From this page you can:
Home |
Search results
19 result(s) search for keyword(s) 'พยาบาลประจำการ. หัวหน้าหอผู้ป่วย. ความผูกพันต่อองค์การ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานกับความยึดมั่นผูกพัน / รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2549
Title : ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานกับความยึดมั่นผูกพัน : ต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ Original title : Relationships between personal factors trust in head nurses job satisfaction and organization commitment regional hospital and medical centers Material Type: printed text Authors: รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2549 Pagination: ก-ฎ, 176 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: พยาบาลประจำการ.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ความผูกพันต่อองค์การ.Class number: WY125 ร716 2549 Abstract: การวิจัยครั้งนี้่มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงาน กับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 380 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมุลส่วนบุคคล แบบสอบถามความพึงพอใจในงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้ .93 .95 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูล โดยกาีรแจกแจงความถี่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติไคสแควร์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 4.00 3.86 3.90 ตามลำดับ)
2. ประสบการณ์ในการทำงานมีความสัมพันธ์ กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
3. ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการ (r=.467) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
4. ความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ (r=.672) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ ความยึดมั่ยผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 คือ ความพึงพอใจในงานของพยาบาลประจำการ และประสบการณ์ในการทำงาน สามารถอธิบายความแปรปรวนของความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้ร้อยละ 46.3 (R ยกกำลังสอง = .463 )
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23332 ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานกับความยึดมั่นผูกพัน = Relationships between personal factors trust in head nurses job satisfaction and organization commitment regional hospital and medical centers : ต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ [printed text] / รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 . - ก-ฎ, 176 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: พยาบาลประจำการ.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ความผูกพันต่อองค์การ.Class number: WY125 ร716 2549 Abstract: การวิจัยครั้งนี้่มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงาน กับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 380 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมุลส่วนบุคคล แบบสอบถามความพึงพอใจในงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้ .93 .95 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูล โดยกาีรแจกแจงความถี่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติไคสแควร์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 4.00 3.86 3.90 ตามลำดับ)
2. ประสบการณ์ในการทำงานมีความสัมพันธ์ กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
3. ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการ (r=.467) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
4. ความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ (r=.672) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ ความยึดมั่ยผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 คือ ความพึงพอใจในงานของพยาบาลประจำการ และประสบการณ์ในการทำงาน สามารถอธิบายความแปรปรวนของความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้ร้อยละ 46.3 (R ยกกำลังสอง = .463 )
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23332 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357242 THE WY125 ร716 2549 Thesis Main Library Thesis Corner Available ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 / อโนชา ทองกองทุน / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 Material Type: printed text Authors: อโนชา ทองกองทุน, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก- ฌ, 184 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-170-062-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]เทคนิคเดลฟายKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
พยาบาลประจำการ.
การทำงานเป็นทีม.Class number: WY18 อ985 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เพื่อ ศึกษาขอบเขตการปฏิบัติงานของหัีวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นที่ 2 ศึกษาขอบเขตการปฎบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 โดยใช้เทคนิด Ethnographic Future Research (EDFR) ทำการคัดเลือกขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป และเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 19 ท่าน (Md มากกว่า 3.50, IR น้อย 1.50) ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 99 วัน
ผลการวิจัยพบว่า ขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 ประกอบด้วย ขอบเขตการปฏิบัติงาน 6 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการบริหารทั่วไป ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบาย และการวางแผนในระดับหน่วยงาน และระดับโรงพยาบาล ตลอดจนการบริหารจัดการในหน่วยงานเกี่ยวกับงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ รวมถึงอาคาร สถานที่
2. ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ บุคลากรพยาบาลในหน่วยงาน การพัฒนาบุคลากร รวมทั้งการรักษาบุคลากรที่มีคุณค่าเอาไว้
3. ด้านการบริการและการพัฒนาคุณภาพการบริการ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน ทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพบริการ
4. ด้านวิชาการและการวิจัย ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้่ด้วยตนเองของบุคลากรพยาบาล และการพัฒนาการวิจัย
5. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ด้านการพัฒนาวิชาชีพ ครอบคุลมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติการพยาบาลเชิงวิชาชีพ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23331 ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 [printed text] / อโนชา ทองกองทุน, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก- ฌ, 184 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-170-062-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]เทคนิคเดลฟายKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
พยาบาลประจำการ.
