From this page you can:
Home |
Search results
15 result(s) search for keyword(s) 'บุคลิกภาพ. พยาบาลประจำการ. โรงพยาบาลชุมชน'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงาน กับความเข็มแข็ง / พัชราพร แจ่มแจ้ง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงาน กับความเข็มแข็ง : ในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน Original title : Relationships between personality social support job characteristics and sense of coherence of staff nurses community hosptials Material Type: printed text Authors: พัชราพร แจ่มแจ้ง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ญ, 169 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-344-6 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การบริหารพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: บุคลิกภาพ.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลชุมชนClass number: WY18พ612 2546 Abstract: งานวิจัยนี้เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงานกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน และศึกษาตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จำนวน 393 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดบุคลิกภาพเปิดเผย ประนีประนอม อารมณ์มั่นคง ควบคุมตนเอง และบุคลิกภาพเิปิดรับประสบการณ์ แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา และเพื่อนร่วมงานจ ลักษณะงาน และความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงโดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .78 .73 .77 .79 .78 .94 .93 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัีมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณแบบขั้ยตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย คือ 3.87
2. บุคลิกภาพเปิดเผย บุคลิกภาพประนีประนอม บุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิิกภาพเปิดรับประสบการณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประำจำการอย่างมีนัยสำคัยทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.353 .305 .332 .398 และ .412 ตามลำดับ)
3. การสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา การสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.352 และ .474 ตามลำดับ)
4. ลักษณะงานมีความสัีมพันธ์ทางระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.662)
5. ตัวแปรพยากรณ์ ได้แก่ ลักษณะงาน บุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ และการสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน สามารถร่วมกันพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการได้อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของความเข็มแข็งในการมองโลกได้ร้อยละ 50.08 (R ยกกำลังสอง = .508) และสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน.Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23330 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงาน กับความเข็มแข็ง = Relationships between personality social support job characteristics and sense of coherence of staff nurses community hosptials : ในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน [printed text] / พัชราพร แจ่มแจ้ง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ญ, 169 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-344-6 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การบริหารพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: บุคลิกภาพ.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลชุมชนClass number: WY18พ612 2546 Abstract: งานวิจัยนี้เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงานกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน และศึกษาตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จำนวน 393 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดบุคลิกภาพเปิดเผย ประนีประนอม อารมณ์มั่นคง ควบคุมตนเอง และบุคลิกภาพเิปิดรับประสบการณ์ แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา และเพื่อนร่วมงานจ ลักษณะงาน และความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงโดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .78 .73 .77 .79 .78 .94 .93 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัีมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณแบบขั้ยตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย คือ 3.87
2. บุคลิกภาพเปิดเผย บุคลิกภาพประนีประนอม บุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิิกภาพเปิดรับประสบการณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประำจำการอย่างมีนัยสำคัยทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.353 .305 .332 .398 และ .412 ตามลำดับ)
3. การสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา การสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.352 และ .474 ตามลำดับ)
4. ลักษณะงานมีความสัีมพันธ์ทางระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.662)
5. ตัวแปรพยากรณ์ ได้แก่ ลักษณะงาน บุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ และการสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน สามารถร่วมกันพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการได้อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของความเข็มแข็งในการมองโลกได้ร้อยละ 50.08 (R ยกกำลังสอง = .508) และสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน.Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23330 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357259 THE WY18พ612 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม / กนกพรรณ ญาณภิรัต / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม Original title : Factors Leading to the Acceptance of Female Executives’ Leadership in Brodcassting and Telecommunication Organization Material Type: printed text Authors: กนกพรรณ ญาณภิรัต, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xii, 88 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นักบริหารสตรี -- วิจัย
[LCSH]ภาวะผู้นำของสตรี
[LCSH]วิทยุกระจายเสียง
[LCSH]โทรคมนาคมKeywords: ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรี,
หน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม,
บุคลิกภาพของผู้นำAbstract: การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม เป็นงานวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการยอมรับของผู้บริหารสตรี และศึกษาภาวะผู้นำประเภทต่างๆ ที่นำไปสู่การยอมรับของผู้ร่วมงาน ลูกน้องและหัวหน้างานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม โดยศึกษาจากประชากรกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม มีการใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานในการเก็บข้อมูล และมีการวิเคราะห์ความแปรปรวน Analysis of Variance หรือ ANOVA และการวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่า คุณลักษณะ และบุคลิกภาพของผู้นำของผู้บริหารสตรีมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับการบริหารจัดการ และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารความสัมพันธ์ทางลบโดยตรงและทางบวกโดยอ้อมกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน ส่วนการบริหารจัดการมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน สำหรับผู้นำทางวิชาชีพ (professional leadership) เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ทำการศึกษาในครั้งนี้ อีกทั้งยังพบว่าปัจจัยด้านบุคลิกภาพซึ่งในที่นี้รวมถึงการวางตัว การแต่งตัว กริยาท่าทางของผู้บริหารสตรี ส่งผลต่อการยอมรับและนำไปสู่ความสำเร็จของการทำงาน ตลอดทั้งการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสำหรับหน่วยงานกำกับ ดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทย ซึ่งโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมเนื่องจากมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ อีกทั้งในแต่ละองค์ประกอบหรือปัจจัยแต่ละด้าน มีความเที่ยงตรง และเป็นที่ยอมรับได้ สำหรับปัจจัย เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของรูปแบบการบริหารจัดการของผู้บริหาร และเป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของความสำเร็จของการยอมรับผู้บริหารสตรีCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28048 SIU THE-T. การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม = Factors Leading to the Acceptance of Female Executives’ Leadership in Brodcassting and Telecommunication Organization [printed text] / กนกพรรณ ญาณภิรัต, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xii, 88 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นักบริหารสตรี -- วิจัย
