From this page you can:
Home |
Search results
65 result(s) search for keyword(s) 'องค์การ. พยาบาลวิชาชีพ. คุณภาพชีวิต.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร / ขนิษฐา ไตรย์ปักษ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between personal factors, organizational commitment, employee involvement, and quality of work life of staff nurses in hospitals under the jurisdiction of the Department of Medical Services, Bangkok Metropolitan Adminstration Material Type: printed text Authors: ขนิษฐา ไตรย์ปักษ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2548 Pagination: ก-ฎ, 131 แผ่น Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-173-515-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์Keywords: องค์การ.
พยาบาลวิชาชีพ.
คุณภาพชีวิต.Class number: WY125 ข158 2548 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ และปัจจัยที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร จำนวน 403 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความผูกพันต่อองค์การ แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคได้ค่าเท่ากับ .87, .92 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คุณภาพชีวิตการทำงาน การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรของพยาบาลประจำการ อยู่ในระดับสูงและความผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักแพทย์ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับปานกลาง 2. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ระดับการศึกษาและประสบการณ์การปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำ 3. ความผูกพันต่อองค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.67 ) 4. การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = 0.75) 5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรและความผูกพันต่อองค์การ โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการได้ 61.5% (R[superscript 2] = .615) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานมีดังนี้ คุณภาพชีวิตการทำงาน = 0.549 การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร + 0.303 ความผูกพันต่อองค์การ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23136 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร = Relationships between personal factors, organizational commitment, employee involvement, and quality of work life of staff nurses in hospitals under the jurisdiction of the Department of Medical Services, Bangkok Metropolitan Adminstration [printed text] / ขนิษฐา ไตรย์ปักษ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 . - ก-ฎ, 131 แผ่น : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-173-515-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์Keywords: องค์การ.
พยาบาลวิชาชีพ.
คุณภาพชีวิต.Class number: WY125 ข158 2548 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ และปัจจัยที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร จำนวน 403 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความผูกพันต่อองค์การ แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคได้ค่าเท่ากับ .87, .92 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คุณภาพชีวิตการทำงาน การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรของพยาบาลประจำการ อยู่ในระดับสูงและความผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักแพทย์ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับปานกลาง 2. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ระดับการศึกษาและประสบการณ์การปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำ 3. ความผูกพันต่อองค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.67 ) 4. การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = 0.75) 5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรและความผูกพันต่อองค์การ โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการได้ 61.5% (R[superscript 2] = .615) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานมีดังนี้ คุณภาพชีวิตการทำงาน = 0.549 การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร + 0.303 ความผูกพันต่อองค์การ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23136 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354439 WY125 ข158 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2554
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Collection Title: Old book collection Title : ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2554 Pagination: 182 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-974-383-227-7 Price: บริจาค. (250.00) General note: หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 3 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2554 . - 182 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-383-227-7 : บริจาค. (250.00)
หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383719 WY105 ค181 2554 Book Main Library Library Counter Available SIU IS-T. การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ / ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ Original title : The Policy Implementation of Cash Allowance for the Elderly in Wangpong Subdistric Administration Organization, Pran Buri District, Prachuap Khiri Khan Province Material Type: printed text Authors: ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: v, 75 น. Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ประจวบคีรีขันธ์ -- ปราณบุรี -- -- วังก์พง
[LCSH]เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุKeywords: นโยบาย,
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาเรื่องการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบล ศึกษาปัญหาและอุปสรรค และศึกษาแนวทางแก้ไขปรับปรุงการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากร เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จำนวน 9 คนใช้การวิจัยแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) โดยคำถามเป็นแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า วิธีการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติมีกระบวนการดำเนินงานคือ 1. ทำการศึกษารายละเอียดระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 2.ทำการประชุม วางแผน มอบหมายหน้าที่ 3. ทำการประชาสัมพันธ์ 4. รับขึ้นทะเบียนผู้สูงอายุ ด้านขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงานตามนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงว่ามีความเหมาะสม ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่ามีปัญหาจากนโยบายระเบียบและแนวทางการปฏิบัติ ไม่สอดคล้องกับพื้นที่การปฏิบัติงานของบุคลากรและความต้องการของประชาชน ปัญหาการประสานงานร่วมมือกับหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ปัญหาด้านการประชาสัมพันธ์ และปัญหาเรื่องการจ่ายเงินให้ผู้สูงอายุที่เสียชีวิตแล้ว ส่วนปัจจัยที่ทำให้การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติเกิดผลสำเร็จหรือเกิดความล้มเหลว ได้แก่ ตัวของนโยบาย ผู้ที่คิดนโยบาย ผู้นำนโยบายไปปฏิบัติและผู้สูงอายุ ผลการวิจัยด้านการปรับปรุง พัฒนาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติให้ดีขึ้นพบว่า สิ่งที่ควรปรับปรุง คือ บุคลากรหรือพนักงานที่เกี่ยวข้องควรศึกษานโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้ละเอียดและเข้าใจ รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ผู้สูงอายุเข้าใจหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพ เพื่อความเข้าใจและสะดวกรวดเร็ว นอกจากนี้ ควรมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการย้ายเข้า ย้ายออกของผู้สูงอายุกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และควรเปลี่ยนหลักเกณฑ์จากการจ่ายเบี้ยยังชีพให้เป็นแบบจำนวนที่เท่ากันและควรเพิ่มจำนวนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอื่นๆให้มากขึ้นด้วยCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26893 SIU IS-T. การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ = The Policy Implementation of Cash Allowance for the Elderly in Wangpong Subdistric Administration Organization, Pran Buri District, Prachuap Khiri Khan Province [printed text] / ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - v, 75 น. ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ประจวบคีรีขันธ์ -- ปราณบุรี -- -- วังก์พง
