol Administrative Organization of Takhanon of Kiriratnikom District, Suratthani Province [printed text] / อรพรรณ พัฒนรักษา, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 81 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]การบริการ -- การพัฒนา
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- สุราษธานี -- ท่าขนอน -- การให้บริการKeywords: คุณภาพการให้บริการ
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อคุณภาพการให้บริการองค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี 3) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อคุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้วิธีเชิงปริมาณ มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 376 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย วิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ทางสถิติ SPSS สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย สถิติบรรยาย (descriptive statistics) ได้แก่ ความถี่ (frequency) ร้อยละ (percentage) ค่าเฉลี่ย (mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) และสถิติอ้างอิง (inferential statistics) ได้แก่ สถิติ t-test และสถิติ one way ANOVA โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ระดับ .05 และ .01
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุ 21-30 ปี การศึกษาอนุปริญญา หรือเทียบเท่า มีอาชีพรับจ้างทั่วไป และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,000-10,000 บาท คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฏร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาและอุปสรรคที่ประชาชนได้รับจากการบริการ คือ เรื่องความล่าช้าในการรับบริการ เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อคุณภาพการให้บริการมากCurricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26539 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591832 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-11 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. บทบาทหน้าที่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง / รัฐพล ไชยธรรม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : บทบาทหน้าที่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง Original title : Roles and Duties of Sub-District Local Administrative Organization’s Member in Management of Map Yang Porn Sub-District Local Administrative Organization Administration of, Plaukdang District, Rayong Province Material Type: printed text Authors: รัฐพล ไชยธรรม, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vi, 68 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหาร
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- บทบาท
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ระยอง -- มาบยางพรKeywords: การบริหารงาน,
บทบาท,
สมาชิก,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การค้นคว้าอิสระงานนี้จึงศึกษาบทบาทหน้าที่ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร โดยเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากเจ้าหน้าที่จำนวน 7 คน จากนั้นนำมาทำการวิเคราะห์ทางสถิติใช้สถิติเชิงพรรณา และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 41 - 50 ปี จบการศึกษามัธยมศึกษา มีระยะเวลาการปฏิบัติงาน 7-10 ปี สำหรับบทบาทหน้าที่โดยภาพรวม พบว่า ให้ความเห็นชอบตามแผนพัฒนาตำบล เมื่อมีการพิจารณาร่างข้อบัญญัติตำบลยึดหลักตามสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชน มีการทักท้วงให้ข้อเสนอแนะ ในเรื่องปัญหาอุปสรรคการปฏิบัติงานด้านแผนพัฒนาตำบล ข้อบัญญัติตำบล นอกจากนี้พบว่าการทำงานที่ล่าช้าไม่ทันความต้องการของประชาชน ในการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ผู้ตอบแบบสอบถามจะคอยเสนอแนะในการประชุมของผู้บริหาร ให้ข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล คือ ต้องประชาสัมพันธ์ พบปะประชาชน เสียสละ เสนอแผนงานโครงการตามนโยบายของการCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26653 SIU IS-T. บทบาทหน้าที่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง = Roles and Duties of Sub-District Local Administrative Organization’s Member in Management of Map Yang Porn Sub-District Local Administrative Organization Administration of, Plaukdang District, Rayong Province [printed text] / รัฐพล ไชยธรรม, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vi, 68 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหาร
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- บทบาท
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ระยอง -- มาบยางพรKeywords: การบริหารงาน,
บทบาท,