[LCSH]ภาวะผู้นำของสตรี
[LCSH]วิทยุกระจายเสียง
[LCSH]โทรคมนาคมKeywords: ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรี,
หน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม,
บุคลิกภาพของผู้นำAbstract: การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม เป็นงานวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการยอมรับของผู้บริหารสตรี และศึกษาภาวะผู้นำประเภทต่างๆ ที่นำไปสู่การยอมรับของผู้ร่วมงาน ลูกน้องและหัวหน้างานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม โดยศึกษาจากประชากรกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม มีการใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานในการเก็บข้อมูล และมีการวิเคราะห์ความแปรปรวน Analysis of Variance หรือ ANOVA และการวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่า คุณลักษณะ และบุคลิกภาพของผู้นำของผู้บริหารสตรีมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับการบริหารจัดการ และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารความสัมพันธ์ทางลบโดยตรงและทางบวกโดยอ้อมกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน ส่วนการบริหารจัดการมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน สำหรับผู้นำทางวิชาชีพ (professional leadership) เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ทำการศึกษาในครั้งนี้ อีกทั้งยังพบว่าปัจจัยด้านบุคลิกภาพซึ่งในที่นี้รวมถึงการวางตัว การแต่งตัว กริยาท่าทางของผู้บริหารสตรี ส่งผลต่อการยอมรับและนำไปสู่ความสำเร็จของการทำงาน ตลอดทั้งการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสำหรับหน่วยงานกำกับ ดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทย ซึ่งโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมเนื่องจากมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ อีกทั้งในแต่ละองค์ประกอบหรือปัจจัยแต่ละด้าน มีความเที่ยงตรง และเป็นที่ยอมรับได้ สำหรับปัจจัย เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของรูปแบบการบริหารจัดการของผู้บริหาร และเป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของความสำเร็จของการยอมรับผู้บริหารสตรีCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28048 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607380 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607377 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available การติดตามผลการจัดระบบบริการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี / พรพิมล ธีรนันทน์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([06/20/2016])
[article]
Title : การติดตามผลการจัดระบบบริการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี : ที่มีปัญหาพัฒนาการในโรงพยาบาลชุมชน ปีงบบประมาณ 2557 Material Type: printed text Authors: พรพิมล ธีรนันทน์, Author ; นิรมัย อุ้มรักษา, Author ; รัชดาวรรณ์ แดงสุข, Author ; ธัญหทัย จันทะโยธา, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.28-41 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 [06/20/2016] . - p.28-41Keywords: การจัดระบบบริการ.การส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด.การส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ-ห้าปี.โรงพยาบาลชุมชน. Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25550 [article] การติดตามผลการจัดระบบบริการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี : ที่มีปัญหาพัฒนาการในโรงพยาบาลชุมชน ปีงบบประมาณ 2557 [printed text] / พรพิมล ธีรนันทน์, Author ; นิรมัย อุ้มรักษา, Author ; รัชดาวรรณ์ แดงสุข, Author ; ธัญหทัย จันทะโยธา, Author . - 2016 . - p.28-41.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน / อุษนันท์ อินทมาศน์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน Original title : Role performance of professional nurse in community hospital Material Type: printed text Authors: อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฌ, 117 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-780-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน = Role performance of professional nurse in community hospital [printed text] / อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฌ, 117 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-780-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355493 WY100 อ948 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลชุมชน / ชูชีพ มีศิริ, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลชุมชน Original title : Self development of head nurses, community hospitals Material Type: printed text Authors: ชูชีพ มีศิริ, (2508-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฌ, 141 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-174-370-6 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: การพัฒนาตนเอง.
โรงพยาบาลชุมชน.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ช212 2546 Abstract: ศึกษาความหมายและประสบการณ์การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลชุมชนสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแห่งหนึ่งในเขตภาคกลาง ที่มีประสบการณ์การทำงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 19 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าหอผู้ป่วยให้ความหมายของการพัฒนาตนเองว่า เป็นการปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้นในด้านความรู้และทักษะในการบริหารจัดการ ควบคู่ไปกับมีความรู้ความชำนาญในการปฏิบัติการพยาบาล เพื่อให้ได้รับการยอมรับจากผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา อีกประการคือเป็นความปรารถนาที่จะเรียนรู้อยู่เสมอ ทั้งนี้เพราะวิทยาการต่างๆ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ความปรารถนาภายในตนเป็นแรงจูงใจให้ต้องพัฒนาตนเอง เพื่อให้สามารถปรับตัวตอบสนองต่อระบบบริการสุขภาพ ส่วนประสบการณ์การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบว่า การพัฒนาจะเริ่มจากการมีแรงผลักดันหลังได้รับตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย ซึ่งประกอบไปด้วยความรู้สึกรับผิดชอบต่อตำแหน่งตามบทบาทหน้าที่ ความรู้สึกที่ต้องรู้มากกว่าผู้ใต้บังคับบัญชา ความต้องการเป็นแบบอย่างพยาบาลที่ดีในด้านการปฏิบัติการพยาบาล การต้องทำหน้าที่สอนและนิเทศบุคลากรในทีมสุขภาพ ประการสำคัญคือ ความรู้สึกขาดความพร้อมที่จะทำหน้าที่เป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย เป็นแรงผลักดันที่ทำให้มีความพยายามที่จะพัฒนาตนเอง ทั้งนี้โดยได้รับการสนับสนุนการพัฒนาตนเองจากหน่วยงานต้นสังกัดและครอบครัว นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่า วิธีการพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยประกอบไปด้วย การพัฒนาด้านความรู้โดยใช้วิธีการแสวงหาความรู้ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ การพัฒนาด้านจิตใจโดยการสำรวจตนเอง การควบคุมอารมณ์และการลดความเครียด และการพัฒนาร่างกายโดยการบริหารร่างกาย การดูแลสุขภาพและการเลือกบริโภคอาหาร ประการสำคัญผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยรู้สึกว่า ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานและผู้บังคับบัญชาในการพัฒนาตนเองน้อย ดังนั้นเพื่อให้หัวหน้าหอผู้ป่วยมีความมั่นใจและมีทักษะในการบริหารจัดการ จึงควรมีการเตรียมความพร้อมให้ก่อนได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23125 การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลชุมชน = Self development of head nurses, community hospitals [printed text] / ชูชีพ มีศิริ, (2508-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฌ, 141 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-174-370-6 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: การพัฒนาตนเอง.
