From this page you can:
Home |
Search results
32 result(s) search for keyword(s) 'คุณภาพชีวิต, ข้าราชการตำรวจ, กำกับการต่อต้านการก่อการร้าย'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / อนุพงษ์ สภูยศ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Quality of Working Life of Police Officers in Counter Terrorism Sub-Division Material Type: printed text Authors: อนุพงษ์ สภูยศ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 68 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-26
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงาน
[LCSH]สำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- กองกำกับการต่อต้านการก่อการร้ายKeywords: คุณภาพชีวิต,
ข้าราชการตำรวจ,
กำกับการต่อต้านการก่อการร้ายAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก ตำรวจในสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้ายจำนวน 150 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ด้วยการทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยรวมในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นองค์ประกอบ พบว่า ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดี โดยเรียงอันดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านได้รับความสำเร็จในงาน ด้านความสัมพันธ์กับสังคม ด้านสิ่งแวดล้อมด้าน ความรู้สึกมั่นคงในการดำรงชีวิต และด้านค่าตอบแทน ตามลำดับ นอกจากนี้ผลการวิจัยยังพบว่า ข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา ระดับเงินเดือน ระดับยศ มีคุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26900 SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Quality of Working Life of Police Officers in Counter Terrorism Sub-Division [printed text] / อนุพงษ์ สภูยศ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 68 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-26
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงาน
[LCSH]สำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- กองกำกับการต่อต้านการก่อการร้ายKeywords: คุณภาพชีวิต,
ข้าราชการตำรวจ,
กำกับการต่อต้านการก่อการร้ายAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก ตำรวจในสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้ายจำนวน 150 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ด้วยการทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยรวมในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นองค์ประกอบ พบว่า ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดี โดยเรียงอันดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านได้รับความสำเร็จในงาน ด้านความสัมพันธ์กับสังคม ด้านสิ่งแวดล้อมด้าน ความรู้สึกมั่นคงในการดำรงชีวิต และด้านค่าตอบแทน ตามลำดับ นอกจากนี้ผลการวิจัยยังพบว่า ข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา ระดับเงินเดือน ระดับยศ มีคุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26900 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593838 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-26 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593861 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-26 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจสายตรวจ 191 / พลภัทร พรหมท้าว / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจสายตรวจ 191 Original title : Developing English Communication at Work for Police Officers of Patrol Division 191 Material Type: printed text Authors: พลภัทร พรหมท้าว, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 65 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]ภาษาอังกฤษ -- การสื่อสารKeywords: การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษ
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ191Abstract: ใน ปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) และตามยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรสำนักงานตำรวจแห่งชาติพัฒนาทักษะความเป็นสากลให้แก่ข้าราชการเพื่อส่งเสริมบทบาทของสำนักงานตำรวจแห่งชาติจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องให้ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียนให้แก่บุคลากรข้าราชการตำรวจเพื่อก้าวย่างเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในภูมิภาคอาเซียนและรองรับการให้บริการประชาชนและนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ ในการศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจถึงการพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษและเพื่อศึกษาแนวทางในการนำไปพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26081 SIU IS-T. การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจสายตรวจ 191 = Developing English Communication at Work for Police Officers of Patrol Division 191 [printed text] / พลภัทร พรหมท้าว, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 65 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]ภาษาอังกฤษ -- การสื่อสารKeywords: การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษ
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ191Abstract: ใน ปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) และตามยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรสำนักงานตำรวจแห่งชาติพัฒนาทักษะความเป็นสากลให้แก่ข้าราชการเพื่อส่งเสริมบทบาทของสำนักงานตำรวจแห่งชาติจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องให้ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียนให้แก่บุคลากรข้าราชการตำรวจเพื่อก้าวย่างเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในภูมิภาคอาเซียนและรองรับการให้บริการประชาชนและนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ ในการศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจถึงการพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษและเพื่อศึกษาแนวทางในการนำไปพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26081 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000506814 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-06 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000506897 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-06 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง / นริดา อินนาค
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง Original title : Quality of Life Development of the Elderly at Lampang Province Material Type: printed text Authors: นริดา อินนาค, Author Pagination: xi, 154 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-12
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]คุณภาพชีวิต -- ผู้สูงอายุ -- ลำปางKeywords: การพัฒนา, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง และ 4) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้สูงอายุที่อาศัยในจังหวัดลำปาง จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เป็นคำถามปลายปิด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าการถดถอยเชิงพหุคูณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณา
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านสุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ และด้านส่งเสริมการมีงานทำและความมั่นคงทางรายได้ ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง พบว่า ตัวแปรอิสระทั้ง 4 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุ มีความสัมพันธ์ในระดับมาก รองลงมาปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ในระดับมาก อันดับที่สามปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง และปัจจัยการสนับสุนจากชุมชนและสังคมมีความสัมพันธ์ระดับต่ำ ตามลำดับ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง และปัจจัยการสนับสนุนจากชุมชนและสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้รัอยละ 72.70 ในเชิงบวก
4) ปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง คือ การสนับสนุนให้ผู้สูงอายุระยะต้น ให้ทำงานตามความถนัดของตนเอง การปรับปรุงนโยบายด้านสาธารณสุข การบริการทางการแพทย์ การอำนวยความสะดวกด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุต้องการได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองให้ดีขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27949 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง = Quality of Life Development of the Elderly at Lampang Province [printed text] / นริดา อินนาค, Author . - [s.d.] . - xi, 154 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-12
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]คุณภาพชีวิต -- ผู้สูงอายุ -- ลำปางKeywords: การพัฒนา, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง และ 4) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้สูงอายุที่อาศัยในจังหวัดลำปาง จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เป็นคำถามปลายปิด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าการถดถอยเชิงพหุคูณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณา
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านสุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ และด้านส่งเสริมการมีงานทำและความมั่นคงทางรายได้ ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง พบว่า ตัวแปรอิสระทั้ง 4 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุ มีความสัมพันธ์ในระดับมาก รองลงมาปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ในระดับมาก อันดับที่สามปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง และปัจจัยการสนับสุนจากชุมชนและสังคมมีความสัมพันธ์ระดับต่ำ ตามลำดับ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง และปัจจัยการสนับสนุนจากชุมชนและสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้รัอยละ 72.70 ในเชิงบวก
4) ปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง คือ การสนับสนุนให้ผู้สูงอายุระยะต้น ให้ทำงานตามความถนัดของตนเอง การปรับปรุงนโยบายด้านสาธารณสุข การบริการทางการแพทย์ การอำนวยความสะดวกด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุต้องการได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองให้ดีขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27949 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม / ศรีสุดา มีชำนาญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม Original title : Development of the Quality of Life for the Elderly In the Local Administrative Organizations In the Nakhonpathom Province Material Type: printed text Authors: ศรีสุดา มีชำนาญ, Author Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xi, 153 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- คุณภาพชีวิต -- นครปฐมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 2) ศึกษาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 3) เปรียบเทียบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม และ 5) เสนอแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอละ 3 แห่ง รวมทั้งสิ้น 21 คน ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึกบุคคลแบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม ด้านสมรรถนะของหน่วยงาน ด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ด้านความพร้อมด้านทรัพยากร และด้านความร่วมมือและสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการบริหารจัดการระบบพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการอยู่ร่วมกันและการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านองค์กรด้านผู้สูงอายุ ด้านสุขภาพอนามัย และด้านการส่งเสริมอาชีพหรือรายได้ของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนอาชีพ ไม่พบความแตกต่างกัน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมด้านความพร้อมด้านทรัพยากร ด้านความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยที่เกี่ยวข้อง ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม และด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบายสามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้ร้อยละ 69.2
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) ขับเคลื่อนการดำเนินงานระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้านและติดเตียง 2) จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุเพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุที่ติดสังคมได้มีกิจกรรมร่วมกัน 3) จัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุเพื่อเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ และ 4) การมอบหมายให้มีหน่วยงานภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดูแลรับผิดชอบงานผู้สูงอายุโดยตรง เช่น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมและกองสวัสดิการสังคม
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) จัดให้มีจำนวนบุคลากรที่เพียงพอในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ 2) สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้นำท้องที่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 3) ให้ความสำคัญกับการศึกษาสภาพสังคมและวิถีการดำรงชีวิตของคนในพื้นที่ และ 4) กำหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานด้านผู้สูงอายุให้มีความสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในระดับชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27947 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม = Development of the Quality of Life for the Elderly In the Local Administrative Organizations In the Nakhonpathom Province [printed text] / ศรีสุดา มีชำนาญ, Author . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xi, 153 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- คุณภาพชีวิต -- นครปฐมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 2) ศึกษาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 3) เปรียบเทียบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม และ 5) เสนอแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอละ 3 แห่ง รวมทั้งสิ้น 21 คน ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึกบุคคลแบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม ด้านสมรรถนะของหน่วยงาน ด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ด้านความพร้อมด้านทรัพยากร และด้านความร่วมมือและสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการบริหารจัดการระบบพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการอยู่ร่วมกันและการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านองค์กรด้านผู้สูงอายุ ด้านสุขภาพอนามัย และด้านการส่งเสริมอาชีพหรือรายได้ของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนอาชีพ ไม่พบความแตกต่างกัน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมด้านความพร้อมด้านทรัพยากร ด้านความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยที่เกี่ยวข้อง ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม และด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบายสามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้ร้อยละ 69.2