การทำงานเป็นทีม.Class number: WY18 อ985 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เพื่อ ศึกษาขอบเขตการปฏิบัติงานของหัีวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นที่ 2 ศึกษาขอบเขตการปฎบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 โดยใช้เทคนิด Ethnographic Future Research (EDFR) ทำการคัดเลือกขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป และเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 19 ท่าน (Md มากกว่า 3.50, IR น้อย 1.50) ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 99 วัน
ผลการวิจัยพบว่า ขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 ประกอบด้วย ขอบเขตการปฏิบัติงาน 6 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการบริหารทั่วไป ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบาย และการวางแผนในระดับหน่วยงาน และระดับโรงพยาบาล ตลอดจนการบริหารจัดการในหน่วยงานเกี่ยวกับงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ รวมถึงอาคาร สถานที่
2. ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ บุคลากรพยาบาลในหน่วยงาน การพัฒนาบุคลากร รวมทั้งการรักษาบุคลากรที่มีคุณค่าเอาไว้
3. ด้านการบริการและการพัฒนาคุณภาพการบริการ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน ทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพบริการ
4. ด้านวิชาการและการวิจัย ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้่ด้วยตนเองของบุคลากรพยาบาล และการพัฒนาการวิจัย
5. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ด้านการพัฒนาวิชาชีพ ครอบคุลมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติการพยาบาลเชิงวิชาชีพ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23331 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357267 THE WY18 อ985 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล / ศักดิ์สยาม จิตวิสุทธิ์ศรี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Organization Commitment of Police Officers in the Investigation Division Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: ศักดิ์สยาม จิตวิสุทธิ์ศรี, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 47 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08
IS [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจนครบาล -- ข้าราชการ
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ -- พนักงาน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความผูกพันต่อองค์การ
ข้าราชการตำรวจ
กองบังคับการสืบสวนสอบสวน
กองบัญชาการตำรวจนครบาลAbstract: การศึกษาเรื่อง ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล ในด้านความเชื่อมั่นและการยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ และด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ระดับชั้นยศ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล จำนวน 155 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 31-40 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอายุราชการ 16 ปีขึ้นไป มีระดับชั้นยศ ร.ต.ต.-ร.ต.อ. และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 30,001 บาทขึ้นไป โดยวิเคราะห์ข้อมูลความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีความผูกพันอันดับที่หนึ่งคือ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ มีระดับความผูกพันมาก อันดับที่สองคือ ด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ มีระดับความผูกพันมาก และอันดับสุดท้ายคือ ด้านความเชื่อมั่นและยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ มีระดับความผูกพันปานกลาง ตามลำดับRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26497 SIU IS-T. ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Organization Commitment of Police Officers in the Investigation Division Metropolitan Police Bureau [printed text] / ศักดิ์สยาม จิตวิสุทธิ์ศรี, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 47 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08
IS [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจนครบาล -- ข้าราชการ
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ -- พนักงาน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความผูกพันต่อองค์การ
ข้าราชการตำรวจ
กองบังคับการสืบสวนสอบสวน
กองบัญชาการตำรวจนครบาลAbstract: การศึกษาเรื่อง ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล ในด้านความเชื่อมั่นและการยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ และด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ระดับชั้นยศ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล จำนวน 155 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 31-40 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอายุราชการ 16 ปีขึ้นไป มีระดับชั้นยศ ร.ต.ต.-ร.ต.อ. และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 30,001 บาทขึ้นไป โดยวิเคราะห์ข้อมูลความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีความผูกพันอันดับที่หนึ่งคือ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ มีระดับความผูกพันมาก อันดับที่สองคือ ด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ มีระดับความผูกพันมาก และอันดับสุดท้ายคือ ด้านความเชื่อมั่นและยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ มีระดับความผูกพันปานกลาง ตามลำดับRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26497 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591618 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591626 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available การจัดการความขัดแย้งในการทำงาน : ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย / สุมาลี ยุทธวรวิทย์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : การจัดการความขัดแย้งในการทำงาน : ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย Original title : Conflict management at work : experiences of head nurses Material Type: printed text Authors: สุมาลี ยุทธวรวิทย์, (2507-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ญ, 143 แผ่น Layout: ตารงประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย. Class number: WY160 ส856 2550 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดเชิงปรากฎการณ์วิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายและประสบการณ์การจัดการความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยตั้งแต่ 3 ปี ขึ้นไป และมีประสบการณ์ในการจัดการความขัดแย้ง ในโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์แห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 15 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi (1978) ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าหอผู้ป่วยได้ให้ความหมายของการจัดการความขัดแย้งในการทำงานเป็น 2 ประเด็นคือ การทำให้เรื่องยุติลง และการลดระดับความรุนแรงของปัญหาให้สามารถดำเนินงานต่อไปได้ ส่วนประสบการณ์การจัดการความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบว่า สภาพการณ์ของความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยเกิดขึ้นระหว่างพยาบาลกับแพทย์ พยาบาลกับพยาบาลด้วยกัน พยาบาลกับผู้ช่วยเหลือคนไข้ และพยาบาลกับผู้ป่วยและญาติ ซึ่งความขัดแย้งระหว่างพยาบาลกับพยาบาลมีเกิดขึ้นมากที่สุด สาเหตุของความขัดแย้ง คือ ความคาดหวังในบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกัน การสื่อสารไม่มีประสิทธิภาพ การมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์แตกต่างกัน