โรงพยาบาลชุมชน.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ช212 2546 Abstract: ศึกษาความหมายและประสบการณ์การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลชุมชนสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแห่งหนึ่งในเขตภาคกลาง ที่มีประสบการณ์การทำงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 19 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าหอผู้ป่วยให้ความหมายของการพัฒนาตนเองว่า เป็นการปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้นในด้านความรู้และทักษะในการบริหารจัดการ ควบคู่ไปกับมีความรู้ความชำนาญในการปฏิบัติการพยาบาล เพื่อให้ได้รับการยอมรับจากผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา อีกประการคือเป็นความปรารถนาที่จะเรียนรู้อยู่เสมอ ทั้งนี้เพราะวิทยาการต่างๆ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ความปรารถนาภายในตนเป็นแรงจูงใจให้ต้องพัฒนาตนเอง เพื่อให้สามารถปรับตัวตอบสนองต่อระบบบริการสุขภาพ ส่วนประสบการณ์การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบว่า การพัฒนาจะเริ่มจากการมีแรงผลักดันหลังได้รับตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย ซึ่งประกอบไปด้วยความรู้สึกรับผิดชอบต่อตำแหน่งตามบทบาทหน้าที่ ความรู้สึกที่ต้องรู้มากกว่าผู้ใต้บังคับบัญชา ความต้องการเป็นแบบอย่างพยาบาลที่ดีในด้านการปฏิบัติการพยาบาล การต้องทำหน้าที่สอนและนิเทศบุคลากรในทีมสุขภาพ ประการสำคัญคือ ความรู้สึกขาดความพร้อมที่จะทำหน้าที่เป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย เป็นแรงผลักดันที่ทำให้มีความพยายามที่จะพัฒนาตนเอง ทั้งนี้โดยได้รับการสนับสนุนการพัฒนาตนเองจากหน่วยงานต้นสังกัดและครอบครัว นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่า วิธีการพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยประกอบไปด้วย การพัฒนาด้านความรู้โดยใช้วิธีการแสวงหาความรู้ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ การพัฒนาด้านจิตใจโดยการสำรวจตนเอง การควบคุมอารมณ์และการลดความเครียด และการพัฒนาร่างกายโดยการบริหารร่างกาย การดูแลสุขภาพและการเลือกบริโภคอาหาร ประการสำคัญผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยรู้สึกว่า ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานและผู้บังคับบัญชาในการพัฒนาตนเองน้อย ดังนั้นเพื่อให้หัวหน้าหอผู้ป่วยมีความมั่นใจและมีทักษะในการบริหารจัดการ จึงควรมีการเตรียมความพร้อมให้ก่อนได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23125 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354405 WY18 ช212 2546 Book Main Library General Shelf Available การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน / หนึ่งนุช คำชาย / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน Original title : The development of professional nurses competency assessment scale, community hospitals, Nan Province Material Type: printed text Authors: หนึ่งนุช คำชาย, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ญ, 138 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาบุคลากร
[LCSH]พยาบาล -- การประเมิน
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชน -- ไทย -- น่านKeywords: โรงพยาบาลชุมชน.
จังหวัดน่าน.
การพัฒนาบุคลากร.
พยาบาล.
การประเมิน.Class number: WY100 ห953 2551 Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ พัฒนาแบบประเมินสมรรถนะและตรวจสอบคุณภาพแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน กลุ่มตัวอย่างมี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน จำนวน 15 คน และกลุ่มหัวหน้าหอผู้ป่วย และรองหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน 13 แห่ง จำนวน 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพแบบมาตรประมาณค่ายึดพฤติกรรม (Behaviorally anchored rating scale : BARS) 4 ระดับ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และมีค่าความเที่ยงของการสังเกตระหว่างผู้ประเมิน (Interrater reliability) เท่ากับ .82 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. แบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน ประกอบด้วยสมรรถนะ 8 ด้าน คือ ด้านองค์ความรู้ทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ด้านภาวะผู้นำและการบริหารจัดการ ด้านจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมาย ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ ด้านการสื่อสารและสัมพันธภาพ ด้านการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล และด้านวิชาการและการวิจัย รวมเป็นสมรรถนะย่อย 22 ข้อ 2. แบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน มีค่าความสอดคล้องของแบบประเมินเท่ากับ .86 (r = .86) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23219 การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน = The development of professional nurses competency assessment scale, community hospitals, Nan Province [printed text] / หนึ่งนุช คำชาย, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ญ, 138 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาบุคลากร
[LCSH]พยาบาล -- การประเมิน
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชน -- ไทย -- น่านKeywords: โรงพยาบาลชุมชน.
จังหวัดน่าน.
การพัฒนาบุคลากร.
พยาบาล.