สมาชิก,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การค้นคว้าอิสระงานนี้จึงศึกษาบทบาทหน้าที่ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร โดยเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากเจ้าหน้าที่จำนวน 7 คน จากนั้นนำมาทำการวิเคราะห์ทางสถิติใช้สถิติเชิงพรรณา และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 41 - 50 ปี จบการศึกษามัธยมศึกษา มีระยะเวลาการปฏิบัติงาน 7-10 ปี สำหรับบทบาทหน้าที่โดยภาพรวม พบว่า ให้ความเห็นชอบตามแผนพัฒนาตำบล เมื่อมีการพิจารณาร่างข้อบัญญัติตำบลยึดหลักตามสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชน มีการทักท้วงให้ข้อเสนอแนะ ในเรื่องปัญหาอุปสรรคการปฏิบัติงานด้านแผนพัฒนาตำบล ข้อบัญญัติตำบล นอกจากนี้พบว่าการทำงานที่ล่าช้าไม่ทันความต้องการของประชาชน ในการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ผู้ตอบแบบสอบถามจะคอยเสนอแนะในการประชุมของผู้บริหาร ให้ข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล คือ ต้องประชาสัมพันธ์ พบปะประชาชน เสียสละ เสนอแผนงานโครงการตามนโยบายของการCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26653 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593010 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593028 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ประสิทธิผลการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล / ปกิต มูลเพ็ญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : ประสิทธิผลการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Effectiveness of Operational for Enhancing High Performance Organization of Patrol and Special Operation, Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: ปกิต มูลเพ็ญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: x, 259 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-22
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ
[LCSH]การจัดองค์การ
[LCSH]ประสิทธิผลองค์การKeywords: ประสิทธิผลการดำเนินงาน, องค์การสมรรถนะสูง, กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ Abstract: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการบริหารองค์การสมัยใหม่ ลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง และภาวะผู้นำองค์การสมัยใหม่ของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลกับคุณภาพการบริหารจัดการองค์การ ตามหลักเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 2) ศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการองค์สมัยใหม่ ภาวะผู้นำ และลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล และ 3) ศึกษาแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์การดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ด้วยเทคนิควิธีการเชิงปริมาณกลุ่มตัวอย่างจำนวน 310 ตัวอย่าง และเชิงคุณภาพผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 7 ท่าน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม เลือกใช้สถิติแบบอธิบาย และแบบอ้างอิงในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล กล่าวคือ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) สถิติแบบอ้างอิง สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การทดสอบค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหูคูณ
ผลการศึกษา พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการบริหารองค์การสมัยใหม่ ลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง และภาวะผู้นำองค์การสมัยใหม่ของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลกับคุณภาพการบริหารจัดการองค์การ ตามหลักเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) โดยผลการศึกษานี้สอดคล้องกับผลงานวิจัยที่พบว่า การเป็นองค์การสมรรถนะสูงนั้นจะประกอบด้วยปัจจัยด้านกลยุทธ์ขององค์การ ปัจจัยด้านภาวะผู้นำ และปัจจัยด้านบุคลากรที่มีคุณภาพ การพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ การมีโครงสร้างองค์การที่ยืดหยุ่น รวมถึงมีนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงาน และปัจจัยด้านการบริหารอื่น ๆ และการศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการองค์สมัยใหม่ ภาวะผู้นำ และลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง ที่ส่งผลต่อการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยผลการศึกษานี้สอดคล้องกับผลงานวิจัยที่พบว่า การอำนวยการ กลยุทธ์ โครงสร้างองค์การ รูปแบบบริหารหรือการควบคุม การประสานงานหรือการสร้างทีม ทักษะบุคลากร ระบบปฏิบัติการ ค่านิยมร่วม ภาวะผู้นำ รวมถึงปัจจัยด้านการบริหารอื่น ๆ ส่งผลต่อการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูง และการศึกษาสามารถบรรลุวัตถุประสงค์แนวทางในการกำหนดกลยุทธ์การดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28104 SIU THE-T. ประสิทธิผลการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Effectiveness of Operational for Enhancing High Performance Organization of Patrol and Special Operation, Metropolitan Police Bureau [printed text] / ปกิต มูลเพ็ญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - x, 259 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-22
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ
[LCSH]การจัดองค์การ
