From this page you can:
Home |
Search results
8 result(s) search for keyword(s) 'พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย. สมรรถนะ พยาบาลวิชาชีพ. พยาบาลประจำการ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
สมรรถนะที่่พึงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ / อุไรวรรณ พรหมพร / สาขาวิชาการพยาบาล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - 2550
Title : สมรรถนะที่่พึงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ : สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในปีพุทธศักราช 2550-2559 Original title : Desired for copetencies for head nurses in regional medical center hospitals of the Ministry of Public Health by the year 2007-2016 Material Type: printed text Authors: อุไรวรรณ พรหมพร, Author Publisher: สาขาวิชาการพยาบาล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Publication Date: 2550 Pagination: ก-ฎ, 171 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม. (การบริหารการพยาบาล)).-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสธารณสุขKeywords: พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.
สมรรถนะ
พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาลประจำการ.Class number: WY18 อ979 2550 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสมรรถนะที่พีงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในปีพุทธศักราช 2550-2559
ดำเนินการวิจัยโดยใช้เทคนิคเดลฟาย สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาล จำนวน 24 ท่าน เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 3 รอบ รอบที่ 1 สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญโดยใช้แบบสัมภาษณ์ชนิดกึ่งโครงสร้าง นำข้อมูลที่ได้จาการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์และสังเคราะห์จัดเป็นหมวดหมู่ สร้างเป็นแบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญให้ความคิดเห็นรอบที่ 2 และรอบที่ 3 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณหาค่ามัธยฐาน ฐานนิม และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะที่พึงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทราวงสาธารณสุข ในปีพุทธศักราช 2550-2559 มีสมรรถนะ 10 สมรรถนะ ดังนี้
1. ด้านการพัฒนาและการประกันคุณภาพ
2. ด้านความเป็นผู้นำ
3. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
4. ด้านความเชี่ยวชาญเชิงวิชาชีพ
5. ด้านการบริหารจัดการ
6. ด้านการติดต่อสื่อสารและการสร้่างสัมพันธภาพ
7. ด้่านการจัดการทรัพยากรมนุษย์
8. ด้านการจัีดการเชิงกลยุทธ์
9. ด้่านการวิจัยและนวัตกรรม
10. ด้านการเงินและการตลาด และมีสมรรถนะย่อย 96 รายการ เป็นสมรรถนะที่มีความสำคัญระดับมากทีุ่สุด 85 รายการ และเป็นสมรรถนะที่มีความสำัคัญราะดับมาก 11 รายการCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23329 สมรรถนะที่่พึงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ = Desired for copetencies for head nurses in regional medical center hospitals of the Ministry of Public Health by the year 2007-2016 : สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในปีพุทธศักราช 2550-2559 [printed text] / อุไรวรรณ พรหมพร, Author . - [S.l.] : สาขาวิชาการพยาบาล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 . - ก-ฎ, 171 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม. (การบริหารการพยาบาล)).-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสธารณสุขKeywords: พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.