การประเมิน.Class number: WY100 ห953 2551 Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ พัฒนาแบบประเมินสมรรถนะและตรวจสอบคุณภาพแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน กลุ่มตัวอย่างมี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน จำนวน 15 คน และกลุ่มหัวหน้าหอผู้ป่วย และรองหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน 13 แห่ง จำนวน 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพแบบมาตรประมาณค่ายึดพฤติกรรม (Behaviorally anchored rating scale : BARS) 4 ระดับ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และมีค่าความเที่ยงของการสังเกตระหว่างผู้ประเมิน (Interrater reliability) เท่ากับ .82 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. แบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน ประกอบด้วยสมรรถนะ 8 ด้าน คือ ด้านองค์ความรู้ทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ด้านภาวะผู้นำและการบริหารจัดการ ด้านจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมาย ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ ด้านการสื่อสารและสัมพันธภาพ ด้านการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล และด้านวิชาการและการวิจัย รวมเป็นสมรรถนะย่อย 22 ข้อ 2. แบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน มีค่าความสอดคล้องของแบบประเมินเท่ากับ .86 (r = .86) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23219 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354835 WY100 ห953 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available การพัฒนาแบบประเมินสมรรถภาพพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง / อรอุมา ศิริวัฒนา in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Vol.27 No.2 (May-Aug) 2015 ([03/16/2016])
[article]
Title : การพัฒนาแบบประเมินสมรรถภาพพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง : สังกัดกองทัพบก Original title : The development of competency assessment scale for staff nurse in 30-90 bed hospitals under the jurisdiction of the Royal Thai Army Material Type: printed text Authors: อรอุมา ศิริวัฒนา, Author ; กัญญดา ประจุศิลป, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.1-10 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Vol.27 No.2 (May-Aug) 2015 [03/16/2016] . - p.1-10Keywords: การพัฒนาแบบประเมินประสิทธิภาพ.พยาบาลประจำการ.โรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง.โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก. Curricular : BNS Link for e-copy: http://tci-thaijo.org/index.php/CUNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25655 [article] การพัฒนาแบบประเมินสมรรถภาพพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง = The development of competency assessment scale for staff nurse in 30-90 bed hospitals under the jurisdiction of the Royal Thai Army : สังกัดกองทัพบก [printed text] / อรอุมา ศิริวัฒนา, Author ; กัญญดา ประจุศิลป, Author . - 2016 . - p.1-10.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Vol.27 No.2 (May-Aug) 2015 [03/16/2016] . - p.1-10Keywords: การพัฒนาแบบประเมินประสิทธิภาพ.พยาบาลประจำการ.โรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง.โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก. Curricular : BNS Link for e-copy: http://tci-thaijo.org/index.php/CUNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25655 การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน / สุภาพร เสือรอด in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน : ในโรงพยาบ่าลชุมชนพื่นที่ติดชายแดนภาคตะวันตก Original title : Proactive health care service of nurseworking in a community hospital at west Material Type: printed text Authors: สุภาพร เสือรอด, Author ; อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.79-87 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.79-87Keywords: การบริการสุขภาพเชิงรุก.การบริการทางการพยาบาล.พยาบาลวิชาชีพ.โรงพยาบาลชุมชนชายแดนภาคตะวันออก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ บรรยายการให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนพื้นที่ติดชายแดนตะวันตก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบปรากฎการณ์วิทยาการตีความตามแนวคิดของ Heidegger คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง โดยผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานเชิงรุกในโรงพยาบาลชุมชน พื้นที่ติดชายแดนภาคะวันตก มีความยินดีในการเข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะจงและการบันทึกเทป ร่วมกับการบันทึกภาคสนาม นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยวิธีการตีความของ Van Manen (1990) ผลการศึกษามีดังนี้ 1 ร่วมวางแผนการเดินทางกับทุกภาคส่วน 2 เดินทางเข้าหมู่บ้านผ่านเส้นทางอันตราย ต้องใช้ผู้ชำนาญทาง 3 เข้าถึงพื้นที่ เริ่มงานทันที ตามหน้าที่ที่แบ่งกัน 4 ออกจากพื้นที่ไปให้ถึงอีกพื้นที่ก่อนพลบค่ำ 5 ดำเนินการตรวจรักษาชาวบ้านมากหน้าหลายตามารอรับบริการ และ 6 เสร็จงานออกจากพื้นที่ บางครั้งมีปัญหากลับโรงพยาบาลล่าช้ากว่ากำหนด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24955 [article] การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน = Proactive health care service of nurseworking in a community hospital at west : ในโรงพยาบ่าลชุมชนพื่นที่ติดชายแดนภาคตะวันตก [printed text] / สุภาพร เสือรอด, Author ; อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author . - 2015 . - p.79-87.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.79-87Keywords: การบริการสุขภาพเชิงรุก.การบริการทางการพยาบาล.พยาบาลวิชาชีพ.โรงพยาบาลชุมชนชายแดนภาคตะวันออก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ บรรยายการให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนพื้นที่ติดชายแดนตะวันตก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบปรากฎการณ์วิทยาการตีความตามแนวคิดของ Heidegger คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง โดยผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานเชิงรุกในโรงพยาบาลชุมชน พื้นที่ติดชายแดนภาคะวันตก มีความยินดีในการเข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะจงและการบันทึกเทป ร่วมกับการบันทึกภาคสนาม นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยวิธีการตีความของ Van Manen (1990) ผลการศึกษามีดังนี้ 1 ร่วมวางแผนการเดินทางกับทุกภาคส่วน 2 เดินทางเข้าหมู่บ้านผ่านเส้นทางอันตราย ต้องใช้ผู้ชำนาญทาง 3 เข้าถึงพื้นที่ เริ่มงานทันที ตามหน้าที่ที่แบ่งกัน 4 ออกจากพื้นที่ไปให้ถึงอีกพื้นที่ก่อนพลบค่ำ 5 ดำเนินการตรวจรักษาชาวบ้านมากหน้าหลายตามารอรับบริการ และ 6 เสร็จงานออกจากพื้นที่ บางครั้งมีปัญหากลับโรงพยาบาลล่าช้ากว่ากำหนด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24955 ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 / อโนชา ทองกองทุน / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 Material Type: printed text Authors: อโนชา ทองกองทุน, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก- ฌ, 184 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-170-062-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]เทคนิคเดลฟายKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
พยาบาลประจำการ.