ผลประโยชน์ไม่ลงตัว ตลอดจนความแตกต่างของคุณลักษณะส่วนบุคคล ซึ่งหัวหน้าหอผู้ป่วยสามารถรับรู้ความขัดแย้งได้จากการเดินตรวจเยี่ยมซักถามจากผู้รับบริการ คำบอกเล่าของบุคลากรในทีมการพยาบาลและการสังเกตพฤติกรรม ตลอดจนบรรยากาศในการทำงานที่ไม่เป็นมิตร โดยหัวหน้าหอผู้ป่วยได้เลือกใช้วิธีการจัดการความขัดแย้งหลากหลายวิธี ประกอบด้วยการประนีประนอมโดยการเจรจาไกล่เกลี่ย การแก้ไขปัญหาโดยใช้ทุกคนมีส่วนร่วม การโน้มน้าวให้เกิดการยอมรับ การขอร้องให้ยอมเพื่อประโยชน์ของหน่วยงาน รวมทั้งการหลีกเลี่ยงการปะทะความขัดแย้ง นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่าจากประสบการณ์สอนให้หัวหน้าหอผู้ป่วยเรียนรู้ว่า ควรป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้งจะดีกว่า โดยการจัดระบบงานและแนวทางปฏิบัติงานให้ชัดเจน มีการติดต่อสื่อสารหลายช่องทางมีการสร้างบรรยากาศในที่ทำงานเชิงสร้างสรรค์ การสร้างความน่าเชื่อถือให้ตนเอง และฝึกอบรมเพิ่มทักษะในการจัดการความขัดแย้ง ข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้ สามารถนำไปเป็นแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์ในการป้องกันและจัดการความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่เข้ารับตำแหน่งใหม่สามารถประยุกต์ใช้ในการจัดการความขัดแย้งในการทำงานได้อย่างเหมาะสม และผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาลให้มีทักษะเกี่ยวกับการจัดการความขัดแย้ง อันจะส่งผลต่อประสิทธิภาพของงาน ทำให้หน่วยงานมีความก้าวหน้ารวมทั้งผู้รับบริการได้รับบริการที่ดีมีคุณภาพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23228 การจัดการความขัดแย้งในการทำงาน : ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย = Conflict management at work : experiences of head nurses [printed text] / สุมาลี ยุทธวรวิทย์, (2507-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ญ, 143 แผ่น : ตารงประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย. Class number: WY160 ส856 2550 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดเชิงปรากฎการณ์วิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายและประสบการณ์การจัดการความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยตั้งแต่ 3 ปี ขึ้นไป และมีประสบการณ์ในการจัดการความขัดแย้ง ในโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์แห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 15 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi (1978) ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าหอผู้ป่วยได้ให้ความหมายของการจัดการความขัดแย้งในการทำงานเป็น 2 ประเด็นคือ การทำให้เรื่องยุติลง และการลดระดับความรุนแรงของปัญหาให้สามารถดำเนินงานต่อไปได้ ส่วนประสบการณ์การจัดการความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบว่า สภาพการณ์ของความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยเกิดขึ้นระหว่างพยาบาลกับแพทย์ พยาบาลกับพยาบาลด้วยกัน พยาบาลกับผู้ช่วยเหลือคนไข้ และพยาบาลกับผู้ป่วยและญาติ ซึ่งความขัดแย้งระหว่างพยาบาลกับพยาบาลมีเกิดขึ้นมากที่สุด สาเหตุของความขัดแย้ง คือ ความคาดหวังในบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกัน การสื่อสารไม่มีประสิทธิภาพ การมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์แตกต่างกัน
ผลประโยชน์ไม่ลงตัว ตลอดจนความแตกต่างของคุณลักษณะส่วนบุคคล ซึ่งหัวหน้าหอผู้ป่วยสามารถรับรู้ความขัดแย้งได้จากการเดินตรวจเยี่ยมซักถามจากผู้รับบริการ คำบอกเล่าของบุคลากรในทีมการพยาบาลและการสังเกตพฤติกรรม ตลอดจนบรรยากาศในการทำงานที่ไม่เป็นมิตร โดยหัวหน้าหอผู้ป่วยได้เลือกใช้วิธีการจัดการความขัดแย้งหลากหลายวิธี ประกอบด้วยการประนีประนอมโดยการเจรจาไกล่เกลี่ย การแก้ไขปัญหาโดยใช้ทุกคนมีส่วนร่วม การโน้มน้าวให้เกิดการยอมรับ การขอร้องให้ยอมเพื่อประโยชน์ของหน่วยงาน รวมทั้งการหลีกเลี่ยงการปะทะความขัดแย้ง นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่าจากประสบการณ์สอนให้หัวหน้าหอผู้ป่วยเรียนรู้ว่า ควรป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้งจะดีกว่า โดยการจัดระบบงานและแนวทางปฏิบัติงานให้ชัดเจน มีการติดต่อสื่อสารหลายช่องทางมีการสร้างบรรยากาศในที่ทำงานเชิงสร้างสรรค์ การสร้างความน่าเชื่อถือให้ตนเอง และฝึกอบรมเพิ่มทักษะในการจัดการความขัดแย้ง ข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้ สามารถนำไปเป็นแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์ในการป้องกันและจัดการความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่เข้ารับตำแหน่งใหม่สามารถประยุกต์ใช้ในการจัดการความขัดแย้งในการทำงานได้อย่างเหมาะสม และผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาลให้มีทักษะเกี่ยวกับการจัดการความขัดแย้ง อันจะส่งผลต่อประสิทธิภาพของงาน ทำให้หน่วยงานมีความก้าวหน้ารวมทั้งผู้รับบริการได้รับบริการที่ดีมีคุณภาพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23228 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355063 WY160 ส856 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลชุมชน / ชูชีพ มีศิริ, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลชุมชน Original title : Self development of head nurses, community hospitals Material Type: printed text Authors: ชูชีพ มีศิริ, (2508-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฌ, 141 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-174-370-6 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: การพัฒนาตนเอง.
โรงพยาบาลชุมชน.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ช212 2546 Abstract: ศึกษาความหมายและประสบการณ์การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลชุมชนสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแห่งหนึ่งในเขตภาคกลาง ที่มีประสบการณ์การทำงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 19 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าหอผู้ป่วยให้ความหมายของการพัฒนาตนเองว่า เป็นการปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้นในด้านความรู้และทักษะในการบริหารจัดการ ควบคู่ไปกับมีความรู้ความชำนาญในการปฏิบัติการพยาบาล เพื่อให้ได้รับการยอมรับจากผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา อีกประการคือเป็นความปรารถนาที่จะเรียนรู้อยู่เสมอ ทั้งนี้เพราะวิทยาการต่างๆ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ความปรารถนาภายในตนเป็นแรงจูงใจให้ต้องพัฒนาตนเอง เพื่อให้สามารถปรับตัวตอบสนองต่อระบบบริการสุขภาพ ส่วนประสบการณ์การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบว่า การพัฒนาจะเริ่มจากการมีแรงผลักดันหลังได้รับตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย ซึ่งประกอบไปด้วยความรู้สึกรับผิดชอบต่อตำแหน่งตามบทบาทหน้าที่ ความรู้สึกที่ต้องรู้มากกว่าผู้ใต้บังคับบัญชา ความต้องการเป็นแบบอย่างพยาบาลที่ดีในด้านการปฏิบัติการพยาบาล การต้องทำหน้าที่สอนและนิเทศบุคลากรในทีมสุขภาพ ประการสำคัญคือ ความรู้สึกขาดความพร้อมที่จะทำหน้าที่เป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย เป็นแรงผลักดันที่ทำให้มีความพยายามที่จะพัฒนาตนเอง ทั้งนี้โดยได้รับการสนับสนุนการพัฒนาตนเองจากหน่วยงานต้นสังกัดและครอบครัว นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่า วิธีการพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยประกอบไปด้วย การพัฒนาด้านความรู้โดยใช้วิธีการแสวงหาความรู้ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ การพัฒนาด้านจิตใจโดยการสำรวจตนเอง การควบคุมอารมณ์และการลดความเครียด และการพัฒนาร่างกายโดยการบริหารร่างกาย การดูแลสุขภาพและการเลือกบริโภคอาหาร ประการสำคัญผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยรู้สึกว่า ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานและผู้บังคับบัญชาในการพัฒนาตนเองน้อย ดังนั้นเพื่อให้หัวหน้าหอผู้ป่วยมีความมั่นใจและมีทักษะในการบริหารจัดการ จึงควรมีการเตรียมความพร้อมให้ก่อนได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23125 การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลชุมชน = Self development of head nurses, community hospitals [printed text] / ชูชีพ มีศิริ, (2508-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฌ, 141 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-174-370-6 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: การพัฒนาตนเอง.