สมรรถนะ
พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาลประจำการ.Class number: WY18 อ979 2550 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสมรรถนะที่พีงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในปีพุทธศักราช 2550-2559
ดำเนินการวิจัยโดยใช้เทคนิคเดลฟาย สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาล จำนวน 24 ท่าน เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 3 รอบ รอบที่ 1 สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญโดยใช้แบบสัมภาษณ์ชนิดกึ่งโครงสร้าง นำข้อมูลที่ได้จาการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์และสังเคราะห์จัดเป็นหมวดหมู่ สร้างเป็นแบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญให้ความคิดเห็นรอบที่ 2 และรอบที่ 3 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณหาค่ามัธยฐาน ฐานนิม และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะที่พึงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทราวงสาธารณสุข ในปีพุทธศักราช 2550-2559 มีสมรรถนะ 10 สมรรถนะ ดังนี้
1. ด้านการพัฒนาและการประกันคุณภาพ
2. ด้านความเป็นผู้นำ
3. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
4. ด้านความเชี่ยวชาญเชิงวิชาชีพ
5. ด้านการบริหารจัดการ
6. ด้านการติดต่อสื่อสารและการสร้่างสัมพันธภาพ
7. ด้่านการจัดการทรัพยากรมนุษย์
8. ด้านการจัีดการเชิงกลยุทธ์
9. ด้่านการวิจัยและนวัตกรรม
10. ด้านการเงินและการตลาด และมีสมรรถนะย่อย 96 รายการ เป็นสมรรถนะที่มีความสำคัญระดับมากทีุ่สุด 85 รายการ และเป็นสมรรถนะที่มีความสำัคัญราะดับมาก 11 รายการCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23329 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357275 THE WY18 อ979 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available การพัฒนาแบบประเมินสมรรถภาพพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง / อรอุมา ศิริวัฒนา in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Vol.27 No.2 (May-Aug) 2015 ([03/16/2016])
[article]
Title : การพัฒนาแบบประเมินสมรรถภาพพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง : สังกัดกองทัพบก Original title : The development of competency assessment scale for staff nurse in 30-90 bed hospitals under the jurisdiction of the Royal Thai Army Material Type: printed text Authors: อรอุมา ศิริวัฒนา, Author ; กัญญดา ประจุศิลป, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.1-10 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Vol.27 No.2 (May-Aug) 2015 [03/16/2016] . - p.1-10Keywords: การพัฒนาแบบประเมินประสิทธิภาพ.พยาบาลประจำการ.โรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง.โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก. Curricular : BNS Link for e-copy: http://tci-thaijo.org/index.php/CUNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25655 [article] การพัฒนาแบบประเมินสมรรถภาพพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง = The development of competency assessment scale for staff nurse in 30-90 bed hospitals under the jurisdiction of the Royal Thai Army : สังกัดกองทัพบก [printed text] / อรอุมา ศิริวัฒนา, Author ; กัญญดา ประจุศิลป, Author . - 2016 . - p.1-10.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Vol.27 No.2 (May-Aug) 2015 [03/16/2016] . - p.1-10Keywords: การพัฒนาแบบประเมินประสิทธิภาพ.พยาบาลประจำการ.โรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง.โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก. Curricular : BNS Link for e-copy: http://tci-thaijo.org/index.php/CUNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25655 ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 / อโนชา ทองกองทุน / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 Material Type: printed text Authors: อโนชา ทองกองทุน, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก- ฌ, 184 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-170-062-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]เทคนิคเดลฟายKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
พยาบาลประจำการ.
การทำงานเป็นทีม.Class number: WY18 อ985 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เพื่อ ศึกษาขอบเขตการปฏิบัติงานของหัีวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นที่ 2 ศึกษาขอบเขตการปฎบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 โดยใช้เทคนิด Ethnographic Future Research (EDFR) ทำการคัดเลือกขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป และเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 19 ท่าน (Md มากกว่า 3.50, IR น้อย 1.50) ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 99 วัน
ผลการวิจัยพบว่า ขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 ประกอบด้วย ขอบเขตการปฏิบัติงาน 6 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการบริหารทั่วไป ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบาย และการวางแผนในระดับหน่วยงาน และระดับโรงพยาบาล ตลอดจนการบริหารจัดการในหน่วยงานเกี่ยวกับงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ รวมถึงอาคาร สถานที่
2. ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ บุคลากรพยาบาลในหน่วยงาน การพัฒนาบุคลากร รวมทั้งการรักษาบุคลากรที่มีคุณค่าเอาไว้
3. ด้านการบริการและการพัฒนาคุณภาพการบริการ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน ทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพบริการ
4. ด้านวิชาการและการวิจัย ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้่ด้วยตนเองของบุคลากรพยาบาล และการพัฒนาการวิจัย
5. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ด้านการพัฒนาวิชาชีพ ครอบคุลมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติการพยาบาลเชิงวิชาชีพ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23331 ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 [printed text] / อโนชา ทองกองทุน, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก- ฌ, 184 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-170-062-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]เทคนิคเดลฟายKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
พยาบาลประจำการ.