การทำงานเป็นทีม.Class number: WY18 อ985 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เพื่อ ศึกษาขอบเขตการปฏิบัติงานของหัีวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นที่ 2 ศึกษาขอบเขตการปฎบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 โดยใช้เทคนิด Ethnographic Future Research (EDFR) ทำการคัดเลือกขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป และเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 19 ท่าน (Md มากกว่า 3.50, IR น้อย 1.50) ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 99 วัน
ผลการวิจัยพบว่า ขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 ประกอบด้วย ขอบเขตการปฏิบัติงาน 6 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการบริหารทั่วไป ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบาย และการวางแผนในระดับหน่วยงาน และระดับโรงพยาบาล ตลอดจนการบริหารจัดการในหน่วยงานเกี่ยวกับงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ รวมถึงอาคาร สถานที่
2. ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ บุคลากรพยาบาลในหน่วยงาน การพัฒนาบุคลากร รวมทั้งการรักษาบุคลากรที่มีคุณค่าเอาไว้
3. ด้านการบริการและการพัฒนาคุณภาพการบริการ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน ทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพบริการ
4. ด้านวิชาการและการวิจัย ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้่ด้วยตนเองของบุคลากรพยาบาล และการพัฒนาการวิจัย
5. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ด้านการพัฒนาวิชาชีพ ครอบคุลมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติการพยาบาลเชิงวิชาชีพ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23331 ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 [printed text] / อโนชา ทองกองทุน, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก- ฌ, 184 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-170-062-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]เทคนิคเดลฟายKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
พยาบาลประจำการ.
การทำงานเป็นทีม.Class number: WY18 อ985 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เพื่อ ศึกษาขอบเขตการปฏิบัติงานของหัีวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นที่ 2 ศึกษาขอบเขตการปฎบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 โดยใช้เทคนิด Ethnographic Future Research (EDFR) ทำการคัดเลือกขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป และเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 19 ท่าน (Md มากกว่า 3.50, IR น้อย 1.50) ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 99 วัน
ผลการวิจัยพบว่า ขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 ประกอบด้วย ขอบเขตการปฏิบัติงาน 6 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการบริหารทั่วไป ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบาย และการวางแผนในระดับหน่วยงาน และระดับโรงพยาบาล ตลอดจนการบริหารจัดการในหน่วยงานเกี่ยวกับงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ รวมถึงอาคาร สถานที่
2. ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ บุคลากรพยาบาลในหน่วยงาน การพัฒนาบุคลากร รวมทั้งการรักษาบุคลากรที่มีคุณค่าเอาไว้
3. ด้านการบริการและการพัฒนาคุณภาพการบริการ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน ทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพบริการ
4. ด้านวิชาการและการวิจัย ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้่ด้วยตนเองของบุคลากรพยาบาล และการพัฒนาการวิจัย
5. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ด้านการพัฒนาวิชาชีพ ครอบคุลมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติการพยาบาลเชิงวิชาชีพ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23331 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357267 THE WY18 อ985 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว / บุตธะนา สุมามาลย์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว : โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี Original title : Organizational commitment of temporary nurses in coomunity hospitals, Udonthani province Material Type: printed text Authors: บุตธะนา สุมามาลย์, Author ; นิตยา เพ็ญศิรินภา, Author ; พรทิพย์ กีระพงษ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.104-112 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.104-112Keywords: พยาบาลลูกจ้างชั่วคราว.โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี.ความยึดมั่นต่อองค์การ.ความผูกพันต่อองค์การ. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษา 1.ความผูกพันต่องค์การ 2.ปัจจัยส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงาน และ3.ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจันส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว ประชากรที่ศึกษา พยาบาลลูกจ้างชั่วคราวโรงพยาบาลชุมชนฯ จำนวน 222 คน กลุ่มตัวอย่าง 155 คน เลือกแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ ข้อมูลทัั่วไป ลักษณะของงาน ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน และความผูกพันต่อองค์การ ที่มีความเที่ยงอยู่ระหว่าง 0.69 ถึง 0.78
ผลการศึกษา พบว่า 1 ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.24 2 ปัจจันส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า อายุเฉลี่ย 26 ปี มีระยะเวลาการปฏิบัติงานเฉลี่ย 3 ปี ลักษณะงานโดยรวมอยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 3.62 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.05 และ 3 ลักษณะของงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับทางบวกในระดับต่ำกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ.405 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับความยึดมั้นผูกพันต่อองค์การทางบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .629 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความยึดมั่นผูกพันต่องค์การLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26746 [article] ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว = Organizational commitment of temporary nurses in coomunity hospitals, Udonthani province : โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี [printed text] / บุตธะนา สุมามาลย์, Author ; นิตยา เพ็ญศิรินภา, Author ; พรทิพย์ กีระพงษ์, Author . - 2017 . - p.104-112.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.104-112Keywords: พยาบาลลูกจ้างชั่วคราว.โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี.ความยึดมั่นต่อองค์การ.ความผูกพันต่อองค์การ. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษา 1.ความผูกพันต่องค์การ 2.ปัจจัยส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงาน และ3.ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจันส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว ประชากรที่ศึกษา พยาบาลลูกจ้างชั่วคราวโรงพยาบาลชุมชนฯ จำนวน 222 คน กลุ่มตัวอย่าง 155 คน เลือกแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ ข้อมูลทัั่วไป ลักษณะของงาน ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน และความผูกพันต่อองค์การ ที่มีความเที่ยงอยู่ระหว่าง 0.69 ถึง 0.78
ผลการศึกษา พบว่า 1 ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.24 2 ปัจจันส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า อายุเฉลี่ย 26 ปี มีระยะเวลาการปฏิบัติงานเฉลี่ย 3 ปี ลักษณะงานโดยรวมอยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 3.62 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.05 และ 3 ลักษณะของงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับทางบวกในระดับต่ำกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ.405 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับความยึดมั้นผูกพันต่อองค์การทางบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .629 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความยึดมั่นผูกพันต่องค์การLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26746 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาทและความยืดหยุ่น / วรรณฤดี เชาว์ศรีกุล / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาทและความยืดหยุ่น : ของทีมกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ Original title : Relationships between personality, working ability, role diversity, flexibility of teams and nursing team effectiveness of professional nurses in intensive care units, regional hospital and medical centers Material Type: printed text Authors: วรรณฤดี เชาว์ศรีกุล, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก-ฎ, 192 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-031-431-7 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)) -- จุฬาลงกรณ์มหาิวิทยาลัย,2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บุคลิกภาพ
[LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การทำงาน.