โรงพยาบาลชุมชน.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ช212 2546 Abstract: ศึกษาความหมายและประสบการณ์การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลชุมชนสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแห่งหนึ่งในเขตภาคกลาง ที่มีประสบการณ์การทำงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 19 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าหอผู้ป่วยให้ความหมายของการพัฒนาตนเองว่า เป็นการปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้นในด้านความรู้และทักษะในการบริหารจัดการ ควบคู่ไปกับมีความรู้ความชำนาญในการปฏิบัติการพยาบาล เพื่อให้ได้รับการยอมรับจากผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา อีกประการคือเป็นความปรารถนาที่จะเรียนรู้อยู่เสมอ ทั้งนี้เพราะวิทยาการต่างๆ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ความปรารถนาภายในตนเป็นแรงจูงใจให้ต้องพัฒนาตนเอง เพื่อให้สามารถปรับตัวตอบสนองต่อระบบบริการสุขภาพ ส่วนประสบการณ์การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบว่า การพัฒนาจะเริ่มจากการมีแรงผลักดันหลังได้รับตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย ซึ่งประกอบไปด้วยความรู้สึกรับผิดชอบต่อตำแหน่งตามบทบาทหน้าที่ ความรู้สึกที่ต้องรู้มากกว่าผู้ใต้บังคับบัญชา ความต้องการเป็นแบบอย่างพยาบาลที่ดีในด้านการปฏิบัติการพยาบาล การต้องทำหน้าที่สอนและนิเทศบุคลากรในทีมสุขภาพ ประการสำคัญคือ ความรู้สึกขาดความพร้อมที่จะทำหน้าที่เป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย เป็นแรงผลักดันที่ทำให้มีความพยายามที่จะพัฒนาตนเอง ทั้งนี้โดยได้รับการสนับสนุนการพัฒนาตนเองจากหน่วยงานต้นสังกัดและครอบครัว นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่า วิธีการพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยประกอบไปด้วย การพัฒนาด้านความรู้โดยใช้วิธีการแสวงหาความรู้ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ การพัฒนาด้านจิตใจโดยการสำรวจตนเอง การควบคุมอารมณ์และการลดความเครียด และการพัฒนาร่างกายโดยการบริหารร่างกาย การดูแลสุขภาพและการเลือกบริโภคอาหาร ประการสำคัญผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยรู้สึกว่า ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานและผู้บังคับบัญชาในการพัฒนาตนเองน้อย ดังนั้นเพื่อให้หัวหน้าหอผู้ป่วยมีความมั่นใจและมีทักษะในการบริหารจัดการ จึงควรมีการเตรียมความพร้อมให้ก่อนได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23125 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354405 WY18 ช212 2546 Book Main Library General Shelf Available การพัฒนาแบบประเมินผลการปฎิบัติงานสำหรับพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก / ศิริรัตน์ คงสุวรรณ, 2512- คงสุวรรณ, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : การพัฒนาแบบประเมินผลการปฎิบัติงานสำหรับพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก Original title : The development of performance appraisal form for staff nurses, hospitals under the jurisdiction of the Royal Thai Army / Material Type: printed text Authors: ศิริรัตน์ คงสุวรรณ, 2512- คงสุวรรณ, (2512-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก-ฎ, 107 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-170-490-9 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: การพัฒนาตนเอง.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ศ837 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก และประเมินความเป็นไปได้ในการใช้แบบประเมินผลการปฏิบัติงานกลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าหอผู้ป่วย จำนวน 95 คน และพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 293 คน จากโรงพยาบาลสังกัดกองทัพบกทั้ง 37 แห่ง แบบประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบกผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง ใช้แนวคิดวิธีการสร้างเครื่องมือของ Wood and Haber และใช้แนวคิดการประเมินผลการปฏิบัติงานของ Brumback and Mcfee ข้อรายการได้จากการสนทนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 22 คน ได้แบบประเมินผลการปฏิบัติงานที่ครอบคลุมด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงาน 24 รายการ และด้านผลสำเร็จของงาน 10 รายการ หาความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจสอบค่าความเที่ยงด้วย Cronbach's alpha coefficient ได้เท่ากับ .97 หาค่าความสอดคล้องระหว่างผู้ประเมินด้วย Pearson's product moment correlation cofficientด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานได้เท่ากับ .93 และด้านผลสำเร็จของงานได้เท่ากับ .92 ค่าอำนาจจำแนกด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานมีค่าระหว่าง .27-.84 และด้านผลสำเร็จของงานมีค่าระหว่าง .53-.83 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบความเป็นไปได้ในการนำไปใช้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก ประกอบด้วย 2 ด้าน คือ ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงาน มี 9 หัวข้อ คือ 1) การวางแผนและการจัดการ 2) การสั่งการการควบคุมและการประสานงาน 3) ความรอบคอบและการตัดสินใจ 4) สภาวะทางอารมณ์ 5) การติดต่อประสานงาน 6) ความรู้ความชำนาญในงาน 7) ความเป็นผู้นำ 8) ความรับผิดชอบ และ 9) อุปนิสัยส่วนบุคคลในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น รวมทั้งหมดมี 24 รายการ ส่วนด้านผลสำเร็จของงานมี 2 หัวข้อ คือ 1) คุณภาพของงาน และ 2) เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน รวมมี 10 รายการ 2. ความเป็นไปได้ในการใช้แบบประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับพยาบาลประจำการโรงพยาบาล สังกัดกองทัพบก ตามความคิดเห็นของหัวหน้าหอผู้ป่วย และพยาบาลประจำการทุกรายการอยู่ในระดับมาก Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23206 การพัฒนาแบบประเมินผลการปฎิบัติงานสำหรับพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก = The development of performance appraisal form for staff nurses, hospitals under the jurisdiction of the Royal Thai Army / [printed text] / ศิริรัตน์ คงสุวรรณ, 2512- คงสุวรรณ, (2512-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก-ฎ, 107 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-170-490-9 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: การพัฒนาตนเอง.