[LCSH]เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุKeywords: นโยบาย,
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาเรื่องการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบล ศึกษาปัญหาและอุปสรรค และศึกษาแนวทางแก้ไขปรับปรุงการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากร เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จำนวน 9 คนใช้การวิจัยแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) โดยคำถามเป็นแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า วิธีการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติมีกระบวนการดำเนินงานคือ 1. ทำการศึกษารายละเอียดระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 2.ทำการประชุม วางแผน มอบหมายหน้าที่ 3. ทำการประชาสัมพันธ์ 4. รับขึ้นทะเบียนผู้สูงอายุ ด้านขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงานตามนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงว่ามีความเหมาะสม ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่ามีปัญหาจากนโยบายระเบียบและแนวทางการปฏิบัติ ไม่สอดคล้องกับพื้นที่การปฏิบัติงานของบุคลากรและความต้องการของประชาชน ปัญหาการประสานงานร่วมมือกับหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ปัญหาด้านการประชาสัมพันธ์ และปัญหาเรื่องการจ่ายเงินให้ผู้สูงอายุที่เสียชีวิตแล้ว ส่วนปัจจัยที่ทำให้การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติเกิดผลสำเร็จหรือเกิดความล้มเหลว ได้แก่ ตัวของนโยบาย ผู้ที่คิดนโยบาย ผู้นำนโยบายไปปฏิบัติและผู้สูงอายุ ผลการวิจัยด้านการปรับปรุง พัฒนาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติให้ดีขึ้นพบว่า สิ่งที่ควรปรับปรุง คือ บุคลากรหรือพนักงานที่เกี่ยวข้องควรศึกษานโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้ละเอียดและเข้าใจ รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ผู้สูงอายุเข้าใจหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพ เพื่อความเข้าใจและสะดวกรวดเร็ว นอกจากนี้ ควรมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการย้ายเข้า ย้ายออกของผู้สูงอายุกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และควรเปลี่ยนหลักเกณฑ์จากการจ่ายเบี้ยยังชีพให้เป็นแบบจำนวนที่เท่ากันและควรเพิ่มจำนวนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอื่นๆให้มากขึ้นด้วยCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26893 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593713 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593721 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง / นริดา อินนาค
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง Original title : Quality of Life Development of the Elderly at Lampang Province Material Type: printed text Authors: นริดา อินนาค, Author Pagination: xi, 154 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-12
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]คุณภาพชีวิต -- ผู้สูงอายุ -- ลำปางKeywords: การพัฒนา, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง และ 4) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้สูงอายุที่อาศัยในจังหวัดลำปาง จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เป็นคำถามปลายปิด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าการถดถอยเชิงพหุคูณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณา
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านสุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ และด้านส่งเสริมการมีงานทำและความมั่นคงทางรายได้ ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง พบว่า ตัวแปรอิสระทั้ง 4 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุ มีความสัมพันธ์ในระดับมาก รองลงมาปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ในระดับมาก อันดับที่สามปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง และปัจจัยการสนับสุนจากชุมชนและสังคมมีความสัมพันธ์ระดับต่ำ ตามลำดับ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง และปัจจัยการสนับสนุนจากชุมชนและสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้รัอยละ 72.70 ในเชิงบวก
4) ปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง คือ การสนับสนุนให้ผู้สูงอายุระยะต้น ให้ทำงานตามความถนัดของตนเอง การปรับปรุงนโยบายด้านสาธารณสุข การบริการทางการแพทย์ การอำนวยความสะดวกด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุต้องการได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองให้ดีขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27949 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง = Quality of Life Development of the Elderly at Lampang Province [printed text] / นริดา อินนาค, Author . - [s.d.] . - xi, 154 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-12
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]คุณภาพชีวิต -- ผู้สูงอายุ -- ลำปางKeywords: การพัฒนา, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง และ 4) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้สูงอายุที่อาศัยในจังหวัดลำปาง จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เป็นคำถามปลายปิด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าการถดถอยเชิงพหุคูณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณา
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านสุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ และด้านส่งเสริมการมีงานทำและความมั่นคงทางรายได้ ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง พบว่า ตัวแปรอิสระทั้ง 4 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุ มีความสัมพันธ์ในระดับมาก รองลงมาปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ในระดับมาก อันดับที่สามปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง และปัจจัยการสนับสุนจากชุมชนและสังคมมีความสัมพันธ์ระดับต่ำ ตามลำดับ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง และปัจจัยการสนับสนุนจากชุมชนและสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้รัอยละ 72.70 ในเชิงบวก
4) ปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง คือ การสนับสนุนให้ผู้สูงอายุระยะต้น ให้ทำงานตามความถนัดของตนเอง การปรับปรุงนโยบายด้านสาธารณสุข การบริการทางการแพทย์ การอำนวยความสะดวกด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุต้องการได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองให้ดีขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27949 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม / ศรีสุดา มีชำนาญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม Original title : Development of the Quality of Life for the Elderly In the Local Administrative Organizations In the Nakhonpathom Province Material Type: printed text Authors: ศรีสุดา มีชำนาญ, Author Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xi, 153 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- คุณภาพชีวิต -- นครปฐมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 2) ศึกษาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 3) เปรียบเทียบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม และ 5) เสนอแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอละ 3 แห่ง รวมทั้งสิ้น 21 คน ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึกบุคคลแบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม ด้านสมรรถนะของหน่วยงาน ด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ด้านความพร้อมด้านทรัพยากร และด้านความร่วมมือและสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการบริหารจัดการระบบพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการอยู่ร่วมกันและการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านองค์กรด้านผู้สูงอายุ ด้านสุขภาพอนามัย และด้านการส่งเสริมอาชีพหรือรายได้ของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนอาชีพ ไม่พบความแตกต่างกัน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมด้านความพร้อมด้านทรัพยากร ด้านความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยที่เกี่ยวข้อง ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม และด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบายสามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้ร้อยละ 69.2
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) ขับเคลื่อนการดำเนินงานระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้านและติดเตียง 2) จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุเพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุที่ติดสังคมได้มีกิจกรรมร่วมกัน 3) จัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุเพื่อเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ และ 4) การมอบหมายให้มีหน่วยงานภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดูแลรับผิดชอบงานผู้สูงอายุโดยตรง เช่น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมและกองสวัสดิการสังคม
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) จัดให้มีจำนวนบุคลากรที่เพียงพอในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ 2) สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้นำท้องที่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 3) ให้ความสำคัญกับการศึกษาสภาพสังคมและวิถีการดำรงชีวิตของคนในพื้นที่ และ 4) กำหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานด้านผู้สูงอายุให้มีความสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในระดับชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27947 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม = Development of the Quality of Life for the Elderly In the Local Administrative Organizations In the Nakhonpathom Province [printed text] / ศรีสุดา มีชำนาญ, Author . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xi, 153 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- คุณภาพชีวิต -- นครปฐมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 2) ศึกษาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 3) เปรียบเทียบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม และ 5) เสนอแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอละ 3 แห่ง รวมทั้งสิ้น 21 คน ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึกบุคคลแบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม ด้านสมรรถนะของหน่วยงาน ด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ด้านความพร้อมด้านทรัพยากร และด้านความร่วมมือและสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการบริหารจัดการระบบพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการอยู่ร่วมกันและการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านองค์กรด้านผู้สูงอายุ ด้านสุขภาพอนามัย และด้านการส่งเสริมอาชีพหรือรายได้ของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนอาชีพ ไม่พบความแตกต่างกัน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมด้านความพร้อมด้านทรัพยากร ด้านความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยที่เกี่ยวข้อง ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม และด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบายสามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้ร้อยละ 69.2
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) ขับเคลื่อนการดำเนินงานระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้านและติดเตียง 2) จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุเพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุที่ติดสังคมได้มีกิจกรรมร่วมกัน 3) จัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุเพื่อเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ และ 4) การมอบหมายให้มีหน่วยงานภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดูแลรับผิดชอบงานผู้สูงอายุโดยตรง เช่น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมและกองสวัสดิการสังคม
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) จัดให้มีจำนวนบุคลากรที่เพียงพอในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ 2) สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้นำท้องที่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 3) ให้ความสำคัญกับการศึกษาสภาพสังคมและวิถีการดำรงชีวิตของคนในพื้นที่ และ 4) กำหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานด้านผู้สูงอายุให้มีความสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในระดับชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27947 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607966 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607963 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Strategies of qualitative inquiry Denzin,, Norman K. Qualitative research practice Lewis,, Jane (1962-) Archaeology of knowledge Foucault,, Michel SIU IS-T. การมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชน กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบลหนองละลอก อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง / ปราโมทย์ ฉันทมิตร์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชน กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบลหนองละลอก อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง Original title : Citizen Participation in Local Development: Case Study of Nong Lalok Subdistrict, Ban Khai District, Rayong Province Material Type: printed text Authors: ปราโมทย์ ฉันทมิตร์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 61 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-04
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Community development -- Case studies
[LCSH]Participation
[LCSH]การพัฒนาชุมชน
[LCSH]การมีส่วนร่วมKeywords: การมีส่วนร่วม
การพัฒนาท้องถิ่น
ประชาชน