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) ขับเคลื่อนการดำเนินงานระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้านและติดเตียง 2) จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุเพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุที่ติดสังคมได้มีกิจกรรมร่วมกัน 3) จัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุเพื่อเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ และ 4) การมอบหมายให้มีหน่วยงานภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดูแลรับผิดชอบงานผู้สูงอายุโดยตรง เช่น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมและกองสวัสดิการสังคม
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) จัดให้มีจำนวนบุคลากรที่เพียงพอในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ 2) สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้นำท้องที่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 3) ให้ความสำคัญกับการศึกษาสภาพสังคมและวิถีการดำรงชีวิตของคนในพื้นที่ และ 4) กำหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานด้านผู้สูงอายุให้มีความสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในระดับชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27947 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607966 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607963 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Archaeology of knowledge Foucault,, Michel Strategies of qualitative inquiry Denzin,, Norman K. Qualitative research practice Lewis,, Jane (1962-) SIU IS-T. ความก้าวหน้าในอาชีพข้าราชการตำรวจระดับประทวน ในสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย / ดุษฎี แดนราช / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ความก้าวหน้าในอาชีพข้าราชการตำรวจระดับประทวน ในสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย Original title : Career Advancement of Non-Commission Police Officers in Counter Terrorists Sub-Division Material Type: printed text Authors: ดุษฎี แดนราช, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-19
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ความก้าวหน้าในอาชีพ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]อาชีพKeywords: ความก้าวหน้าในอาชีพ,
ข้าราชการตำรวจระดับประทวนAbstract: การศึกษาเรื่อง ความก้าวหน้าในอาชีพข้าราชการตำรวจระดับประทวนในสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความก้าวหน้าของตำรวจระดับประทวนจะมีความก้าวหน้าในอาชีพมากน้อยเพียงใด และเพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างความก้าวหน้าของระดับชั้นของตำรวจ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจากข้าราชการตำรวจระดับประทวนในสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย จำนวนทั้งหมด 126 คน
ผลจากการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชายทั้งหมด อายุไม่เกิน 30 ปี มีสถานภาพสมรส มีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีระดับชั้นยศ สิบตำรวจตรี มีประสบการณ์ในการทำงาน อยู่ที่ 1 - 5 ปี และมีรายได้/เงินเดือน 10,001 - 20,000 บาท ต่อเดือน ผลการวิจัยยังพบว่าความต้องการความก้าวหน้าในอาชีพข้าราชการตำรวจระดับประทวนในสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย พบว่า มีความต้องการในการเพิ่มขั้นของเงินเดือนเป็นอันดับแรก รองลงมาคือความต้องการเรื่องการเลื่อนตำแหน่ง และเรื่องสภาพการทำงานเป็นความต้องการในลำดับน้อยที่สุด ผลจากการวิจัยเปิดเผยว่า รายได้/เงินเดือนที่แตกต่างกันมีผลต่อความต้องการความก้าวหน้าที่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26901 SIU IS-T. ความก้าวหน้าในอาชีพข้าราชการตำรวจระดับประทวน ในสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย = Career Advancement of Non-Commission Police Officers in Counter Terrorists Sub-Division [printed text] / ดุษฎี แดนราช, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-19
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ความก้าวหน้าในอาชีพ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]อาชีพKeywords: ความก้าวหน้าในอาชีพ,
ข้าราชการตำรวจระดับประทวนAbstract: การศึกษาเรื่อง ความก้าวหน้าในอาชีพข้าราชการตำรวจระดับประทวนในสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความก้าวหน้าของตำรวจระดับประทวนจะมีความก้าวหน้าในอาชีพมากน้อยเพียงใด และเพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างความก้าวหน้าของระดับชั้นของตำรวจ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจากข้าราชการตำรวจระดับประทวนในสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย จำนวนทั้งหมด 126 คน
ผลจากการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชายทั้งหมด อายุไม่เกิน 30 ปี มีสถานภาพสมรส มีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีระดับชั้นยศ สิบตำรวจตรี มีประสบการณ์ในการทำงาน อยู่ที่ 1 - 5 ปี และมีรายได้/เงินเดือน 10,001 - 20,000 บาท ต่อเดือน ผลการวิจัยยังพบว่าความต้องการความก้าวหน้าในอาชีพข้าราชการตำรวจระดับประทวนในสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย พบว่า มีความต้องการในการเพิ่มขั้นของเงินเดือนเป็นอันดับแรก รองลงมาคือความต้องการเรื่องการเลื่อนตำแหน่ง และเรื่องสภาพการทำงานเป็นความต้องการในลำดับน้อยที่สุด ผลจากการวิจัยเปิดเผยว่า รายได้/เงินเดือนที่แตกต่างกันมีผลต่อความต้องการความก้าวหน้าที่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26901 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593887 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-19 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593853 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-19 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล / ศักดิ์สยาม จิตวิสุทธิ์ศรี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Organization Commitment of Police Officers in the Investigation Division Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: ศักดิ์สยาม จิตวิสุทธิ์ศรี, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 47 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08
IS [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจนครบาล -- ข้าราชการ
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ -- พนักงาน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความผูกพันต่อองค์การ
ข้าราชการตำรวจ
กองบังคับการสืบสวนสอบสวน
กองบัญชาการตำรวจนครบาลAbstract: การศึกษาเรื่อง ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล ในด้านความเชื่อมั่นและการยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ และด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ระดับชั้นยศ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล จำนวน 155 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 31-40 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอายุราชการ 16 ปีขึ้นไป มีระดับชั้นยศ ร.ต.ต.-ร.ต.อ. และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 30,001 บาทขึ้นไป โดยวิเคราะห์ข้อมูลความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีความผูกพันอันดับที่หนึ่งคือ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ มีระดับความผูกพันมาก อันดับที่สองคือ ด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ มีระดับความผูกพันมาก และอันดับสุดท้ายคือ ด้านความเชื่อมั่นและยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ มีระดับความผูกพันปานกลาง ตามลำดับRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26497 SIU IS-T. ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Organization Commitment of Police Officers in the Investigation Division Metropolitan Police Bureau [printed text] / ศักดิ์สยาม จิตวิสุทธิ์ศรี, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 47 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08
IS [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจนครบาล -- ข้าราชการ