พยาบาลวิชาชีพ
บุคลิกภาพ.Class number: WY100 ว777 2544 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัีมพันธ์ีระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท และความยืดหยุ่นของทีม กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ และศึกษากลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมทำนายประสิืทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ทีมการพยาบาล 74 ทีม ที่ประกอบด้วย พยาบาลวิชาบีพ จำนวน 471 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย จากประชากร 977 คน ซึ่งปฎิบัติงานอยู่ในหอผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ เครื่องมือที่ใช้ในการรบวรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท ความยืดหยุ่นของทีม และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ผ่านการตรวจสอบความตรงทางเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าความเที่ยงระหว่าง 0.70-0.93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรขั้นตอน (ใช้ทีมเป็นหน่วยในการวิเคราะห์) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย 3.83)
2. ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน และความยืดหยุ่นของทีม มีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับสูง กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.72, 0.77 และ0.78 ตามลำดับ) บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิกภาพประนีประนอม และบุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.33, 0.32 และ 0.31) ตามลำดับ และบุคลิกภาพเปิดเผยมีความสัมพันธ์ในระดับต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.20) ส่วนบุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ไม่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล
3. กลุ่มตัวแปรพยากรณ์ที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ได้แก่ ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน ความยืดหยุ่นของทีม และบุคลิกภาพควบคุมตนเองโดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 73 (R=0.73) โดยมีสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23307 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาทและความยืดหยุ่น = Relationships between personality, working ability, role diversity, flexibility of teams and nursing team effectiveness of professional nurses in intensive care units, regional hospital and medical centers : ของทีมกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ [printed text] / วรรณฤดี เชาว์ศรีกุล, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก-ฎ, 192 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-031-431-7 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)) -- จุฬาลงกรณ์มหาิวิทยาลัย,2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บุคลิกภาพ
[LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การทำงาน.
พยาบาลวิชาชีพ
บุคลิกภาพ.Class number: WY100 ว777 2544 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัีมพันธ์ีระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท และความยืดหยุ่นของทีม กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ และศึกษากลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมทำนายประสิืทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ทีมการพยาบาล 74 ทีม ที่ประกอบด้วย พยาบาลวิชาบีพ จำนวน 471 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย จากประชากร 977 คน ซึ่งปฎิบัติงานอยู่ในหอผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ เครื่องมือที่ใช้ในการรบวรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท ความยืดหยุ่นของทีม และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ผ่านการตรวจสอบความตรงทางเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าความเที่ยงระหว่าง 0.70-0.93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรขั้นตอน (ใช้ทีมเป็นหน่วยในการวิเคราะห์) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย 3.83)
2. ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน และความยืดหยุ่นของทีม มีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับสูง กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.72, 0.77 และ0.78 ตามลำดับ) บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิกภาพประนีประนอม และบุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.33, 0.32 และ 0.31) ตามลำดับ และบุคลิกภาพเปิดเผยมีความสัมพันธ์ในระดับต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.20) ส่วนบุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ไม่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล
3. กลุ่มตัวแปรพยากรณ์ที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ได้แก่ ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน ความยืดหยุ่นของทีม และบุคลิกภาพควบคุมตนเองโดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 73 (R=0.73) โดยมีสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23307 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000384667 THE WY100 ว777 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล / วารี พูลทรัพย์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล : ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร Original title : Rekationships between work gropu characteristics and nursing team effectiveness as preceived by staff nurses governmental hospitals Bangkok metropolis Material Type: printed text Authors: วารี พูลทรัพย์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก-ญ,169 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-170-460-7 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาลเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- ไทย -- ภาครัฐKeywords: การพยาบาล.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลรัฐ.
ประสิทธิผล.
ทีมการพยาบาล.Class number: WY18 ว727 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เป็นวิจัยเชิงความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทีมงานกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ตลอดจนศึกษาตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ ทีมการพยาบาล ซึ่งไ้ด้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 184 ทีม มีจำนวนรวม 920 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามลักษณะของทีมงาน และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรง และความเที่ยงเท่ากับ .094 และ .91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน สถิติวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณ
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.75
2 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กัีบประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง และมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.832) โดยมีความสัมพันธ์รายด้านดังนี้ คือ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน การพึ่งพาช่วยเหลือกัน องค์ประกอบของทีม และบริบทเชิงบริหาร (r= .800 .731 .689 .665 และ .657 ตามลำดับ
3. ตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร ได้แก่ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน บริบทเชิงบริหาร การพึ่งพาช่วยเหลือกันของสมาชิก และองค์ประกอบของทีม ซึ่งสามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาลได้ร้อยละ 74.2 (R ยกกำลังสอง = .743 p < .05) โดยมีสมการพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23327 ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล = Rekationships between work gropu characteristics and nursing team effectiveness as preceived by staff nurses governmental hospitals Bangkok metropolis : ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร [printed text] / วารี พูลทรัพย์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก-ญ,169 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-170-460-7 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาลเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- ไทย -- ภาครัฐKeywords: การพยาบาล.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลรัฐ.
ประสิทธิผล.