[LCSH]ประสิทธิผลองค์การKeywords: ประสิทธิผลการดำเนินงาน, องค์การสมรรถนะสูง, กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ Abstract: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการบริหารองค์การสมัยใหม่ ลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง และภาวะผู้นำองค์การสมัยใหม่ของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลกับคุณภาพการบริหารจัดการองค์การ ตามหลักเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 2) ศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการองค์สมัยใหม่ ภาวะผู้นำ และลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล และ 3) ศึกษาแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์การดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ด้วยเทคนิควิธีการเชิงปริมาณกลุ่มตัวอย่างจำนวน 310 ตัวอย่าง และเชิงคุณภาพผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 7 ท่าน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม เลือกใช้สถิติแบบอธิบาย และแบบอ้างอิงในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล กล่าวคือ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) สถิติแบบอ้างอิง สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การทดสอบค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหูคูณ
ผลการศึกษา พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการบริหารองค์การสมัยใหม่ ลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง และภาวะผู้นำองค์การสมัยใหม่ของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลกับคุณภาพการบริหารจัดการองค์การ ตามหลักเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) โดยผลการศึกษานี้สอดคล้องกับผลงานวิจัยที่พบว่า การเป็นองค์การสมรรถนะสูงนั้นจะประกอบด้วยปัจจัยด้านกลยุทธ์ขององค์การ ปัจจัยด้านภาวะผู้นำ และปัจจัยด้านบุคลากรที่มีคุณภาพ การพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ การมีโครงสร้างองค์การที่ยืดหยุ่น รวมถึงมีนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงาน และปัจจัยด้านการบริหารอื่น ๆ และการศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการองค์สมัยใหม่ ภาวะผู้นำ และลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง ที่ส่งผลต่อการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยผลการศึกษานี้สอดคล้องกับผลงานวิจัยที่พบว่า การอำนวยการ กลยุทธ์ โครงสร้างองค์การ รูปแบบบริหารหรือการควบคุม การประสานงานหรือการสร้างทีม ทักษะบุคลากร ระบบปฏิบัติการ ค่านิยมร่วม ภาวะผู้นำ รวมถึงปัจจัยด้านการบริหารอื่น ๆ ส่งผลต่อการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูง และการศึกษาสามารถบรรลุวัตถุประสงค์แนวทางในการกำหนดกลยุทธ์การดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28104 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607335 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-22 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607333 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-22 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความเข้มแข็งขององค์การบริหารส่วนบุคคล: การวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ / ประสูตร เหลืองสมานกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อความเข้มแข็งขององค์การบริหารส่วนบุคคล: การวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ Original title : Factors Affecting the Strengths of Tambon Administrative Organizations: An Analysis of Problems and Causes Material Type: printed text Authors: ประสูตร เหลืองสมานกุล, Author ; พิเชษฐ์ วงศ์เกียรติ์ขจร, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 230 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-07
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหารKeywords: ปัจจัยความเข้มแข็ง
องค์การบริหารส่วนตำบลCurricular : MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26594 SIU THE-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความเข้มแข็งขององค์การบริหารส่วนบุคคล: การวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ = Factors Affecting the Strengths of Tambon Administrative Organizations: An Analysis of Problems and Causes [printed text] / ประสูตร เหลืองสมานกุล, Author ; พิเชษฐ์ วงศ์เกียรติ์ขจร, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 230 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-07
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหารKeywords: ปัจจัยความเข้มแข็ง
องค์การบริหารส่วนตำบลCurricular : MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26594 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592368 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-07 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592335 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-07 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available การดำเนินงานองค์การบริหารส่วนตำบลโนนราษี อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม / ปราโมทย์ จิตธรรม in วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการ, Vol. 11 No. 1 (ม.ค-มิ.ย) 2557 ([09/30/2014])