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ -- พนักงาน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความผูกพันต่อองค์การ
ข้าราชการตำรวจ
กองบังคับการสืบสวนสอบสวน
กองบัญชาการตำรวจนครบาลAbstract: การศึกษาเรื่อง ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล ในด้านความเชื่อมั่นและการยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ และด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ระดับชั้นยศ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล จำนวน 155 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 31-40 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอายุราชการ 16 ปีขึ้นไป มีระดับชั้นยศ ร.ต.ต.-ร.ต.อ. และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 30,001 บาทขึ้นไป โดยวิเคราะห์ข้อมูลความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีความผูกพันอันดับที่หนึ่งคือ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ มีระดับความผูกพันมาก อันดับที่สองคือ ด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ มีระดับความผูกพันมาก และอันดับสุดท้ายคือ ด้านความเชื่อมั่นและยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ มีระดับความผูกพันปานกลาง ตามลำดับRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26497 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591618 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591626 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี / สุเทพ แม้นเมฆ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี Original title : Satisfaction in Quality of Life Development of Soldiers in the Army Infantry Regiment, Surattani Province Material Type: printed text Authors: สุเทพ แม้นเมฆ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2015 Pagination: vii, 60 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ทหารบก -- สุราษฎร์ธานีKeywords: คุณภาพชีวิต,
ความพึงพอใจ,
ทหารAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการของจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี 2) ศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาและเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ทหารกองประจำการทหารบกสุราษฎร์ธานี จำนวน 200 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ด้านที่พักอาศัย ด้านเครื่องแต่งกาย เครื่องนอนของใช้ส่วนตัว ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านสวัสดิการอื่น ด้านอาหารและโภชนาการตามลำดับ สำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาควรมีการจัดสวัสดิการและจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอและมากกว่าส่วนราชการอื่น ส่งเสริมด้านอาหารโภชนาการให้มากเพื่อสุขภาพของทหารกองประจำการ จัดให้มีกิจกรรมต่าง ๆ ในการผ่อนคลายการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26656 SIU IS-T. ความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี = Satisfaction in Quality of Life Development of Soldiers in the Army Infantry Regiment, Surattani Province [printed text] / สุเทพ แม้นเมฆ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015 . - vii, 60 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ทหารบก -- สุราษฎร์ธานีKeywords: คุณภาพชีวิต,
ความพึงพอใจ,
ทหารAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการของจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี 2) ศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาและเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ทหารกองประจำการทหารบกสุราษฎร์ธานี จำนวน 200 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ด้านที่พักอาศัย ด้านเครื่องแต่งกาย เครื่องนอนของใช้ส่วนตัว ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านสวัสดิการอื่น ด้านอาหารและโภชนาการตามลำดับ สำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาควรมีการจัดสวัสดิการและจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอและมากกว่าส่วนราชการอื่น ส่งเสริมด้านอาหารโภชนาการให้มากเพื่อสุขภาพของทหารกองประจำการ จัดให้มีกิจกรรมต่าง ๆ ในการผ่อนคลายการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26656 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593051 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000593085 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน กรณีศึกษา: ข้าราชการตำรวจสังกัดสำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ / เนตินันท์ ด้วงประดิษฐ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน กรณีศึกษา: ข้าราชการตำรวจสังกัดสำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ Original title : Relationships between Leadership and Work Morale: A Case of Police Officers at the Office of Strategy Material Type: printed text Authors: เนตินันท์ ด้วงประดิษฐ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 123 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-04
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ -- ตำรวจKeywords: ภาวะผู้นำ
ข้าราชการตำรวจ
แรงจูงใจในการทำงานAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้นำที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ ซึ่งเป็นการศึกษาเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 169 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ Independent t-test, One-way ANOVA หากพบความแตกต่างจะทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยวิธี LSD (Least Significant Difference) และทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ภาพรวมมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ส่วนระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และภาวะผู้นำแบบชี้นำ ผู้นำแบบสนับสนุน ผู้นำแบบมีส่วนร่วม ผู้นำแบบมุ่งเน้นความสำเร็จมีความสัมพันธ์กับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับสูงมากและเป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นอกจากนี้ยังพบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการทำงาน และระดับชั้นยศ ที่แตกต่างกันมีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่ไม่แตกต่างกัน ส่วนสถานภาพที่แตกต่างกันมีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26489 SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน กรณีศึกษา: ข้าราชการตำรวจสังกัดสำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ = Relationships between Leadership and Work Morale: A Case of Police Officers at the Office of Strategy [printed text] / เนตินันท์ ด้วงประดิษฐ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 123 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-04
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ -- ตำรวจKeywords: ภาวะผู้นำ
ข้าราชการตำรวจ
แรงจูงใจในการทำงานAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้นำที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ ซึ่งเป็นการศึกษาเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 169 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ Independent t-test, One-way ANOVA หากพบความแตกต่างจะทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยวิธี LSD (Least Significant Difference) และทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ภาพรวมมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ส่วนระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และภาวะผู้นำแบบชี้นำ ผู้นำแบบสนับสนุน ผู้นำแบบมีส่วนร่วม ผู้นำแบบมุ่งเน้นความสำเร็จมีความสัมพันธ์กับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับสูงมากและเป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นอกจากนี้ยังพบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการทำงาน และระดับชั้นยศ ที่แตกต่างกันมีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่ไม่แตกต่างกัน ส่วนสถานภาพที่แตกต่างกันมีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26489 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591550 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-04 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความสุขในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด / โสภา วรรณศิริ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ความสุขในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด Original title : Happiness in Working of Polices in Narcotics Suppression Bureau Material Type: printed text Authors: โสภา วรรณศิริ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 65 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-35
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ความสุขในการทำงานKeywords: ความสุขในการทำงาน,
ข้าราชการตำรวจ,
ตำรวจปราบปรามยาเสพติดAbstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการสร้างความสุขในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด มีกลุ่มตัวอย่างเป็นข้าราชการตำรวจสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด จำนวน 310 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและสถิติเชิงอนุมานในการทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัย พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี มีสถานภาพการสมรส มีระดับการศึกษาปริญญาตรี ระดับชั้นยศ จ.ส.ต. – ด.ต. จำนวน 218 คน มีประสบการณ์การทำงาน 6 – 10 ปี รายได้ต่อเดือน ระหว่าง 15,001 – 20,000 บาท ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านลักษณะงาน ด้านความรับผิดชอบ และด้านเพื่อนร่วมงาน อยู่ในระดับปานกลาง นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจในกองบังคับการปราบปรามยาเสพติดมีความสุขในการทำงานอยู่ในระดับปานกลาง และผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับความสุขในการทำงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27270 SIU IS-T. ความสุขในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด = Happiness in Working of Polices in Narcotics Suppression Bureau [printed text] / โสภา วรรณศิริ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 65 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-35
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ความสุขในการทำงานKeywords: ความสุขในการทำงาน,
ข้าราชการตำรวจ,
ตำรวจปราบปรามยาเสพติดAbstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการสร้างความสุขในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด มีกลุ่มตัวอย่างเป็นข้าราชการตำรวจสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด จำนวน 310 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและสถิติเชิงอนุมานในการทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัย พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี มีสถานภาพการสมรส มีระดับการศึกษาปริญญาตรี ระดับชั้นยศ จ.ส.ต. – ด.ต. จำนวน 218 คน มีประสบการณ์การทำงาน 6 – 10 ปี รายได้ต่อเดือน ระหว่าง 15,001 – 20,000 บาท ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านลักษณะงาน ด้านความรับผิดชอบ และด้านเพื่อนร่วมงาน อยู่ในระดับปานกลาง นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจในกองบังคับการปราบปรามยาเสพติดมีความสุขในการทำงานอยู่ในระดับปานกลาง และผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับความสุขในการทำงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27270 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594935 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-35 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594943 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-35 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความสุขในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน) / คนธรส ชมเทศ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความสุขในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน) Original title : Work Happiness of Police Officers at General Support Division, Border Patrol Police Bureau Material Type: printed text Authors: คนธรส ชมเทศ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 101 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-05
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน -- ข้าราชการ -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ความสุขในการทำงาน -- วิจัย
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ข้าราชการตำรวจ
ความสุขในการปฏิบัติงาน
คุณค่าAbstract: การวิจัยนี้ศึกษาระดับความสุข และเปรียบเทียบความสุขในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ในด้านสัมพันธภาพกับบุคลากรในองค์กร ความสำเร็จในงาน การตระหนักในคุณค่าของวิชาชีพตำรวจ การเป็นที่ยอมรับ
ทางสังคม การได้รับการสนับสนุนด้านสวัสดิการขององค์กร จำแนกตามข้อมูลด้านประชากรศาสตร์
ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุนกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 156 คน ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคล และ
การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง มีอายุระหว่าง
41 – 50 ปี มีสถานภาพสมรส มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี มีชั้นยศเป็นชั้นประทวน มีรายเพียงพอแต่ไม่เหลือเก็บ อายุการทำงานมากกว่า 20 ปี ปฏิบัติงานอยู่ในฝ่ายสนับสนุน 3 ผลการวิจัยยังพบว่าความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า การตระหนักในคุณค่าของวิชาชีพตำรวจมากที่สุด รองลงมาคือการเป็นที่ยอมรับทางสังคม และด้านความสำเร็จในงาน ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าข้าราชการกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน มีความสุขในการปฏิบัติงานในแต่ละด้านไม่แตกต่างกันCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26490 SIU IS-T. ความสุขในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน) = Work Happiness of Police Officers at General Support Division, Border Patrol Police Bureau [printed text] / คนธรส ชมเทศ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 101 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-05
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน -- ข้าราชการ -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ความสุขในการทำงาน -- วิจัย
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ข้าราชการตำรวจ
ความสุขในการปฏิบัติงาน
คุณค่าAbstract: การวิจัยนี้ศึกษาระดับความสุข และเปรียบเทียบความสุขในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ในด้านสัมพันธภาพกับบุคลากรในองค์กร ความสำเร็จในงาน การตระหนักในคุณค่าของวิชาชีพตำรวจ การเป็นที่ยอมรับ
ทางสังคม การได้รับการสนับสนุนด้านสวัสดิการขององค์กร จำแนกตามข้อมูลด้านประชากรศาสตร์
ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุนกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 156 คน ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคล และ
การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง มีอายุระหว่าง