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง การมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชน: ศึกษากรณีองค์การบริหารส่วนตำบลหนองละลอก อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองละลอก อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง และเพื่อหาความสัมพันธ์ต่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองละลอก Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26079 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชน กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบลหนองละลอก อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง = Citizen Participation in Local Development: Case Study of Nong Lalok Subdistrict, Ban Khai District, Rayong Province [printed text] / ปราโมทย์ ฉันทมิตร์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 61 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-04
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Community development -- Case studies
[LCSH]Participation
[LCSH]การพัฒนาชุมชน
[LCSH]การมีส่วนร่วมKeywords: การมีส่วนร่วม
การพัฒนาท้องถิ่น
ประชาชน
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง การมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชน: ศึกษากรณีองค์การบริหารส่วนตำบลหนองละลอก อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองละลอก อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง และเพื่อหาความสัมพันธ์ต่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองละลอก Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26079 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000506939 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-04 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000507010 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-04 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590578 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-04 c.3 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี / สุเทพ แม้นเมฆ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี Original title : Satisfaction in Quality of Life Development of Soldiers in the Army Infantry Regiment, Surattani Province Material Type: printed text Authors: สุเทพ แม้นเมฆ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2015 Pagination: vii, 60 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ทหารบก -- สุราษฎร์ธานีKeywords: คุณภาพชีวิต,
ความพึงพอใจ,
ทหารAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการของจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี 2) ศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาและเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ทหารกองประจำการทหารบกสุราษฎร์ธานี จำนวน 200 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ด้านที่พักอาศัย ด้านเครื่องแต่งกาย เครื่องนอนของใช้ส่วนตัว ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านสวัสดิการอื่น ด้านอาหารและโภชนาการตามลำดับ สำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาควรมีการจัดสวัสดิการและจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอและมากกว่าส่วนราชการอื่น ส่งเสริมด้านอาหารโภชนาการให้มากเพื่อสุขภาพของทหารกองประจำการ จัดให้มีกิจกรรมต่าง ๆ ในการผ่อนคลายการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26656 SIU IS-T. ความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี = Satisfaction in Quality of Life Development of Soldiers in the Army Infantry Regiment, Surattani Province [printed text] / สุเทพ แม้นเมฆ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015 . - vii, 60 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ทหารบก -- สุราษฎร์ธานีKeywords: คุณภาพชีวิต,
ความพึงพอใจ,
ทหารAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการของจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี 2) ศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาและเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ทหารกองประจำการทหารบกสุราษฎร์ธานี จำนวน 200 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ด้านที่พักอาศัย ด้านเครื่องแต่งกาย เครื่องนอนของใช้ส่วนตัว ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านสวัสดิการอื่น ด้านอาหารและโภชนาการตามลำดับ สำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาควรมีการจัดสวัสดิการและจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอและมากกว่าส่วนราชการอื่น ส่งเสริมด้านอาหารโภชนาการให้มากเพื่อสุขภาพของทหารกองประจำการ จัดให้มีกิจกรรมต่าง ๆ ในการผ่อนคลายการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26656 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593051 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000593085 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย / ละมิตร์ ปีกขาว / คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2557
Collection Title: SIU THE-T Title : ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย Original title : Work happiness of Thai nurses Material Type: printed text Authors: ละมิตร์ ปีกขาว, Author Publisher: คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2557 Pagination: x, 221 หน้า Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย = Work happiness of Thai nurses [printed text] / ละมิตร์ ปีกขาว, Author . - [S.l.] : คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2557 . - x, 221 หน้า : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000580710 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000580702 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี / อรพรรณ พัฒนรักษา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : A Research on Service Quality of the Tambol Administrative Organization of Takhanon of Kiriratnikom District, Suratthani Province Material Type: printed text Authors: อรพรรณ พัฒนรักษา, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 81 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]การบริการ -- การพัฒนา
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- สุราษธานี -- ท่าขนอน -- การให้บริการKeywords: คุณภาพการให้บริการ
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อคุณภาพการให้บริการองค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี 3) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อคุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้วิธีเชิงปริมาณ มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 376 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย วิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ทางสถิติ SPSS สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย สถิติบรรยาย (descriptive statistics) ได้แก่ ความถี่ (frequency) ร้อยละ (percentage) ค่าเฉลี่ย (mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) และสถิติอ้างอิง (inferential statistics) ได้แก่ สถิติ t-test และสถิติ one way ANOVA โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ระดับ .05 และ .01
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุ 21-30 ปี การศึกษาอนุปริญญา หรือเทียบเท่า มีอาชีพรับจ้างทั่วไป และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,000-10,000 บาท คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฏร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาและอุปสรรคที่ประชาชนได้รับจากการบริการ คือ เรื่องความล่าช้าในการรับบริการ เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อคุณภาพการให้บริการมากCurricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26539 SIU IS-T. คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี = A Research on Service Quality of the Tambol Administrative Organization of Takhanon of Kiriratnikom District, Suratthani Province [printed text] / อรพรรณ พัฒนรักษา, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 81 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]การบริการ -- การพัฒนา