[article]
Title : การดำเนินงานองค์การบริหารส่วนตำบลโนนราษี อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม : ตามความคิดเห็นของประชาชน Original title : The resident's evaluation of Nonerasee sub-district and administrative organization performance Amphoe Borabu Changwat Maha Sarakham Material Type: printed text Authors: ปราโมทย์ จิตธรรม, Author Publication Date: 2014 Article on page: 41-48 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการ > Vol. 11 No. 1 (ม.ค-มิ.ย) 2557 [09/30/2014] . - 41-48Keywords: องค์การบริหารส่วนตำบล.อบด.การดำเนินงาน. Link for e-copy: www.umt.ac.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23988 [article] การดำเนินงานองค์การบริหารส่วนตำบลโนนราษี อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม = The resident's evaluation of Nonerasee sub-district and administrative organization performance Amphoe Borabu Changwat Maha Sarakham : ตามความคิดเห็นของประชาชน [printed text] / ปราโมทย์ จิตธรรม, Author . - 2014 . - 41-48.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการ > Vol. 11 No. 1 (ม.ค-มิ.ย) 2557 [09/30/2014] . - 41-48Keywords: องค์การบริหารส่วนตำบล.อบด.การดำเนินงาน. Link for e-copy: www.umt.ac.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23988 การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) / ยุภา เทอดอุดมธรรม in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) Original title : The Development Of Head Nurses’ Competency Assessment For Banphaeo Hospital (Public Organization) Material Type: printed text Authors: ยุภา เทอดอุดมธรรม, Author ; สุวิณี วิวัฒน์วานิช, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.168-177 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.168-177Keywords: การประเมินสมรรถนะ.หัวหน้าหอผู้ป่วย.โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะ และกำหนดเกณฑ์ตัดสินผลการประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน)ทำการศึกษา 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การสร้างแบบประเมิน โดยการสังเคราะห์และวิเคราะห์ความสอดคล้องขององค์ประกอบสมรรถนะใช้การสนทนากลุ่มและการประชุมสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 8 คน
จากนั้นสร้างเกณฑ์การประเมินแบบมาตรประมาณค่าแบบยึดพฤติกรรม (BARS) วิเคราะห์ความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน วิเคราะห์คุณภาพของแบบประเมินด้านความคงที่โดยพยาบาลผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวน 3 คู่ ประเมินหัวหน้าหอผู้ป่วย 3 คน และหาค่าความสอดคล้องภายใน โดยนำแบบประเมินไปใช้กับประชากร คือหัวหน้าหอผู้ป่วย จำนวน 30 คน ประเมินโดยหัวหน้าพยาบาล/ประธานองค์การพยาบาล หัวหน้าหอผู้ป่วยประเมินตนเอง และพยาบาลผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวน 30 คนประเมิน หัวหน้าหอผู้ป่วย ระยะที่ 2 การกำหนดเกณฑ์ตัดสินผลการประเมินสมรรถนะ โดยนำผลการประเมินที่ได้มากำหนดคะแนนจุดตัด โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารการพยาบาล จำนวน 8 คน ผลการศึกษาสรุป ได้ดังนี้
1. แบบประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วย ประกอบด้วยสมรรถนะ 7 ด้าน ข้อรายการสมรรถนะ 34 ข้อ คือ 1) ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม (9 ข้อ) 2) การบริหารจัดการทรัพยากร (6 ข้อ) 3) การพัฒนาคุณภาพบริการ (6 ข้อ) 4) การสื่อสารและการสร้างสัมพันธภาพ (4 ข้อ) 5) จริยธรรม จรรยาบรรณ และกฎหมายวิชาชีพ (3 ข้อ) 6) นโยบายและสิ่งแวดล้อมด้านสุขภาพ (2 ข้อ) และ 7) การจัดการเชิงธุรกิจ (4 ข้อ)
2. ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมิน พบว่า แบบประเมินมีความตรงตามเนื้อหา เท่ากับ .91 ความเที่ยงของการสังเกต เท่ากับ .82 และความสอดคล้องภายในด้วยวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนของฮอยท์ (Hoyt’s Analysis of Variance method) เท่ากับ .99 3. เกณฑ์ตัดสินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) โดยรวมมีค่าคะแนนจุดตัดที่ T41.71Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27241 [article] การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) = The Development Of Head Nurses’ Competency Assessment For Banphaeo Hospital (Public Organization) [printed text] / ยุภา เทอดอุดมธรรม, Author ; สุวิณี วิวัฒน์วานิช, Author . - 2017 . - p.168-177.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.168-177Keywords: การประเมินสมรรถนะ.หัวหน้าหอผู้ป่วย.โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะ และกำหนดเกณฑ์ตัดสินผลการประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน)ทำการศึกษา 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การสร้างแบบประเมิน โดยการสังเคราะห์และวิเคราะห์ความสอดคล้องขององค์ประกอบสมรรถนะใช้การสนทนากลุ่มและการประชุมสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 8 คน