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ศ837 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก และประเมินความเป็นไปได้ในการใช้แบบประเมินผลการปฏิบัติงานกลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าหอผู้ป่วย จำนวน 95 คน และพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 293 คน จากโรงพยาบาลสังกัดกองทัพบกทั้ง 37 แห่ง แบบประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบกผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง ใช้แนวคิดวิธีการสร้างเครื่องมือของ Wood and Haber และใช้แนวคิดการประเมินผลการปฏิบัติงานของ Brumback and Mcfee ข้อรายการได้จากการสนทนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 22 คน ได้แบบประเมินผลการปฏิบัติงานที่ครอบคลุมด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงาน 24 รายการ และด้านผลสำเร็จของงาน 10 รายการ หาความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจสอบค่าความเที่ยงด้วย Cronbach's alpha coefficient ได้เท่ากับ .97 หาค่าความสอดคล้องระหว่างผู้ประเมินด้วย Pearson's product moment correlation cofficientด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานได้เท่ากับ .93 และด้านผลสำเร็จของงานได้เท่ากับ .92 ค่าอำนาจจำแนกด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานมีค่าระหว่าง .27-.84 และด้านผลสำเร็จของงานมีค่าระหว่าง .53-.83 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบความเป็นไปได้ในการนำไปใช้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก ประกอบด้วย 2 ด้าน คือ ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงาน มี 9 หัวข้อ คือ 1) การวางแผนและการจัดการ 2) การสั่งการการควบคุมและการประสานงาน 3) ความรอบคอบและการตัดสินใจ 4) สภาวะทางอารมณ์ 5) การติดต่อประสานงาน 6) ความรู้ความชำนาญในงาน 7) ความเป็นผู้นำ 8) ความรับผิดชอบ และ 9) อุปนิสัยส่วนบุคคลในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น รวมทั้งหมดมี 24 รายการ ส่วนด้านผลสำเร็จของงานมี 2 หัวข้อ คือ 1) คุณภาพของงาน และ 2) เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน รวมมี 10 รายการ 2. ความเป็นไปได้ในการใช้แบบประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับพยาบาลประจำการโรงพยาบาล สังกัดกองทัพบก ตามความคิดเห็นของหัวหน้าหอผู้ป่วย และพยาบาลประจำการทุกรายการอยู่ในระดับมาก Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23206 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355543 WY18 ศ837 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) / ยุภา เทอดอุดมธรรม in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) Original title : The Development Of Head Nurses’ Competency Assessment For Banphaeo Hospital (Public Organization) Material Type: printed text Authors: ยุภา เทอดอุดมธรรม, Author ; สุวิณี วิวัฒน์วานิช, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.168-177 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.168-177Keywords: การประเมินสมรรถนะ.หัวหน้าหอผู้ป่วย.โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะ และกำหนดเกณฑ์ตัดสินผลการประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน)ทำการศึกษา 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การสร้างแบบประเมิน โดยการสังเคราะห์และวิเคราะห์ความสอดคล้องขององค์ประกอบสมรรถนะใช้การสนทนากลุ่มและการประชุมสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 8 คน
จากนั้นสร้างเกณฑ์การประเมินแบบมาตรประมาณค่าแบบยึดพฤติกรรม (BARS) วิเคราะห์ความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน วิเคราะห์คุณภาพของแบบประเมินด้านความคงที่โดยพยาบาลผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวน 3 คู่ ประเมินหัวหน้าหอผู้ป่วย 3 คน และหาค่าความสอดคล้องภายใน โดยนำแบบประเมินไปใช้กับประชากร คือหัวหน้าหอผู้ป่วย จำนวน 30 คน ประเมินโดยหัวหน้าพยาบาล/ประธานองค์การพยาบาล หัวหน้าหอผู้ป่วยประเมินตนเอง และพยาบาลผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวน 30 คนประเมิน หัวหน้าหอผู้ป่วย ระยะที่ 2 การกำหนดเกณฑ์ตัดสินผลการประเมินสมรรถนะ โดยนำผลการประเมินที่ได้มากำหนดคะแนนจุดตัด โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารการพยาบาล จำนวน 8 คน ผลการศึกษาสรุป ได้ดังนี้
1. แบบประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วย ประกอบด้วยสมรรถนะ 7 ด้าน ข้อรายการสมรรถนะ 34 ข้อ คือ 1) ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม (9 ข้อ) 2) การบริหารจัดการทรัพยากร (6 ข้อ) 3) การพัฒนาคุณภาพบริการ (6 ข้อ) 4) การสื่อสารและการสร้างสัมพันธภาพ (4 ข้อ) 5) จริยธรรม จรรยาบรรณ และกฎหมายวิชาชีพ (3 ข้อ) 6) นโยบายและสิ่งแวดล้อมด้านสุขภาพ (2 ข้อ) และ 7) การจัดการเชิงธุรกิจ (4 ข้อ)
2. ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมิน พบว่า แบบประเมินมีความตรงตามเนื้อหา เท่ากับ .91 ความเที่ยงของการสังเกต เท่ากับ .82 และความสอดคล้องภายในด้วยวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนของฮอยท์ (Hoyt’s Analysis of Variance method) เท่ากับ .99 3. เกณฑ์ตัดสินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) โดยรวมมีค่าคะแนนจุดตัดที่ T41.71Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27241 [article] การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) = The Development Of Head Nurses’ Competency Assessment For Banphaeo Hospital (Public Organization) [printed text] / ยุภา เทอดอุดมธรรม, Author ; สุวิณี วิวัฒน์วานิช, Author . - 2017 . - p.168-177.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.168-177Keywords: การประเมินสมรรถนะ.หัวหน้าหอผู้ป่วย.โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะ และกำหนดเกณฑ์ตัดสินผลการประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน)ทำการศึกษา 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การสร้างแบบประเมิน โดยการสังเคราะห์และวิเคราะห์ความสอดคล้องขององค์ประกอบสมรรถนะใช้การสนทนากลุ่มและการประชุมสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 8 คน
จากนั้นสร้างเกณฑ์การประเมินแบบมาตรประมาณค่าแบบยึดพฤติกรรม (BARS) วิเคราะห์ความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน วิเคราะห์คุณภาพของแบบประเมินด้านความคงที่โดยพยาบาลผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวน 3 คู่ ประเมินหัวหน้าหอผู้ป่วย 3 คน และหาค่าความสอดคล้องภายใน โดยนำแบบประเมินไปใช้กับประชากร คือหัวหน้าหอผู้ป่วย จำนวน 30 คน ประเมินโดยหัวหน้าพยาบาล/ประธานองค์การพยาบาล หัวหน้าหอผู้ป่วยประเมินตนเอง และพยาบาลผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวน 30 คนประเมิน หัวหน้าหอผู้ป่วย ระยะที่ 2 การกำหนดเกณฑ์ตัดสินผลการประเมินสมรรถนะ โดยนำผลการประเมินที่ได้มากำหนดคะแนนจุดตัด โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารการพยาบาล จำนวน 8 คน ผลการศึกษาสรุป ได้ดังนี้
1. แบบประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วย ประกอบด้วยสมรรถนะ 7 ด้าน ข้อรายการสมรรถนะ 34 ข้อ คือ 1) ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม (9 ข้อ) 2) การบริหารจัดการทรัพยากร (6 ข้อ) 3) การพัฒนาคุณภาพบริการ (6 ข้อ) 4) การสื่อสารและการสร้างสัมพันธภาพ (4 ข้อ) 5) จริยธรรม จรรยาบรรณ และกฎหมายวิชาชีพ (3 ข้อ) 6) นโยบายและสิ่งแวดล้อมด้านสุขภาพ (2 ข้อ) และ 7) การจัดการเชิงธุรกิจ (4 ข้อ)
2. ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมิน พบว่า แบบประเมินมีความตรงตามเนื้อหา เท่ากับ .91 ความเที่ยงของการสังเกต เท่ากับ .82 และความสอดคล้องภายในด้วยวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนของฮอยท์ (Hoyt’s Analysis of Variance method) เท่ากับ .99 3. เกณฑ์ตัดสินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) โดยรวมมีค่าคะแนนจุดตัดที่ T41.71Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27241 การพัฒนาแบบประเมินสมรรถภาพพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง / อรอุมา ศิริวัฒนา in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Vol.27 No.2 (May-Aug) 2015 ([03/16/2016])