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- สุราษธานี -- ท่าขนอน -- การให้บริการKeywords: คุณภาพการให้บริการ
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อคุณภาพการให้บริการองค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี 3) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อคุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้วิธีเชิงปริมาณ มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 376 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย วิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ทางสถิติ SPSS สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย สถิติบรรยาย (descriptive statistics) ได้แก่ ความถี่ (frequency) ร้อยละ (percentage) ค่าเฉลี่ย (mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) และสถิติอ้างอิง (inferential statistics) ได้แก่ สถิติ t-test และสถิติ one way ANOVA โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ระดับ .05 และ .01
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุ 21-30 ปี การศึกษาอนุปริญญา หรือเทียบเท่า มีอาชีพรับจ้างทั่วไป และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,000-10,000 บาท คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฏร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาและอุปสรรคที่ประชาชนได้รับจากการบริการ คือ เรื่องความล่าช้าในการรับบริการ เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อคุณภาพการให้บริการมากCurricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26539 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591832 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-11 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ : กรณีศึกษา หน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ / ณิชากร นาคทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ : กรณีศึกษา หน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ Original title : Quality of Work Life of Police Officers : Case Studies of Office of the Commissioner General, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ณิชากร นาคทอง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 79 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-06
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิตในการทำงาน Abstract: งานค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงาน 8 ด้าน ของข้าราชการตำรวจ และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับ
กองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำแนกตามข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำนวน 280 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย Independent Samples t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 - 30 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีสถานภาพโสด รายได้ต่อเดือน 25,001 บาทขึ้นไป มีชั้นยศระดับประทวน และมีระยะเวลาในการปฏิบัติงานน้อยกว่า 5 ปี โดยมีคุณภาพชีวิตในการทำงานภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมาก คือ ด้านความภูมิในองค์กร
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ข้าราชการตำรวจสังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการ ขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ที่มีข้อมูลภูมิหลังด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ชั้นยศ และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ที่แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ไม่แตกต่างกันCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26491 SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ : กรณีศึกษา หน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ = Quality of Work Life of Police Officers : Case Studies of Office of the Commissioner General, Royal Thai Police [printed text] / ณิชากร นาคทอง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 79 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-06
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิตในการทำงาน Abstract: งานค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงาน 8 ด้าน ของข้าราชการตำรวจ และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับ
กองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำแนกตามข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำนวน 280 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย Independent Samples t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 - 30 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีสถานภาพโสด รายได้ต่อเดือน 25,001 บาทขึ้นไป มีชั้นยศระดับประทวน และมีระยะเวลาในการปฏิบัติงานน้อยกว่า 5 ปี โดยมีคุณภาพชีวิตในการทำงานภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมาก คือ ด้านความภูมิในองค์กร
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ข้าราชการตำรวจสังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการ ขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ที่มีข้อมูลภูมิหลังด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ชั้นยศ และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ที่แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ไม่แตกต่างกันCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26491 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591576 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-06 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / อนุพงษ์ สภูยศ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Quality of Working Life of Police Officers in Counter Terrorism Sub-Division Material Type: printed text Authors: อนุพงษ์ สภูยศ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 68 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-26
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงาน
[LCSH]สำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- กองกำกับการต่อต้านการก่อการร้ายKeywords: คุณภาพชีวิต,
ข้าราชการตำรวจ,
กำกับการต่อต้านการก่อการร้ายAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก ตำรวจในสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้ายจำนวน 150 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ด้วยการทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยรวมในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นองค์ประกอบ พบว่า ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดี โดยเรียงอันดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านได้รับความสำเร็จในงาน ด้านความสัมพันธ์กับสังคม ด้านสิ่งแวดล้อมด้าน ความรู้สึกมั่นคงในการดำรงชีวิต และด้านค่าตอบแทน ตามลำดับ นอกจากนี้ผลการวิจัยยังพบว่า ข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา ระดับเงินเดือน ระดับยศ มีคุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26900 SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Quality of Working Life of Police Officers in Counter Terrorism Sub-Division [printed text] / อนุพงษ์ สภูยศ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 68 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-26
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงาน
[LCSH]สำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- กองกำกับการต่อต้านการก่อการร้ายKeywords: คุณภาพชีวิต,
ข้าราชการตำรวจ,
กำกับการต่อต้านการก่อการร้ายAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก ตำรวจในสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้ายจำนวน 150 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ด้วยการทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยรวมในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นองค์ประกอบ พบว่า ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดี โดยเรียงอันดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านได้รับความสำเร็จในงาน ด้านความสัมพันธ์กับสังคม ด้านสิ่งแวดล้อมด้าน ความรู้สึกมั่นคงในการดำรงชีวิต และด้านค่าตอบแทน ตามลำดับ นอกจากนี้ผลการวิจัยยังพบว่า ข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา ระดับเงินเดือน ระดับยศ มีคุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26900 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593838 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-26 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593861 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-26 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวนสถานีตำรวจ โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา / วัชระ คำอำพันธ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวนสถานีตำรวจ โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา Original title : Quality of Work Life of the Police Commissionerfor Pho Klang Police Station Nakhon Ratchasima Material Type: printed text Authors: วัชระ คำอำพันธ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 87 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต -- สถานีตำรวจโพธิ์กลาง -- นครราชสีมา
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิต
คุณภาพการทำงาน
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ
ชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจชั้นประทวน โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และเงินเดือน 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานกับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา การวิจัยหลักครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามแบบปลายปิดและแบบปลายเปิดเป็นเครื่องสำคัญในการวิจัย โดยมีขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร จำนวน 110 คน จากการศึกษาผลการศึกษาทางด้านประชากรศาสตร์ พบว่า ข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตามเพศส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำแนกตามกลุ่มอายุส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 30 -40 ปี รองลงมาคือ มีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี ถัดมาคือ มีอายุต่ำกว่า 30 ปี และอันดับสุดท้าย ได้แก่ มีอายุ 51 ปีขึ้นไป จำแนกตามระดับการศึกษา ส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี รองลงมาคือ มีการศึกษาต่ำกว่า ปริญญาตรี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี จำแนกตามรายได้ ส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือนตั้งแต่ 20,001 บาทขึ้นไป รองลงมาคือ
มีรายได้ระหว่าง 15,000 – 20,000 บาท และมีรายได้ต่ำกว่า 15,000 บาท จำนวนน้อยที่สุด จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 10-15 ปี รองลงมาคือ มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 16-20 ปี ถัดมาคือ มีประสบการณ์ทำงานต่ำกว่า 10 ปี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ มีประสบการณ์ทำงาน 21 ปีขึ้นไป และผลการศึกษาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา ปัจจัยด้านการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก หากพิจารณาเป็นรายข้อ ความสำเร็จในชีวิตการงานมีค่าเฉลี่ย 3.71 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.50 รองลงมาคือ การปฏิบัติงานภายใต้นโยบายและการบริหาร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.52 ถัดมาคือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเป็นปัจจัยในการปฏิบัติงาน มีความสำคัญอยู่ในอันดับสามมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.51 ถัดไปได้แก่ การบังคับบัญชา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 ความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ และลักษณะงาน มีค่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.46 และ 3.41 ตามลำดับ ส่วนทางด้านคุณภาพชีวิตของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา
อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ส่วนใหญ่จะเป็นความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคม อยู่ในอันดับสูงสุด รองลงมาคือ การมีธรรมนูญในองค์การ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.60 ถัดมา คือ การบูรณาการด้านสังคม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.49 ถัดไปคือ ด้านสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ การพัฒนาความสามารถของบุคคลความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน ความสมดุลระหว่างชีวิตงานกับชีวิตด้านอื่น และค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.47, 3.46, 3.44, 3.42 และ 3.22 ตามลำดับ ข้อเสนอแนะจากการศึกษาควรมีการศึกษาแนวทางในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตการทำงานที่ดีขึ้น ควรมีการศึกษาตัวแปรอื่น ๆ ที่อาจส่งผลต่อคุณภาพชีวิต และควรมีการศึกษาเพิ่มเติมด้วยการใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสี มาเพื่อจะได้พัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานให้มีมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26607 SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวนสถานีตำรวจ โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา = Quality of Work Life of the Police Commissionerfor Pho Klang Police Station Nakhon Ratchasima [printed text] / วัชระ คำอำพันธ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 87 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต -- สถานีตำรวจโพธิ์กลาง -- นครราชสีมา
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิต
คุณภาพการทำงาน
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ
ชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจชั้นประทวน โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และเงินเดือน 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานกับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา การวิจัยหลักครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามแบบปลายปิดและแบบปลายเปิดเป็นเครื่องสำคัญในการวิจัย โดยมีขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร จำนวน 110 คน จากการศึกษาผลการศึกษาทางด้านประชากรศาสตร์ พบว่า ข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตามเพศส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำแนกตามกลุ่มอายุส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 30 -40 ปี รองลงมาคือ มีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี ถัดมาคือ มีอายุต่ำกว่า 30 ปี และอันดับสุดท้าย ได้แก่ มีอายุ 51 ปีขึ้นไป จำแนกตามระดับการศึกษา ส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี รองลงมาคือ มีการศึกษาต่ำกว่า ปริญญาตรี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี จำแนกตามรายได้ ส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือนตั้งแต่ 20,001 บาทขึ้นไป รองลงมาคือ