จากนั้นสร้างเกณฑ์การประเมินแบบมาตรประมาณค่าแบบยึดพฤติกรรม (BARS) วิเคราะห์ความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน วิเคราะห์คุณภาพของแบบประเมินด้านความคงที่โดยพยาบาลผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวน 3 คู่ ประเมินหัวหน้าหอผู้ป่วย 3 คน และหาค่าความสอดคล้องภายใน โดยนำแบบประเมินไปใช้กับประชากร คือหัวหน้าหอผู้ป่วย จำนวน 30 คน ประเมินโดยหัวหน้าพยาบาล/ประธานองค์การพยาบาล หัวหน้าหอผู้ป่วยประเมินตนเอง และพยาบาลผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวน 30 คนประเมิน หัวหน้าหอผู้ป่วย ระยะที่ 2 การกำหนดเกณฑ์ตัดสินผลการประเมินสมรรถนะ โดยนำผลการประเมินที่ได้มากำหนดคะแนนจุดตัด โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารการพยาบาล จำนวน 8 คน ผลการศึกษาสรุป ได้ดังนี้
1. แบบประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วย ประกอบด้วยสมรรถนะ 7 ด้าน ข้อรายการสมรรถนะ 34 ข้อ คือ 1) ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม (9 ข้อ) 2) การบริหารจัดการทรัพยากร (6 ข้อ) 3) การพัฒนาคุณภาพบริการ (6 ข้อ) 4) การสื่อสารและการสร้างสัมพันธภาพ (4 ข้อ) 5) จริยธรรม จรรยาบรรณ และกฎหมายวิชาชีพ (3 ข้อ) 6) นโยบายและสิ่งแวดล้อมด้านสุขภาพ (2 ข้อ) และ 7) การจัดการเชิงธุรกิจ (4 ข้อ)
2. ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมิน พบว่า แบบประเมินมีความตรงตามเนื้อหา เท่ากับ .91 ความเที่ยงของการสังเกต เท่ากับ .82 และความสอดคล้องภายในด้วยวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนของฮอยท์ (Hoyt’s Analysis of Variance method) เท่ากับ .99 3. เกณฑ์ตัดสินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) โดยรวมมีค่าคะแนนจุดตัดที่ T41.71Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27241 การรับรู้ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล / บุบผา พวงมาลี / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2542
Title : การรับรู้ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล : โรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานคร Original title : perception of learning organization of nursing department governmental hospital Bangkok metopolis Material Type: printed text Authors: บุบผา พวงมาลี, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2542 Pagination: ก-ญ, 170 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-334-594-9 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริการการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]องค์การแห่งการเรียนรู้
[LCSH]โรงพยาบาลของรัฐ -- การบริหารKeywords: องค์การแห่งการเรียนรู้.
การพยาบาล.
โรงพยาบาลของรัฐ.
การบริหาร.Class number: WX150 บ545 2542 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ รับรู้ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 ปี ขึ้นไป โรงพยาบาลของรัฐ เขตกทม. 8 แห่ง จำนวน 380 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบ หลายขั้นตอน เครื่อมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเกี่ยวกับความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล มีค่าความเที่ยง .98 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานครโดยรวมอยู่ในระดับสูง และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมและการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง การมีแบบแผนความคิด การสร่างวิสัยทัศน์ร่วมกัน อยู่ในในระดับสูง
2. ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาลของสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย อยู่ในระดัีบปานกลาง และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า สังกัดกรุงเทพมหานคร ด้านการมีแบบแผนความคิดอยู่ในระดับสูง ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การเรียนรู้กันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติด้านการมีแบบแผนความคิด การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง สังกัดกระทรวงกลาโหม ทุกด้านอยู่ในระดับสูง สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การมีแบบแผนความคิด อยู่ในระดับสูง ด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบอยู่ในระดับปานกลาง สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ทุกด้านอยู่ในระดับปานกลางCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23349 การรับรู้ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล = perception of learning organization of nursing department governmental hospital Bangkok metopolis : โรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานคร [printed text] / บุบผา พวงมาลี, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 . - ก-ญ, 170 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-334-594-9 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริการการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]องค์การแห่งการเรียนรู้
[LCSH]โรงพยาบาลของรัฐ -- การบริหารKeywords: องค์การแห่งการเรียนรู้.
การพยาบาล.
โรงพยาบาลของรัฐ.