41 – 50 ปี มีสถานภาพสมรส มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี มีชั้นยศเป็นชั้นประทวน มีรายเพียงพอแต่ไม่เหลือเก็บ อายุการทำงานมากกว่า 20 ปี ปฏิบัติงานอยู่ในฝ่ายสนับสนุน 3 ผลการวิจัยยังพบว่าความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า การตระหนักในคุณค่าของวิชาชีพตำรวจมากที่สุด รองลงมาคือการเป็นที่ยอมรับทางสังคม และด้านความสำเร็จในงาน ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าข้าราชการกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน มีความสุขในการปฏิบัติงานในแต่ละด้านไม่แตกต่างกันCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26490 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591584 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-05 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / ศิริวัฒน์ มนัสพรหม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : (Understanding Toward Operation of News of International Terrorism Official Police Sub-Division 4 Special Branch 2 Division Royal Thai Police) Material Type: printed text Authors: ศิริวัฒน์ มนัสพรหม, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 70 p. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-21
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาบุคลากร
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่
การข่าวการก่อการร้ายสากล
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4
สำนักงานตำรวจแห่งชาติAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่งานด้านการข่าวการก่อการร้ายสากล ของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล
2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ และเพื่อเสนอแนะและนำผลการศึกษาไปปรับปรุงและพัฒนาความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากล ของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4
กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม ทำการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที t-test และสถิติการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าว การก่อการร้ายสากลในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ส่วนการทดสอบสมมติฐานพบว่า ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล
2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่มีอายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อายุราชการและระดับชั้นยศข้าราชการแตกต่างกัน มีความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลไม่แตกต่างกัน
ส่วนข้าราชการตำรวจที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกัน มีความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
การปฏิบัติงานด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลให้มีประสิทธิภาพจะต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ร่วมกับข้อมูลต่างๆ ที่น่าเชื่อถือ นำมาวิเคราะห์ ตั้งประเด็น และสรุปเป็นข่าวกรอง ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้ล้วนมีความสำคัญและสนับสนุนซึ่งกันและกัน
จากผลการศึกษาที่ได้รับผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะให้ผู้บังคับบัญชาควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากรในสังกัดให้มีความรู้และความเช้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลในทุกด้านเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้การปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้นCurricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26610 SIU IS-T. ความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = (Understanding Toward Operation of News of International Terrorism Official Police Sub-Division 4 Special Branch 2 Division Royal Thai Police) [printed text] / ศิริวัฒน์ มนัสพรหม, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 70 p. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-21
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาบุคลากร
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่
การข่าวการก่อการร้ายสากล
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4
สำนักงานตำรวจแห่งชาติAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่งานด้านการข่าวการก่อการร้ายสากล ของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล
2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ และเพื่อเสนอแนะและนำผลการศึกษาไปปรับปรุงและพัฒนาความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากล ของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4
กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม ทำการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที t-test และสถิติการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าว การก่อการร้ายสากลในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ส่วนการทดสอบสมมติฐานพบว่า ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล
2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่มีอายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อายุราชการและระดับชั้นยศข้าราชการแตกต่างกัน มีความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลไม่แตกต่างกัน
ส่วนข้าราชการตำรวจที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกัน มีความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
การปฏิบัติงานด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลให้มีประสิทธิภาพจะต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ร่วมกับข้อมูลต่างๆ ที่น่าเชื่อถือ นำมาวิเคราะห์ ตั้งประเด็น และสรุปเป็นข่าวกรอง ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้ล้วนมีความสำคัญและสนับสนุนซึ่งกันและกัน
จากผลการศึกษาที่ได้รับผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะให้ผู้บังคับบัญชาควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากรในสังกัดให้มีความรู้และความเช้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลในทุกด้านเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้การปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้นCurricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26610 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592582 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-21 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592558 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-21 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ : กรณีศึกษา หน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ / ณิชากร นาคทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ : กรณีศึกษา หน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ Original title : Quality of Work Life of Police Officers : Case Studies of Office of the Commissioner General, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ณิชากร นาคทอง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 79 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-06
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิตในการทำงาน Abstract: งานค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงาน 8 ด้าน ของข้าราชการตำรวจ และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับ
กองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำแนกตามข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำนวน 280 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย Independent Samples t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 - 30 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีสถานภาพโสด รายได้ต่อเดือน 25,001 บาทขึ้นไป มีชั้นยศระดับประทวน และมีระยะเวลาในการปฏิบัติงานน้อยกว่า 5 ปี โดยมีคุณภาพชีวิตในการทำงานภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมาก คือ ด้านความภูมิในองค์กร