การทำงานเป็นทีม.Class number: WY18 อ985 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เพื่อ ศึกษาขอบเขตการปฏิบัติงานของหัีวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นที่ 2 ศึกษาขอบเขตการปฎบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 โดยใช้เทคนิด Ethnographic Future Research (EDFR) ทำการคัดเลือกขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป และเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 19 ท่าน (Md มากกว่า 3.50, IR น้อย 1.50) ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 99 วัน
ผลการวิจัยพบว่า ขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 ประกอบด้วย ขอบเขตการปฏิบัติงาน 6 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการบริหารทั่วไป ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบาย และการวางแผนในระดับหน่วยงาน และระดับโรงพยาบาล ตลอดจนการบริหารจัดการในหน่วยงานเกี่ยวกับงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ รวมถึงอาคาร สถานที่
2. ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ บุคลากรพยาบาลในหน่วยงาน การพัฒนาบุคลากร รวมทั้งการรักษาบุคลากรที่มีคุณค่าเอาไว้
3. ด้านการบริการและการพัฒนาคุณภาพการบริการ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน ทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพบริการ
4. ด้านวิชาการและการวิจัย ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้่ด้วยตนเองของบุคลากรพยาบาล และการพัฒนาการวิจัย
5. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ด้านการพัฒนาวิชาชีพ ครอบคุลมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติการพยาบาลเชิงวิชาชีพ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23331 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357267 THE WY18 อ985 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 / รำไพ ปรียากร / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2552
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 Original title : Relationships between total qualty mamagement ability of head nurse, workaholism, and units' productivity as perceived by staff nurses, general hospitals region 11 Material Type: printed text Authors: รำไพ ปรียากร, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2552 Pagination: ก-ญ, 119 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริหาร.
การบริการ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WX150 ร729 2552 Abstract: งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 จำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มแบบ 2 ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามภาวะการติดงาน และแบบสอบถามผลผลิตของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและคำนวณค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .94, .89 และ.84 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลผลิตของหอผู้ป่วย ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 อยู่ในระดับสูง (X-bar = 3.80, SD = .43, X-bar = 3.54, SD = .61 และ X-bar = 3.87, SD = .48 ตามลำดับ) 2. ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลผลิตของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .47 และ r = .57 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23223 ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 = Relationships between total qualty mamagement ability of head nurse, workaholism, and units' productivity as perceived by staff nurses, general hospitals region 11 [printed text] / รำไพ ปรียากร, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - ก-ญ, 119 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริหาร.
การบริการ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WX150 ร729 2552 Abstract: งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 จำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มแบบ 2 ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามภาวะการติดงาน และแบบสอบถามผลผลิตของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและคำนวณค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .94, .89 และ.84 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลผลิตของหอผู้ป่วย ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 อยู่ในระดับสูง (X-bar = 3.80, SD = .43, X-bar = 3.54, SD = .61 และ X-bar = 3.87, SD = .48 ตามลำดับ) 2. ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลผลิตของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .47 และ r = .57 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23223 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355147 WX150 ร729 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงาน กับความเข็มแข็ง / พัชราพร แจ่มแจ้ง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงาน กับความเข็มแข็ง : ในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน Original title : Relationships between personality social support job characteristics and sense of coherence of staff nurses community hosptials Material Type: printed text Authors: พัชราพร แจ่มแจ้ง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ญ, 169 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-344-6 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การบริหารพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: บุคลิกภาพ.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลชุมชนClass number: WY18พ612 2546 Abstract: งานวิจัยนี้เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงานกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน และศึกษาตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จำนวน 393 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดบุคลิกภาพเปิดเผย ประนีประนอม อารมณ์มั่นคง ควบคุมตนเอง และบุคลิกภาพเิปิดรับประสบการณ์ แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา และเพื่อนร่วมงานจ ลักษณะงาน และความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงโดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .78 .73 .77 .79 .78 .94 .93 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัีมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณแบบขั้ยตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย คือ 3.87
2. บุคลิกภาพเปิดเผย บุคลิกภาพประนีประนอม บุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิิกภาพเปิดรับประสบการณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประำจำการอย่างมีนัยสำคัยทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.353 .305 .332 .398 และ .412 ตามลำดับ)
3. การสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา การสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.352 และ .474 ตามลำดับ)