การบริหาร.Class number: WX150 บ545 2542 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ รับรู้ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 ปี ขึ้นไป โรงพยาบาลของรัฐ เขตกทม. 8 แห่ง จำนวน 380 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบ หลายขั้นตอน เครื่อมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเกี่ยวกับความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล มีค่าความเที่ยง .98 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานครโดยรวมอยู่ในระดับสูง และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมและการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง การมีแบบแผนความคิด การสร่างวิสัยทัศน์ร่วมกัน อยู่ในในระดับสูง
2. ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาลของสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย อยู่ในระดัีบปานกลาง และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า สังกัดกรุงเทพมหานคร ด้านการมีแบบแผนความคิดอยู่ในระดับสูง ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การเรียนรู้กันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติด้านการมีแบบแผนความคิด การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง สังกัดกระทรวงกลาโหม ทุกด้านอยู่ในระดับสูง สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การมีแบบแผนความคิด อยู่ในระดับสูง ด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบอยู่ในระดับปานกลาง สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ทุกด้านอยู่ในระดับปานกลางCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23349 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357002 THE WX150 บ545 2542 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความขัดแย้งในองค์การ : ศึกษากรณีการบริหารส่วนตำบล (อบต.) จังหวัดเชียงใหม่ / มณฑาทิพย์ โกวิทเจริญกุล / กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ความขัดแย้งในองค์การ : ศึกษากรณีการบริหารส่วนตำบล (อบต.) จังหวัดเชียงใหม่ Original title : Conflict in the Organization : A case study of Sub-District Administration Organization (SDAO) of Chiangmai Province Material Type: printed text Authors: มณฑาทิพย์ โกวิทเจริญกุล, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ซ, 241 แผ่น Size: 30 ซม. General note: วิทยานิพนธ์ [ร.ป.ม.]] -- คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]การบริหารองค์การ
[LCSH]การปกครองท้องถิ่น -- ไทย
[LCSH]สภาตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหารKeywords: องค์การบริหารส่วนตำบล.
เชียงใหม่.
การบริหารความขัดแย้ง.Class number: JS7402 .A2 ม6432 2545 Abstract: งานวิจัยนี้ มัวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถทำความเข้าใจถึงประเภท สาเหตุ ตลอดจนแนวทางในการบริหารความขัดแย้งที่มีอยู่ใน อบต. จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 183 แห่ง มีผู้กรอกแบบสอบถามทั้งหมดจำนวน 195 คน โดยใช้แนวความคิด 3 ประการเป็นกรอบ คือ 1. แนวความคิดเรื่องความขัดแย้ง 2. แนวความคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่น 3. แนวความคิดเรื่องการกระจายอำนาจ ผลการศึกษาพบว่า อบต. มองความขัดแย้งทั้งบวกและลบ ความขัดแย้่งส่วนมากจะมาจากผลประโยชน์ การต่อสู้แข่งขันกัน และมองว่าเป็นธรรมชาติของมนุษย์ เป็นการแย่งชิงทรัพยากร เป้าหมาย การรับรู้ มีทั้งเนื้อหา วิธีการ และพฤติกรรม
จากการศึกษาได้ค้นพบสาเหตุของความขัดแย้งใน อบต. เชียงใหม่ว่า มาจากอำนาจแฝงหรืออิทธิพลของบางคนใน อบต.เอง ประโยชน์ ระบบงาน การเมืองในองค์การ อบต. ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และจากการศึกษายังได้พบว่า อบต. เชียงใหม่ มีรูปแบบที่น่าสนใจในการบริหารความขัดแย้งหลายวิธีด้วยกัน เช่น การแก้ปัญหาร่วมกันเป็นทีม การหาเป้าหมายร่วมกัน การเจรจาต่อรอง และการเข้าฝึกอบรมนอกสำนักงาน เป็นต้น
ส่วนข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้ ได้เสนอว่า ควรจะมีการเพิ่มพูนคุณวุฒิของสมาชิก อบต. เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายการเตรียมบุคลากรให้พร้่อมต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารท้องถิ่น โดยการเน้นประสิทธิภาพของ อบต. และความเจริญของท้องถิ่นไปพร้อมกันโดยสามารถแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวออกจากประโยชน์ส่วนรวม
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23166 ความขัดแย้งในองค์การ : ศึกษากรณีการบริหารส่วนตำบล (อบต.) จังหวัดเชียงใหม่ = Conflict in the Organization : A case study of Sub-District Administration Organization (SDAO) of Chiangmai Province [printed text] / มณฑาทิพย์ โกวิทเจริญกุล, Author . - กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ซ, 241 แผ่น ; 30 ซม.
วิทยานิพนธ์ [ร.ป.ม.]] -- คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]การบริหารองค์การ
[LCSH]การปกครองท้องถิ่น -- ไทย
[LCSH]สภาตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหารKeywords: องค์การบริหารส่วนตำบล.
เชียงใหม่.