[article]
Title : การพัฒนาแบบประเมินสมรรถภาพพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง : สังกัดกองทัพบก Original title : The development of competency assessment scale for staff nurse in 30-90 bed hospitals under the jurisdiction of the Royal Thai Army Material Type: printed text Authors: อรอุมา ศิริวัฒนา, Author ; กัญญดา ประจุศิลป, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.1-10 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Vol.27 No.2 (May-Aug) 2015 [03/16/2016] . - p.1-10Keywords: การพัฒนาแบบประเมินประสิทธิภาพ.พยาบาลประจำการ.โรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง.โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก. Curricular : BNS Link for e-copy: http://tci-thaijo.org/index.php/CUNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25655 [article] การพัฒนาแบบประเมินสมรรถภาพพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง = The development of competency assessment scale for staff nurse in 30-90 bed hospitals under the jurisdiction of the Royal Thai Army : สังกัดกองทัพบก [printed text] / อรอุมา ศิริวัฒนา, Author ; กัญญดา ประจุศิลป, Author . - 2016 . - p.1-10.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Vol.27 No.2 (May-Aug) 2015 [03/16/2016] . - p.1-10Keywords: การพัฒนาแบบประเมินประสิทธิภาพ.พยาบาลประจำการ.โรงพยาบาลขนาด 30-90 เตียง.โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก. Curricular : BNS Link for e-copy: http://tci-thaijo.org/index.php/CUNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25655 ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว / บุตธะนา สุมามาลย์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว : โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี Original title : Organizational commitment of temporary nurses in coomunity hospitals, Udonthani province Material Type: printed text Authors: บุตธะนา สุมามาลย์, Author ; นิตยา เพ็ญศิรินภา, Author ; พรทิพย์ กีระพงษ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.104-112 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.104-112Keywords: พยาบาลลูกจ้างชั่วคราว.โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี.ความยึดมั่นต่อองค์การ.ความผูกพันต่อองค์การ. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษา 1.ความผูกพันต่องค์การ 2.ปัจจัยส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงาน และ3.ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจันส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว ประชากรที่ศึกษา พยาบาลลูกจ้างชั่วคราวโรงพยาบาลชุมชนฯ จำนวน 222 คน กลุ่มตัวอย่าง 155 คน เลือกแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ ข้อมูลทัั่วไป ลักษณะของงาน ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน และความผูกพันต่อองค์การ ที่มีความเที่ยงอยู่ระหว่าง 0.69 ถึง 0.78
ผลการศึกษา พบว่า 1 ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.24 2 ปัจจันส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า อายุเฉลี่ย 26 ปี มีระยะเวลาการปฏิบัติงานเฉลี่ย 3 ปี ลักษณะงานโดยรวมอยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 3.62 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.05 และ 3 ลักษณะของงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับทางบวกในระดับต่ำกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ.405 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับความยึดมั้นผูกพันต่อองค์การทางบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .629 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความยึดมั่นผูกพันต่องค์การLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26746 [article] ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว = Organizational commitment of temporary nurses in coomunity hospitals, Udonthani province : โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี [printed text] / บุตธะนา สุมามาลย์, Author ; นิตยา เพ็ญศิรินภา, Author ; พรทิพย์ กีระพงษ์, Author . - 2017 . - p.104-112.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.104-112Keywords: พยาบาลลูกจ้างชั่วคราว.โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี.ความยึดมั่นต่อองค์การ.ความผูกพันต่อองค์การ. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษา 1.ความผูกพันต่องค์การ 2.ปัจจัยส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงาน และ3.ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจันส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว ประชากรที่ศึกษา พยาบาลลูกจ้างชั่วคราวโรงพยาบาลชุมชนฯ จำนวน 222 คน กลุ่มตัวอย่าง 155 คน เลือกแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ ข้อมูลทัั่วไป ลักษณะของงาน ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน และความผูกพันต่อองค์การ ที่มีความเที่ยงอยู่ระหว่าง 0.69 ถึง 0.78
ผลการศึกษา พบว่า 1 ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.24 2 ปัจจันส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า อายุเฉลี่ย 26 ปี มีระยะเวลาการปฏิบัติงานเฉลี่ย 3 ปี ลักษณะงานโดยรวมอยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 3.62 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.05 และ 3 ลักษณะของงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับทางบวกในระดับต่ำกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ.405 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับความยึดมั้นผูกพันต่อองค์การทางบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .629 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความยึดมั่นผูกพันต่องค์การLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26746 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงาน กับความเข็มแข็ง / พัชราพร แจ่มแจ้ง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงาน กับความเข็มแข็ง : ในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน Original title : Relationships between personality social support job characteristics and sense of coherence of staff nurses community hosptials Material Type: printed text Authors: พัชราพร แจ่มแจ้ง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ญ, 169 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-344-6 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การบริหารพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: บุคลิกภาพ.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลชุมชนClass number: WY18พ612 2546 Abstract: งานวิจัยนี้เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงานกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน และศึกษาตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จำนวน 393 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดบุคลิกภาพเปิดเผย ประนีประนอม อารมณ์มั่นคง ควบคุมตนเอง และบุคลิกภาพเิปิดรับประสบการณ์ แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา และเพื่อนร่วมงานจ ลักษณะงาน และความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงโดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .78 .73 .77 .79 .78 .94 .93 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัีมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณแบบขั้ยตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย คือ 3.87