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ข้าราชการตำรวจสังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการ ขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ที่มีข้อมูลภูมิหลังด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ชั้นยศ และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ที่แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ไม่แตกต่างกันCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26491 SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ : กรณีศึกษา หน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ = Quality of Work Life of Police Officers : Case Studies of Office of the Commissioner General, Royal Thai Police [printed text] / ณิชากร นาคทอง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 79 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-06
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิตในการทำงาน Abstract: งานค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงาน 8 ด้าน ของข้าราชการตำรวจ และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับ
กองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำแนกตามข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำนวน 280 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย Independent Samples t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 - 30 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีสถานภาพโสด รายได้ต่อเดือน 25,001 บาทขึ้นไป มีชั้นยศระดับประทวน และมีระยะเวลาในการปฏิบัติงานน้อยกว่า 5 ปี โดยมีคุณภาพชีวิตในการทำงานภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมาก คือ ด้านความภูมิในองค์กร
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ข้าราชการตำรวจสังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการ ขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ที่มีข้อมูลภูมิหลังด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ชั้นยศ และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ที่แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ไม่แตกต่างกันCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26491 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591576 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-06 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวนสถานีตำรวจ โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา / วัชระ คำอำพันธ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวนสถานีตำรวจ โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา Original title : Quality of Work Life of the Police Commissionerfor Pho Klang Police Station Nakhon Ratchasima Material Type: printed text Authors: วัชระ คำอำพันธ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 87 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต -- สถานีตำรวจโพธิ์กลาง -- นครราชสีมา
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิต
คุณภาพการทำงาน
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ
ชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจชั้นประทวน โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และเงินเดือน 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานกับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา การวิจัยหลักครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามแบบปลายปิดและแบบปลายเปิดเป็นเครื่องสำคัญในการวิจัย โดยมีขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร จำนวน 110 คน จากการศึกษาผลการศึกษาทางด้านประชากรศาสตร์ พบว่า ข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตามเพศส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำแนกตามกลุ่มอายุส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 30 -40 ปี รองลงมาคือ มีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี ถัดมาคือ มีอายุต่ำกว่า 30 ปี และอันดับสุดท้าย ได้แก่ มีอายุ 51 ปีขึ้นไป จำแนกตามระดับการศึกษา ส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี รองลงมาคือ มีการศึกษาต่ำกว่า ปริญญาตรี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี จำแนกตามรายได้ ส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือนตั้งแต่ 20,001 บาทขึ้นไป รองลงมาคือ
มีรายได้ระหว่าง 15,000 – 20,000 บาท และมีรายได้ต่ำกว่า 15,000 บาท จำนวนน้อยที่สุด จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 10-15 ปี รองลงมาคือ มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 16-20 ปี ถัดมาคือ มีประสบการณ์ทำงานต่ำกว่า 10 ปี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ มีประสบการณ์ทำงาน 21 ปีขึ้นไป และผลการศึกษาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา ปัจจัยด้านการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก หากพิจารณาเป็นรายข้อ ความสำเร็จในชีวิตการงานมีค่าเฉลี่ย 3.71 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.50 รองลงมาคือ การปฏิบัติงานภายใต้นโยบายและการบริหาร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.52 ถัดมาคือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเป็นปัจจัยในการปฏิบัติงาน มีความสำคัญอยู่ในอันดับสามมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.51 ถัดไปได้แก่ การบังคับบัญชา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 ความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ และลักษณะงาน มีค่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.46 และ 3.41 ตามลำดับ ส่วนทางด้านคุณภาพชีวิตของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา
อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ส่วนใหญ่จะเป็นความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคม อยู่ในอันดับสูงสุด รองลงมาคือ การมีธรรมนูญในองค์การ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.60 ถัดมา คือ การบูรณาการด้านสังคม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.49 ถัดไปคือ ด้านสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ การพัฒนาความสามารถของบุคคลความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน ความสมดุลระหว่างชีวิตงานกับชีวิตด้านอื่น และค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.47, 3.46, 3.44, 3.42 และ 3.22 ตามลำดับ ข้อเสนอแนะจากการศึกษาควรมีการศึกษาแนวทางในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตการทำงานที่ดีขึ้น ควรมีการศึกษาตัวแปรอื่น ๆ ที่อาจส่งผลต่อคุณภาพชีวิต และควรมีการศึกษาเพิ่มเติมด้วยการใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสี มาเพื่อจะได้พัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานให้มีมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26607 SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวนสถานีตำรวจ โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา = Quality of Work Life of the Police Commissionerfor Pho Klang Police Station Nakhon Ratchasima [printed text] / วัชระ คำอำพันธ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 87 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต -- สถานีตำรวจโพธิ์กลาง -- นครราชสีมา
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิต
คุณภาพการทำงาน
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ
ชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจชั้นประทวน โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และเงินเดือน 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานกับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา การวิจัยหลักครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามแบบปลายปิดและแบบปลายเปิดเป็นเครื่องสำคัญในการวิจัย โดยมีขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร จำนวน 110 คน จากการศึกษาผลการศึกษาทางด้านประชากรศาสตร์ พบว่า ข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตามเพศส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำแนกตามกลุ่มอายุส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 30 -40 ปี รองลงมาคือ มีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี ถัดมาคือ มีอายุต่ำกว่า 30 ปี และอันดับสุดท้าย ได้แก่ มีอายุ 51 ปีขึ้นไป จำแนกตามระดับการศึกษา ส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี รองลงมาคือ มีการศึกษาต่ำกว่า ปริญญาตรี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี จำแนกตามรายได้ ส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือนตั้งแต่ 20,001 บาทขึ้นไป รองลงมาคือ
มีรายได้ระหว่าง 15,000 – 20,000 บาท และมีรายได้ต่ำกว่า 15,000 บาท จำนวนน้อยที่สุด จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 10-15 ปี รองลงมาคือ มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 16-20 ปี ถัดมาคือ มีประสบการณ์ทำงานต่ำกว่า 10 ปี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ มีประสบการณ์ทำงาน 21 ปีขึ้นไป และผลการศึกษาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา ปัจจัยด้านการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก หากพิจารณาเป็นรายข้อ ความสำเร็จในชีวิตการงานมีค่าเฉลี่ย 3.71 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.50 รองลงมาคือ การปฏิบัติงานภายใต้นโยบายและการบริหาร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.52 ถัดมาคือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเป็นปัจจัยในการปฏิบัติงาน มีความสำคัญอยู่ในอันดับสามมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.51 ถัดไปได้แก่ การบังคับบัญชา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 ความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ และลักษณะงาน มีค่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.46 และ 3.41 ตามลำดับ ส่วนทางด้านคุณภาพชีวิตของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา
อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ส่วนใหญ่จะเป็นความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคม อยู่ในอันดับสูงสุด รองลงมาคือ การมีธรรมนูญในองค์การ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.60 ถัดมา คือ การบูรณาการด้านสังคม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.49 ถัดไปคือ ด้านสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ การพัฒนาความสามารถของบุคคลความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน ความสมดุลระหว่างชีวิตงานกับชีวิตด้านอื่น และค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.47, 3.46, 3.44, 3.42 และ 3.22 ตามลำดับ ข้อเสนอแนะจากการศึกษาควรมีการศึกษาแนวทางในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตการทำงานที่ดีขึ้น ควรมีการศึกษาตัวแปรอื่น ๆ ที่อาจส่งผลต่อคุณภาพชีวิต และควรมีการศึกษาเพิ่มเติมด้วยการใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสี มาเพื่อจะได้พัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานให้มีมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26607 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592533 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592541 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความก้าวหน้าในอาชีพข้าราชการตำรวจระดับประทวน ในสังกัดกองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ / อรรถพร แป้นเพชร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อความก้าวหน้าในอาชีพข้าราชการตำรวจระดับประทวน ในสังกัดกองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ Original title : Factors Affecting Career Advancement of Non – Commissioned Police Officers in the Patrol Sub-Division, Patrol and Special Operation Division Material Type: printed text Authors: อรรถพร แป้นเพชร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 56 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-12
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ
[LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ความต้องการความก้าวหน้าในอาชีพ
ข้าราชการตำรวจระดับประทวน
กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลให้มีความก้าวหน้าในอาชีพในทัศนของตำรวจระดับประทวน จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นข้าราชการตำรวจในสังกัดกองกำกับการสายตรวจ และปฏิบัติการพิเศษ Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26087 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความก้าวหน้าในอาชีพข้าราชการตำรวจระดับประทวน ในสังกัดกองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ = Factors Affecting Career Advancement of Non – Commissioned Police Officers in the Patrol Sub-Division, Patrol and Special Operation Division [printed text] / อรรถพร แป้นเพชร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 56 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-12
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ
[LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ความต้องการความก้าวหน้าในอาชีพ
ข้าราชการตำรวจระดับประทวน
กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลให้มีความก้าวหน้าในอาชีพในทัศนของตำรวจระดับประทวน จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นข้าราชการตำรวจในสังกัดกองกำกับการสายตรวจ และปฏิบัติการพิเศษ Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26087 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000506954 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-12 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000506855 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-12 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000506970 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-12 c.3 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000506988 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-12 c.4 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจท่องเที่ยว / สยาม โพธิ์เตี้ย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจท่องเที่ยว Original title : Factors Affecting the Performance of the Police Officers in the Tourist Police Sub Division 1 Material Type: printed text Authors: สยาม โพธิ์เตี้ย, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 69 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ตำรวจท่องเที่ยว -- การทำงาน
[LCSH]ประสิทธิภาพในการทำงานKeywords: ปัจจัยที่ส่งผล,
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่,
ข้าราชการตำรวจ,
กองกำกับการ 1,
กองบังคับการตำรวจท่องเที่ยวCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27299 SIU IS-T. ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจท่องเที่ยว = Factors Affecting the Performance of the Police Officers in the Tourist Police Sub Division 1 [printed text] / สยาม โพธิ์เตี้ย, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 69 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ตำรวจท่องเที่ยว -- การทำงาน
[LCSH]ประสิทธิภาพในการทำงานKeywords: ปัจจัยที่ส่งผล,
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่,
ข้าราชการตำรวจ,
กองกำกับการ 1,
กองบังคับการตำรวจท่องเที่ยวCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27299 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595114 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-10 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595122 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-10 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available