ทีมการพยาบาล.Class number: WY18 ว727 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เป็นวิจัยเชิงความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทีมงานกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ตลอดจนศึกษาตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ ทีมการพยาบาล ซึ่งไ้ด้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 184 ทีม มีจำนวนรวม 920 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามลักษณะของทีมงาน และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรง และความเที่ยงเท่ากับ .094 และ .91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน สถิติวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณ
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.75
2 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กัีบประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง และมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.832) โดยมีความสัมพันธ์รายด้านดังนี้ คือ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน การพึ่งพาช่วยเหลือกัน องค์ประกอบของทีม และบริบทเชิงบริหาร (r= .800 .731 .689 .665 และ .657 ตามลำดับ
3. ตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร ได้แก่ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน บริบทเชิงบริหาร การพึ่งพาช่วยเหลือกันของสมาชิก และองค์ประกอบของทีม ซึ่งสามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาลได้ร้อยละ 74.2 (R ยกกำลังสอง = .743 p < .05) โดยมีสมการพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23327 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357309 THE WY18 ว727 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานกับความยึดมั่นผูกพัน / รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2549
Title : ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานกับความยึดมั่นผูกพัน : ต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ Original title : Relationships between personal factors trust in head nurses job satisfaction and organization commitment regional hospital and medical centers Material Type: printed text Authors: รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2549 Pagination: ก-ฎ, 176 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: พยาบาลประจำการ.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ความผูกพันต่อองค์การ.Class number: WY125 ร716 2549 Abstract: การวิจัยครั้งนี้่มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงาน กับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 380 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมุลส่วนบุคคล แบบสอบถามความพึงพอใจในงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้ .93 .95 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูล โดยกาีรแจกแจงความถี่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติไคสแควร์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 4.00 3.86 3.90 ตามลำดับ)
2. ประสบการณ์ในการทำงานมีความสัมพันธ์ กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
3. ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการ (r=.467) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
4. ความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ (r=.672) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ ความยึดมั่ยผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 คือ ความพึงพอใจในงานของพยาบาลประจำการ และประสบการณ์ในการทำงาน สามารถอธิบายความแปรปรวนของความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้ร้อยละ 46.3 (R ยกกำลังสอง = .463 )
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23332 ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานกับความยึดมั่นผูกพัน = Relationships between personal factors trust in head nurses job satisfaction and organization commitment regional hospital and medical centers : ต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ [printed text] / รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 . - ก-ฎ, 176 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: พยาบาลประจำการ.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ความผูกพันต่อองค์การ.Class number: WY125 ร716 2549 Abstract: การวิจัยครั้งนี้่มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงาน กับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 380 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมุลส่วนบุคคล แบบสอบถามความพึงพอใจในงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้ .93 .95 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูล โดยกาีรแจกแจงความถี่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติไคสแควร์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 4.00 3.86 3.90 ตามลำดับ)
2. ประสบการณ์ในการทำงานมีความสัมพันธ์ กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
3. ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการ (r=.467) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
4. ความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ (r=.672) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ ความยึดมั่ยผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 คือ ความพึงพอใจในงานของพยาบาลประจำการ และประสบการณ์ในการทำงาน สามารถอธิบายความแปรปรวนของความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้ร้อยละ 46.3 (R ยกกำลังสอง = .463 )
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23332 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357242 THE WY125 ร716 2549 Thesis Main Library Thesis Corner Available ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลชุมชน / น้ำทิพย์ สวงนบุญญพงษฺ์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลชุมชน : จังหวัดฉะเชิงเทรา Material Type: printed text Authors: น้ำทิพย์ สวงนบุญญพงษฺ์, Author ; สายใจ พัวพันธ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.229-246 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.229-246Keywords: การขาดนัดการรักษา.ผู้ป่วยโรคจิตเภท.โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดฉะเชิงเทรา. Abstract: เป็นการศึกษาเชิงพรรณา เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดฉะเชิงเทรา กลุ่มตัวอย่างจำนวน 154 คน คือผู้ป่วยโรคจิตเภทที่มีอายุตั้งแต่ 20-60 ปี ที่มีประวัติขาดนัดการรักษา เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสัมภาษณ์บริบทการมารับการรักษา แบบสัมภาษณ์ความร่วมมือในการรักษาด้วยยา แบบสัมภาษณ์สนับสนุนทางสังคม และ แบบสัมภาษณ์ความรู้เรื่องโรคและการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยโรคจิตเภท
ผลการวิจัย พบว่า การขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภท ปีงบประมาณ 2555 มีการขาดนัดการรักษา 1-4 ครั้ง ขาดนัดการรักษา 1 ครั้ง (ร้อยละ 69.5) จากการทดสอบความสัมพันธ์ พบว่า อายุมีความสัมพันธ์ด้านลบกับการขาดนัดการรักษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สถานภาพามรส รายได้ บุคคลที่อาศัยอยู่ด้วยกัน ระยะเวลาที่ป่วย และเหตุผลของการขาดนัด 11 เหตุผล จาก 14 เหตุผล มีความสัมพันธ์ด้านบวกกับการขาดนัดการรักษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการศึกษาครั้งนี้ พยาบาลวิชาชีพประจำโรงพยาบาลระดับปฐมภูมิสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนปฏิบัติการพยาบาลเชิงรุก สำหรับการฟื้นฟูสุขภาพ สร้างเสริมสุขภาพ และสนับสนุนให้ผู้ป่วยจิตเภทได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ความสามารถในการพึ่งพาตนเองของผู้ป่วยจิตเภทก็จะมีความเป็นไปได้มากขึ้นLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26758 [article] ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลชุมชน : จังหวัดฉะเชิงเทรา [printed text] / น้ำทิพย์ สวงนบุญญพงษฺ์, Author ; สายใจ พัวพันธ์, Author . - 2017 . - p.229-246.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.229-246Keywords: การขาดนัดการรักษา.ผู้ป่วยโรคจิตเภท.โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดฉะเชิงเทรา. Abstract: เป็นการศึกษาเชิงพรรณา เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดฉะเชิงเทรา กลุ่มตัวอย่างจำนวน 154 คน คือผู้ป่วยโรคจิตเภทที่มีอายุตั้งแต่ 20-60 ปี ที่มีประวัติขาดนัดการรักษา เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสัมภาษณ์บริบทการมารับการรักษา แบบสัมภาษณ์ความร่วมมือในการรักษาด้วยยา แบบสัมภาษณ์สนับสนุนทางสังคม และ แบบสัมภาษณ์ความรู้เรื่องโรคและการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยโรคจิตเภท
ผลการวิจัย พบว่า การขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภท ปีงบประมาณ 2555 มีการขาดนัดการรักษา 1-4 ครั้ง ขาดนัดการรักษา 1 ครั้ง (ร้อยละ 69.5) จากการทดสอบความสัมพันธ์ พบว่า อายุมีความสัมพันธ์ด้านลบกับการขาดนัดการรักษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สถานภาพามรส รายได้ บุคคลที่อาศัยอยู่ด้วยกัน ระยะเวลาที่ป่วย และเหตุผลของการขาดนัด 11 เหตุผล จาก 14 เหตุผล มีความสัมพันธ์ด้านบวกกับการขาดนัดการรักษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการศึกษาครั้งนี้ พยาบาลวิชาชีพประจำโรงพยาบาลระดับปฐมภูมิสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนปฏิบัติการพยาบาลเชิงรุก สำหรับการฟื้นฟูสุขภาพ สร้างเสริมสุขภาพ และสนับสนุนให้ผู้ป่วยจิตเภทได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ความสามารถในการพึ่งพาตนเองของผู้ป่วยจิตเภทก็จะมีความเป็นไปได้มากขึ้นLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26758 สมรรถนะที่่พึงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ / อุไรวรรณ พรหมพร / สาขาวิชาการพยาบาล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - 2550
Title : สมรรถนะที่่พึงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ : สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในปีพุทธศักราช 2550-2559 Original title : Desired for copetencies for head nurses in regional medical center hospitals of the Ministry of Public Health by the year 2007-2016 Material Type: printed text Authors: อุไรวรรณ พรหมพร, Author Publisher: สาขาวิชาการพยาบาล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Publication Date: 2550 Pagination: ก-ฎ, 171 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม. (การบริหารการพยาบาล)).-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสธารณสุขKeywords: พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.
สมรรถนะ
พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาลประจำการ.Class number: WY18 อ979 2550 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสมรรถนะที่พีงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในปีพุทธศักราช 2550-2559
ดำเนินการวิจัยโดยใช้เทคนิคเดลฟาย สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาล จำนวน 24 ท่าน เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 3 รอบ รอบที่ 1 สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญโดยใช้แบบสัมภาษณ์ชนิดกึ่งโครงสร้าง นำข้อมูลที่ได้จาการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์และสังเคราะห์จัดเป็นหมวดหมู่ สร้างเป็นแบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญให้ความคิดเห็นรอบที่ 2 และรอบที่ 3 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณหาค่ามัธยฐาน ฐานนิม และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะที่พึงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทราวงสาธารณสุข ในปีพุทธศักราช 2550-2559 มีสมรรถนะ 10 สมรรถนะ ดังนี้
1. ด้านการพัฒนาและการประกันคุณภาพ
2. ด้านความเป็นผู้นำ
3. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
4. ด้านความเชี่ยวชาญเชิงวิชาชีพ
5. ด้านการบริหารจัดการ
6. ด้านการติดต่อสื่อสารและการสร้่างสัมพันธภาพ
7. ด้่านการจัดการทรัพยากรมนุษย์
8. ด้านการจัีดการเชิงกลยุทธ์
9. ด้่านการวิจัยและนวัตกรรม
10. ด้านการเงินและการตลาด และมีสมรรถนะย่อย 96 รายการ เป็นสมรรถนะที่มีความสำคัญระดับมากทีุ่สุด 85 รายการ และเป็นสมรรถนะที่มีความสำัคัญราะดับมาก 11 รายการCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23329 สมรรถนะที่่พึงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ = Desired for copetencies for head nurses in regional medical center hospitals of the Ministry of Public Health by the year 2007-2016 : สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในปีพุทธศักราช 2550-2559 [printed text] / อุไรวรรณ พรหมพร, Author . - [S.l.] : สาขาวิชาการพยาบาล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 . - ก-ฎ, 171 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม. (การบริหารการพยาบาล)).-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสธารณสุขKeywords: พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.
สมรรถนะ
พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาลประจำการ.Class number: WY18 อ979 2550 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสมรรถนะที่พีงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในปีพุทธศักราช 2550-2559
ดำเนินการวิจัยโดยใช้เทคนิคเดลฟาย สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาล จำนวน 24 ท่าน เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 3 รอบ รอบที่ 1 สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญโดยใช้แบบสัมภาษณ์ชนิดกึ่งโครงสร้าง นำข้อมูลที่ได้จาการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์และสังเคราะห์จัดเป็นหมวดหมู่ สร้างเป็นแบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญให้ความคิดเห็นรอบที่ 2 และรอบที่ 3 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณหาค่ามัธยฐาน ฐานนิม และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะที่พึงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทราวงสาธารณสุข ในปีพุทธศักราช 2550-2559 มีสมรรถนะ 10 สมรรถนะ ดังนี้
1. ด้านการพัฒนาและการประกันคุณภาพ
2. ด้านความเป็นผู้นำ
3. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
4. ด้านความเชี่ยวชาญเชิงวิชาชีพ
5. ด้านการบริหารจัดการ
6. ด้านการติดต่อสื่อสารและการสร้่างสัมพันธภาพ
7. ด้่านการจัดการทรัพยากรมนุษย์
8. ด้านการจัีดการเชิงกลยุทธ์
9. ด้่านการวิจัยและนวัตกรรม
10. ด้านการเงินและการตลาด และมีสมรรถนะย่อย 96 รายการ เป็นสมรรถนะที่มีความสำคัญระดับมากทีุ่สุด 85 รายการ และเป็นสมรรถนะที่มีความสำัคัญราะดับมาก 11 รายการCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23329 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357275 THE WY18 อ979 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available