2. บุคลิกภาพเปิดเผย บุคลิกภาพประนีประนอม บุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิิกภาพเปิดรับประสบการณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประำจำการอย่างมีนัยสำคัยทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.353 .305 .332 .398 และ .412 ตามลำดับ)
3. การสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา การสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.352 และ .474 ตามลำดับ)
4. ลักษณะงานมีความสัีมพันธ์ทางระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.662)
5. ตัวแปรพยากรณ์ ได้แก่ ลักษณะงาน บุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ และการสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน สามารถร่วมกันพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการได้อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของความเข็มแข็งในการมองโลกได้ร้อยละ 50.08 (R ยกกำลังสอง = .508) และสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน.Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23330 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงาน กับความเข็มแข็ง = Relationships between personality social support job characteristics and sense of coherence of staff nurses community hosptials : ในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน [printed text] / พัชราพร แจ่มแจ้ง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ญ, 169 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-344-6 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การบริหารพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: บุคลิกภาพ.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลชุมชนClass number: WY18พ612 2546 Abstract: งานวิจัยนี้เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงานกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน และศึกษาตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จำนวน 393 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดบุคลิกภาพเปิดเผย ประนีประนอม อารมณ์มั่นคง ควบคุมตนเอง และบุคลิกภาพเิปิดรับประสบการณ์ แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา และเพื่อนร่วมงานจ ลักษณะงาน และความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงโดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .78 .73 .77 .79 .78 .94 .93 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัีมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณแบบขั้ยตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย คือ 3.87
2. บุคลิกภาพเปิดเผย บุคลิกภาพประนีประนอม บุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิิกภาพเปิดรับประสบการณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประำจำการอย่างมีนัยสำคัยทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.353 .305 .332 .398 และ .412 ตามลำดับ)
3. การสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา การสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.352 และ .474 ตามลำดับ)
4. ลักษณะงานมีความสัีมพันธ์ทางระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.662)
5. ตัวแปรพยากรณ์ ได้แก่ ลักษณะงาน บุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ และการสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน สามารถร่วมกันพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการได้อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของความเข็มแข็งในการมองโลกได้ร้อยละ 50.08 (R ยกกำลังสอง = .508) และสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน.Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23330 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357259 THE WY18พ612 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย / สุนีย์พร แคล้วปลอดทุกข์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย : การบริหารผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาลกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป Original title : Relationships between strategic leadership of head nurses, performance management of nurse division, and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses, general hospitals Material Type: printed text Authors: สุนีย์พร แคล้วปลอดทุกข์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ฎ, 149 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]].-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ภาวะผู้นำ.
พยาบาล.Class number: WY18 ส845 2551 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยการบริหารผลการปฎิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล และประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การบริหารผลการปฎิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล กับประสิทธิผลของหอผู้่ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฎิบัติการ จำนวน 352 คน ซึ่งได้จาการสุ่มตัวอย่างแบบสองขั้นตอน. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามการบริหารผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .97 .96 และ.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย สาวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัีมประสิทธิสหสัมพนธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ คือ
1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การบริหารผลการปฎิบัิติงานของกลุ่มการพยาบาล และประสิทธิผลของผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป ต่างก็อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย = 3.85 3.62 และ 3.90 ตามลำดับ)
2. 2. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยและการบริหารผลการปฏิบัติงานของ กลุ่มงานการพยาบาล ต่างก็มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของ หอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .67 และ .64 ตามลำดับ)Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23170 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย = Relationships between strategic leadership of head nurses, performance management of nurse division, and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses, general hospitals : การบริหารผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาลกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป [printed text] / สุนีย์พร แคล้วปลอดทุกข์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ฎ, 149 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]].-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ภาวะผู้นำ.