4. ลักษณะงานมีความสัีมพันธ์ทางระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.662)
5. ตัวแปรพยากรณ์ ได้แก่ ลักษณะงาน บุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ และการสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน สามารถร่วมกันพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการได้อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของความเข็มแข็งในการมองโลกได้ร้อยละ 50.08 (R ยกกำลังสอง = .508) และสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน.Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23330 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงาน กับความเข็มแข็ง = Relationships between personality social support job characteristics and sense of coherence of staff nurses community hosptials : ในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน [printed text] / พัชราพร แจ่มแจ้ง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ญ, 169 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-344-6 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การบริหารพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: บุคลิกภาพ.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลชุมชนClass number: WY18พ612 2546 Abstract: งานวิจัยนี้เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงานกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน และศึกษาตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จำนวน 393 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดบุคลิกภาพเปิดเผย ประนีประนอม อารมณ์มั่นคง ควบคุมตนเอง และบุคลิกภาพเิปิดรับประสบการณ์ แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา และเพื่อนร่วมงานจ ลักษณะงาน และความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงโดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .78 .73 .77 .79 .78 .94 .93 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัีมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณแบบขั้ยตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย คือ 3.87
2. บุคลิกภาพเปิดเผย บุคลิกภาพประนีประนอม บุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิิกภาพเปิดรับประสบการณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประำจำการอย่างมีนัยสำคัยทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.353 .305 .332 .398 และ .412 ตามลำดับ)
3. การสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา การสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.352 และ .474 ตามลำดับ)
4. ลักษณะงานมีความสัีมพันธ์ทางระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.662)
5. ตัวแปรพยากรณ์ ได้แก่ ลักษณะงาน บุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ และการสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน สามารถร่วมกันพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการได้อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของความเข็มแข็งในการมองโลกได้ร้อยละ 50.08 (R ยกกำลังสอง = .508) และสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน.Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23330 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357259 THE WY18พ612 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย / ปราณี มีหาญพงษ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย : พฤติกรรมการเป็นสมาชิกองค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป Original title : Relationships between transformational leadership of head nurses organizational citizenship behavior and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses general hospital Material Type: printed text Authors: ปราณี มีหาญพงษ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ฎ, 126 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-935-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์การ
[LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารองค์การ.
ภาวะผู้นำ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ป572 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย พฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปจำนวน 389 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .96, .91 และ .93 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป อยู่ในระดับสูง ([Mean] = 4.00, S.D. = .40, [Mean] = 3.84, S.D. = .56 และ [Mean] = 4.00, S.D. = .33 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .57 และ .52 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23131 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย = Relationships between transformational leadership of head nurses organizational citizenship behavior and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses general hospital : พฤติกรรมการเป็นสมาชิกองค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป [printed text] / ปราณี มีหาญพงษ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ฎ, 126 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-935-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์การ
[LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารองค์การ.
ภาวะผู้นำ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ป572 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย พฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปจำนวน 389 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .96, .91 และ .93 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป อยู่ในระดับสูง ([Mean] = 4.00, S.D. = .40, [Mean] = 3.84, S.D. = .56 และ [Mean] = 4.00, S.D. = .33 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .57 และ .52 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23131 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354470 WY18 ป572 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล / วารี พูลทรัพย์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล : ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร Original title : Rekationships between work gropu characteristics and nursing team effectiveness as preceived by staff nurses governmental hospitals Bangkok metropolis Material Type: printed text Authors: วารี พูลทรัพย์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก-ญ,169 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-170-460-7 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาลเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- ไทย -- ภาครัฐKeywords: การพยาบาล.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลรัฐ.
ประสิทธิผล.