มีรายได้ระหว่าง 15,000 – 20,000 บาท และมีรายได้ต่ำกว่า 15,000 บาท จำนวนน้อยที่สุด จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 10-15 ปี รองลงมาคือ มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 16-20 ปี ถัดมาคือ มีประสบการณ์ทำงานต่ำกว่า 10 ปี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ มีประสบการณ์ทำงาน 21 ปีขึ้นไป และผลการศึกษาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา ปัจจัยด้านการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก หากพิจารณาเป็นรายข้อ ความสำเร็จในชีวิตการงานมีค่าเฉลี่ย 3.71 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.50 รองลงมาคือ การปฏิบัติงานภายใต้นโยบายและการบริหาร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.52 ถัดมาคือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเป็นปัจจัยในการปฏิบัติงาน มีความสำคัญอยู่ในอันดับสามมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.51 ถัดไปได้แก่ การบังคับบัญชา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 ความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ และลักษณะงาน มีค่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.46 และ 3.41 ตามลำดับ ส่วนทางด้านคุณภาพชีวิตของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา
อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ส่วนใหญ่จะเป็นความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคม อยู่ในอันดับสูงสุด รองลงมาคือ การมีธรรมนูญในองค์การ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.60 ถัดมา คือ การบูรณาการด้านสังคม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.49 ถัดไปคือ ด้านสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ การพัฒนาความสามารถของบุคคลความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน ความสมดุลระหว่างชีวิตงานกับชีวิตด้านอื่น และค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.47, 3.46, 3.44, 3.42 และ 3.22 ตามลำดับ ข้อเสนอแนะจากการศึกษาควรมีการศึกษาแนวทางในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตการทำงานที่ดีขึ้น ควรมีการศึกษาตัวแปรอื่น ๆ ที่อาจส่งผลต่อคุณภาพชีวิต และควรมีการศึกษาเพิ่มเติมด้วยการใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสี มาเพื่อจะได้พัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานให้มีมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26607 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592533 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592541 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. บทบาทหน้าที่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง / รัฐพล ไชยธรรม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : บทบาทหน้าที่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง Original title : Roles and Duties of Sub-District Local Administrative Organization’s Member in Management of Map Yang Porn Sub-District Local Administrative Organization Administration of, Plaukdang District, Rayong Province Material Type: printed text Authors: รัฐพล ไชยธรรม, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vi, 68 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหาร
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- บทบาท
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ระยอง -- มาบยางพรKeywords: การบริหารงาน,
บทบาท,
สมาชิก,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การค้นคว้าอิสระงานนี้จึงศึกษาบทบาทหน้าที่ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร โดยเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากเจ้าหน้าที่จำนวน 7 คน จากนั้นนำมาทำการวิเคราะห์ทางสถิติใช้สถิติเชิงพรรณา และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 41 - 50 ปี จบการศึกษามัธยมศึกษา มีระยะเวลาการปฏิบัติงาน 7-10 ปี สำหรับบทบาทหน้าที่โดยภาพรวม พบว่า ให้ความเห็นชอบตามแผนพัฒนาตำบล เมื่อมีการพิจารณาร่างข้อบัญญัติตำบลยึดหลักตามสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชน มีการทักท้วงให้ข้อเสนอแนะ ในเรื่องปัญหาอุปสรรคการปฏิบัติงานด้านแผนพัฒนาตำบล ข้อบัญญัติตำบล นอกจากนี้พบว่าการทำงานที่ล่าช้าไม่ทันความต้องการของประชาชน ในการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ผู้ตอบแบบสอบถามจะคอยเสนอแนะในการประชุมของผู้บริหาร ให้ข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล คือ ต้องประชาสัมพันธ์ พบปะประชาชน เสียสละ เสนอแผนงานโครงการตามนโยบายของการCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26653 SIU IS-T. บทบาทหน้าที่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง = Roles and Duties of Sub-District Local Administrative Organization’s Member in Management of Map Yang Porn Sub-District Local Administrative Organization Administration of, Plaukdang District, Rayong Province [printed text] / รัฐพล ไชยธรรม, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vi, 68 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหาร
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- บทบาท
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ระยอง -- มาบยางพรKeywords: การบริหารงาน,
บทบาท,
สมาชิก,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การค้นคว้าอิสระงานนี้จึงศึกษาบทบาทหน้าที่ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร โดยเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากเจ้าหน้าที่จำนวน 7 คน จากนั้นนำมาทำการวิเคราะห์ทางสถิติใช้สถิติเชิงพรรณา และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 41 - 50 ปี จบการศึกษามัธยมศึกษา มีระยะเวลาการปฏิบัติงาน 7-10 ปี สำหรับบทบาทหน้าที่โดยภาพรวม พบว่า ให้ความเห็นชอบตามแผนพัฒนาตำบล เมื่อมีการพิจารณาร่างข้อบัญญัติตำบลยึดหลักตามสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชน มีการทักท้วงให้ข้อเสนอแนะ ในเรื่องปัญหาอุปสรรคการปฏิบัติงานด้านแผนพัฒนาตำบล ข้อบัญญัติตำบล นอกจากนี้พบว่าการทำงานที่ล่าช้าไม่ทันความต้องการของประชาชน ในการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ผู้ตอบแบบสอบถามจะคอยเสนอแนะในการประชุมของผู้บริหาร ให้ข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล คือ ต้องประชาสัมพันธ์ พบปะประชาชน เสียสละ เสนอแผนงานโครงการตามนโยบายของการCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26653 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593010 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593028 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ประสิทธิผลการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล / ปกิต มูลเพ็ญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : ประสิทธิผลการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Effectiveness of Operational for Enhancing High Performance Organization of Patrol and Special Operation, Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: ปกิต มูลเพ็ญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: x, 259 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-22
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ
[LCSH]การจัดองค์การ