การบริหารความขัดแย้ง.Class number: JS7402 .A2 ม6432 2545 Abstract: งานวิจัยนี้ มัวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถทำความเข้าใจถึงประเภท สาเหตุ ตลอดจนแนวทางในการบริหารความขัดแย้งที่มีอยู่ใน อบต. จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 183 แห่ง มีผู้กรอกแบบสอบถามทั้งหมดจำนวน 195 คน โดยใช้แนวความคิด 3 ประการเป็นกรอบ คือ 1. แนวความคิดเรื่องความขัดแย้ง 2. แนวความคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่น 3. แนวความคิดเรื่องการกระจายอำนาจ ผลการศึกษาพบว่า อบต. มองความขัดแย้งทั้งบวกและลบ ความขัดแย้่งส่วนมากจะมาจากผลประโยชน์ การต่อสู้แข่งขันกัน และมองว่าเป็นธรรมชาติของมนุษย์ เป็นการแย่งชิงทรัพยากร เป้าหมาย การรับรู้ มีทั้งเนื้อหา วิธีการ และพฤติกรรม
จากการศึกษาได้ค้นพบสาเหตุของความขัดแย้งใน อบต. เชียงใหม่ว่า มาจากอำนาจแฝงหรืออิทธิพลของบางคนใน อบต.เอง ประโยชน์ ระบบงาน การเมืองในองค์การ อบต. ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และจากการศึกษายังได้พบว่า อบต. เชียงใหม่ มีรูปแบบที่น่าสนใจในการบริหารความขัดแย้งหลายวิธีด้วยกัน เช่น การแก้ปัญหาร่วมกันเป็นทีม การหาเป้าหมายร่วมกัน การเจรจาต่อรอง และการเข้าฝึกอบรมนอกสำนักงาน เป็นต้น
ส่วนข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้ ได้เสนอว่า ควรจะมีการเพิ่มพูนคุณวุฒิของสมาชิก อบต. เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายการเตรียมบุคลากรให้พร้่อมต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารท้องถิ่น โดยการเน้นประสิทธิภาพของ อบต. และความเจริญของท้องถิ่นไปพร้อมกันโดยสามารถแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวออกจากประโยชน์ส่วนรวม
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23166 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000308989 JS7402 .A2 ม6432 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร / ขนิษฐา ไตรย์ปักษ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between personal factors, organizational commitment, employee involvement, and quality of work life of staff nurses in hospitals under the jurisdiction of the Department of Medical Services, Bangkok Metropolitan Adminstration Material Type: printed text Authors: ขนิษฐา ไตรย์ปักษ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2548 Pagination: ก-ฎ, 131 แผ่น Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-173-515-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์Keywords: องค์การ.
พยาบาลวิชาชีพ.
คุณภาพชีวิต.Class number: WY125 ข158 2548 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ และปัจจัยที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร จำนวน 403 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความผูกพันต่อองค์การ แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคได้ค่าเท่ากับ .87, .92 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คุณภาพชีวิตการทำงาน การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรของพยาบาลประจำการ อยู่ในระดับสูงและความผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักแพทย์ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับปานกลาง 2. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ระดับการศึกษาและประสบการณ์การปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำ 3. ความผูกพันต่อองค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.67 ) 4. การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = 0.75) 5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรและความผูกพันต่อองค์การ โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการได้ 61.5% (R[superscript 2] = .615) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานมีดังนี้ คุณภาพชีวิตการทำงาน = 0.549 การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร + 0.303 ความผูกพันต่อองค์การ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23136 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร = Relationships between personal factors, organizational commitment, employee involvement, and quality of work life of staff nurses in hospitals under the jurisdiction of the Department of Medical Services, Bangkok Metropolitan Adminstration [printed text] / ขนิษฐา ไตรย์ปักษ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 . - ก-ฎ, 131 แผ่น : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-173-515-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์Keywords: องค์การ.
พยาบาลวิชาชีพ.
คุณภาพชีวิต.Class number: WY125 ข158 2548 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ และปัจจัยที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร จำนวน 403 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความผูกพันต่อองค์การ แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคได้ค่าเท่ากับ .87, .92 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คุณภาพชีวิตการทำงาน การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรของพยาบาลประจำการ อยู่ในระดับสูงและความผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักแพทย์ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับปานกลาง 2. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ระดับการศึกษาและประสบการณ์การปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำ 3. ความผูกพันต่อองค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.67 ) 4. การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = 0.75) 5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรและความผูกพันต่อองค์การ โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการได้ 61.5% (R[superscript 2] = .615) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานมีดังนี้ คุณภาพชีวิตการทำงาน = 0.549 การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร + 0.303 ความผูกพันต่อองค์การ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23136 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354439 WY125 ข158 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available