ทีมการพยาบาล.Class number: WY18 ว727 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เป็นวิจัยเชิงความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทีมงานกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ตลอดจนศึกษาตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ ทีมการพยาบาล ซึ่งไ้ด้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 184 ทีม มีจำนวนรวม 920 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามลักษณะของทีมงาน และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรง และความเที่ยงเท่ากับ .094 และ .91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน สถิติวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณ
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.75
2 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กัีบประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง และมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.832) โดยมีความสัมพันธ์รายด้านดังนี้ คือ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน การพึ่งพาช่วยเหลือกัน องค์ประกอบของทีม และบริบทเชิงบริหาร (r= .800 .731 .689 .665 และ .657 ตามลำดับ
3. ตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร ได้แก่ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน บริบทเชิงบริหาร การพึ่งพาช่วยเหลือกันของสมาชิก และองค์ประกอบของทีม ซึ่งสามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาลได้ร้อยละ 74.2 (R ยกกำลังสอง = .743 p < .05) โดยมีสมการพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23327 ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล = Rekationships between work gropu characteristics and nursing team effectiveness as preceived by staff nurses governmental hospitals Bangkok metropolis : ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร [printed text] / วารี พูลทรัพย์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก-ญ,169 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-170-460-7 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาลเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- ไทย -- ภาครัฐKeywords: การพยาบาล.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลรัฐ.
ประสิทธิผล.
ทีมการพยาบาล.Class number: WY18 ว727 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เป็นวิจัยเชิงความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทีมงานกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ตลอดจนศึกษาตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ ทีมการพยาบาล ซึ่งไ้ด้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 184 ทีม มีจำนวนรวม 920 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามลักษณะของทีมงาน และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรง และความเที่ยงเท่ากับ .094 และ .91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน สถิติวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณ
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.75
2 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กัีบประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง และมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.832) โดยมีความสัมพันธ์รายด้านดังนี้ คือ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน การพึ่งพาช่วยเหลือกัน องค์ประกอบของทีม และบริบทเชิงบริหาร (r= .800 .731 .689 .665 และ .657 ตามลำดับ
3. ตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร ได้แก่ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน บริบทเชิงบริหาร การพึ่งพาช่วยเหลือกันของสมาชิก และองค์ประกอบของทีม ซึ่งสามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาลได้ร้อยละ 74.2 (R ยกกำลังสอง = .743 p < .05) โดยมีสมการพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23327 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357309 THE WY18 ว727 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานกับความยึดมั่นผูกพัน / รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2549
Title : ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานกับความยึดมั่นผูกพัน : ต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ Original title : Relationships between personal factors trust in head nurses job satisfaction and organization commitment regional hospital and medical centers Material Type: printed text Authors: รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2549 Pagination: ก-ฎ, 176 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: พยาบาลประจำการ.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ความผูกพันต่อองค์การ.Class number: WY125 ร716 2549 Abstract: การวิจัยครั้งนี้่มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงาน กับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 380 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมุลส่วนบุคคล แบบสอบถามความพึงพอใจในงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้ .93 .95 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูล โดยกาีรแจกแจงความถี่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติไคสแควร์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 4.00 3.86 3.90 ตามลำดับ)
2. ประสบการณ์ในการทำงานมีความสัมพันธ์ กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
3. ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการ (r=.467) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
4. ความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ (r=.672) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ ความยึดมั่ยผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 คือ ความพึงพอใจในงานของพยาบาลประจำการ และประสบการณ์ในการทำงาน สามารถอธิบายความแปรปรวนของความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้ร้อยละ 46.3 (R ยกกำลังสอง = .463 )
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23332 ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานกับความยึดมั่นผูกพัน = Relationships between personal factors trust in head nurses job satisfaction and organization commitment regional hospital and medical centers : ต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ [printed text] / รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 . - ก-ฎ, 176 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: พยาบาลประจำการ.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ความผูกพันต่อองค์การ.Class number: WY125 ร716 2549 Abstract: การวิจัยครั้งนี้่มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงาน กับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 380 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมุลส่วนบุคคล แบบสอบถามความพึงพอใจในงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้ .93 .95 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูล โดยกาีรแจกแจงความถี่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติไคสแควร์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 4.00 3.86 3.90 ตามลำดับ)
2. ประสบการณ์ในการทำงานมีความสัมพันธ์ กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
3. ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการ (r=.467) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
4. ความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ (r=.672) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ ความยึดมั่ยผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 คือ ความพึงพอใจในงานของพยาบาลประจำการ และประสบการณ์ในการทำงาน สามารถอธิบายความแปรปรวนของความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้ร้อยละ 46.3 (R ยกกำลังสอง = .463 )
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23332 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357242 THE WY125 ร716 2549 Thesis Main Library Thesis Corner Available