[LCSH]ประสิทธิผลองค์การKeywords: ประสิทธิผลการดำเนินงาน, องค์การสมรรถนะสูง, กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ Abstract: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการบริหารองค์การสมัยใหม่ ลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง และภาวะผู้นำองค์การสมัยใหม่ของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลกับคุณภาพการบริหารจัดการองค์การ ตามหลักเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 2) ศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการองค์สมัยใหม่ ภาวะผู้นำ และลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล และ 3) ศึกษาแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์การดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ด้วยเทคนิควิธีการเชิงปริมาณกลุ่มตัวอย่างจำนวน 310 ตัวอย่าง และเชิงคุณภาพผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 7 ท่าน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม เลือกใช้สถิติแบบอธิบาย และแบบอ้างอิงในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล กล่าวคือ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) สถิติแบบอ้างอิง สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การทดสอบค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหูคูณ
ผลการศึกษา พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการบริหารองค์การสมัยใหม่ ลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง และภาวะผู้นำองค์การสมัยใหม่ของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลกับคุณภาพการบริหารจัดการองค์การ ตามหลักเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) โดยผลการศึกษานี้สอดคล้องกับผลงานวิจัยที่พบว่า การเป็นองค์การสมรรถนะสูงนั้นจะประกอบด้วยปัจจัยด้านกลยุทธ์ขององค์การ ปัจจัยด้านภาวะผู้นำ และปัจจัยด้านบุคลากรที่มีคุณภาพ การพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ การมีโครงสร้างองค์การที่ยืดหยุ่น รวมถึงมีนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงาน และปัจจัยด้านการบริหารอื่น ๆ และการศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการองค์สมัยใหม่ ภาวะผู้นำ และลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง ที่ส่งผลต่อการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยผลการศึกษานี้สอดคล้องกับผลงานวิจัยที่พบว่า การอำนวยการ กลยุทธ์ โครงสร้างองค์การ รูปแบบบริหารหรือการควบคุม การประสานงานหรือการสร้างทีม ทักษะบุคลากร ระบบปฏิบัติการ ค่านิยมร่วม ภาวะผู้นำ รวมถึงปัจจัยด้านการบริหารอื่น ๆ ส่งผลต่อการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูง และการศึกษาสามารถบรรลุวัตถุประสงค์แนวทางในการกำหนดกลยุทธ์การดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28104 SIU THE-T. ประสิทธิผลการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Effectiveness of Operational for Enhancing High Performance Organization of Patrol and Special Operation, Metropolitan Police Bureau [printed text] / ปกิต มูลเพ็ญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - x, 259 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-22
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ
[LCSH]การจัดองค์การ
[LCSH]ประสิทธิผลองค์การKeywords: ประสิทธิผลการดำเนินงาน, องค์การสมรรถนะสูง, กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ Abstract: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการบริหารองค์การสมัยใหม่ ลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง และภาวะผู้นำองค์การสมัยใหม่ของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลกับคุณภาพการบริหารจัดการองค์การ ตามหลักเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 2) ศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการองค์สมัยใหม่ ภาวะผู้นำ และลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล และ 3) ศึกษาแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์การดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ด้วยเทคนิควิธีการเชิงปริมาณกลุ่มตัวอย่างจำนวน 310 ตัวอย่าง และเชิงคุณภาพผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 7 ท่าน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม เลือกใช้สถิติแบบอธิบาย และแบบอ้างอิงในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล กล่าวคือ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) สถิติแบบอ้างอิง สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การทดสอบค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหูคูณ
ผลการศึกษา พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการบริหารองค์การสมัยใหม่ ลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง และภาวะผู้นำองค์การสมัยใหม่ของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลกับคุณภาพการบริหารจัดการองค์การ ตามหลักเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) โดยผลการศึกษานี้สอดคล้องกับผลงานวิจัยที่พบว่า การเป็นองค์การสมรรถนะสูงนั้นจะประกอบด้วยปัจจัยด้านกลยุทธ์ขององค์การ ปัจจัยด้านภาวะผู้นำ และปัจจัยด้านบุคลากรที่มีคุณภาพ การพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ การมีโครงสร้างองค์การที่ยืดหยุ่น รวมถึงมีนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงาน และปัจจัยด้านการบริหารอื่น ๆ และการศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการองค์สมัยใหม่ ภาวะผู้นำ และลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง ที่ส่งผลต่อการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยผลการศึกษานี้สอดคล้องกับผลงานวิจัยที่พบว่า การอำนวยการ กลยุทธ์ โครงสร้างองค์การ รูปแบบบริหารหรือการควบคุม การประสานงานหรือการสร้างทีม ทักษะบุคลากร ระบบปฏิบัติการ ค่านิยมร่วม ภาวะผู้นำ รวมถึงปัจจัยด้านการบริหารอื่น ๆ ส่งผลต่อการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูง และการศึกษาสามารถบรรลุวัตถุประสงค์แนวทางในการกำหนดกลยุทธ์การดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28104 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607335 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-22 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607333 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-22 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความเข้มแข็งขององค์การบริหารส่วนบุคคล: การวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ / ประสูตร เหลืองสมานกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อความเข้มแข็งขององค์การบริหารส่วนบุคคล: การวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ Original title : Factors Affecting the Strengths of Tambon Administrative Organizations: An Analysis of Problems and Causes Material Type: printed text Authors: ประสูตร เหลืองสมานกุล, Author ; พิเชษฐ์ วงศ์เกียรติ์ขจร, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 230 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-07
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหารKeywords: ปัจจัยความเข้มแข็ง
องค์การบริหารส่วนตำบลCurricular : MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26594 SIU THE-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความเข้มแข็งขององค์การบริหารส่วนบุคคล: การวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ = Factors Affecting the Strengths of Tambon Administrative Organizations: An Analysis of Problems and Causes [printed text] / ประสูตร เหลืองสมานกุล, Author ; พิเชษฐ์ วงศ์เกียรติ์ขจร, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 230 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-07
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหารKeywords: ปัจจัยความเข้มแข็ง
องค์การบริหารส่วนตำบลCurricular : MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26594 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592368 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-07 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592335 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-07 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available