พยาบาล.Class number: WY18 ส845 2551 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยการบริหารผลการปฎิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล และประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การบริหารผลการปฎิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล กับประสิทธิผลของหอผู้่ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฎิบัติการ จำนวน 352 คน ซึ่งได้จาการสุ่มตัวอย่างแบบสองขั้นตอน. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามการบริหารผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .97 .96 และ.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย สาวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัีมประสิทธิสหสัมพนธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ คือ
1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การบริหารผลการปฎิบัิติงานของกลุ่มการพยาบาล และประสิทธิผลของผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป ต่างก็อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย = 3.85 3.62 และ 3.90 ตามลำดับ)
2. 2. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยและการบริหารผลการปฏิบัติงานของ กลุ่มงานการพยาบาล ต่างก็มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของ หอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .67 และ .64 ตามลำดับ)Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23170 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383800 WY18 ส845 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล / วารี พูลทรัพย์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล : ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร Original title : Rekationships between work gropu characteristics and nursing team effectiveness as preceived by staff nurses governmental hospitals Bangkok metropolis Material Type: printed text Authors: วารี พูลทรัพย์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก-ญ,169 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-170-460-7 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาลเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- ไทย -- ภาครัฐKeywords: การพยาบาล.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลรัฐ.
ประสิทธิผล.
ทีมการพยาบาล.Class number: WY18 ว727 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เป็นวิจัยเชิงความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทีมงานกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ตลอดจนศึกษาตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ ทีมการพยาบาล ซึ่งไ้ด้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 184 ทีม มีจำนวนรวม 920 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามลักษณะของทีมงาน และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรง และความเที่ยงเท่ากับ .094 และ .91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน สถิติวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณ
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.75
2 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กัีบประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง และมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.832) โดยมีความสัมพันธ์รายด้านดังนี้ คือ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน การพึ่งพาช่วยเหลือกัน องค์ประกอบของทีม และบริบทเชิงบริหาร (r= .800 .731 .689 .665 และ .657 ตามลำดับ
3. ตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร ได้แก่ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน บริบทเชิงบริหาร การพึ่งพาช่วยเหลือกันของสมาชิก และองค์ประกอบของทีม ซึ่งสามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาลได้ร้อยละ 74.2 (R ยกกำลังสอง = .743 p < .05) โดยมีสมการพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23327 ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล = Rekationships between work gropu characteristics and nursing team effectiveness as preceived by staff nurses governmental hospitals Bangkok metropolis : ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร [printed text] / วารี พูลทรัพย์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก-ญ,169 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-170-460-7 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาลเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- ไทย -- ภาครัฐKeywords: การพยาบาล.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลรัฐ.
ประสิทธิผล.
ทีมการพยาบาล.Class number: WY18 ว727 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เป็นวิจัยเชิงความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทีมงานกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ตลอดจนศึกษาตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ ทีมการพยาบาล ซึ่งไ้ด้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 184 ทีม มีจำนวนรวม 920 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามลักษณะของทีมงาน และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรง และความเที่ยงเท่ากับ .094 และ .91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน สถิติวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณ
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.75
2 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กัีบประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง และมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.832) โดยมีความสัมพันธ์รายด้านดังนี้ คือ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน การพึ่งพาช่วยเหลือกัน องค์ประกอบของทีม และบริบทเชิงบริหาร (r= .800 .731 .689 .665 และ .657 ตามลำดับ
3. ตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร ได้แก่ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน บริบทเชิงบริหาร การพึ่งพาช่วยเหลือกันของสมาชิก และองค์ประกอบของทีม ซึ่งสามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาลได้ร้อยละ 74.2 (R ยกกำลังสอง = .743 p < .05) โดยมีสมการพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23327 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357309 THE WY18 ว727 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ / พนิชา บุตรปัญญา / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ Original title : Relationships between occupational environment hazards head nurse - staff nurse relationship, and quality of work life of staff nurses, government university hospitals Material Type: printed text Authors: พนิชา บุตรปัญญา, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ฎ, 141 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- การประเมิน
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงานKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
คุณภาพการทำงาน.
สิ่งแวดล้อมในการทำงาน.
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ.Class number: WY100 พ653 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในสังกัดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 380 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน แบบสอบถามอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน และแบบสอบถามสัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ 0.89, 0.89 และ 0.98 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ และสัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐอยู่ในระดับสูง ([Mean]= 3.70 และ 3.67) ยกเว้น อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐอยู่ในระดับปานกลาง ( [Mean]= 3.02) 2. อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน มีความสัมพันธ์ทางลบในระดับปานกลางกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = - .62) 3. สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .50) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23218 ความสัมพันธ์ระหว่างอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ = Relationships between occupational environment hazards head nurse - staff nurse relationship, and quality of work life of staff nurses, government university hospitals [printed text] / พนิชา บุตรปัญญา, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ฎ, 141 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- การประเมิน
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงานKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
คุณภาพการทำงาน.
สิ่งแวดล้อมในการทำงาน.
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ.Class number: WY100 พ653 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในสังกัดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 380 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน แบบสอบถามอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน และแบบสอบถามสัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ 0.89, 0.89 และ 0.98 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ และสัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐอยู่ในระดับสูง ([Mean]= 3.70 และ 3.67) ยกเว้น อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐอยู่ในระดับปานกลาง ( [Mean]= 3.02) 2. อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน มีความสัมพันธ์ทางลบในระดับปานกลางกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = - .62) 3. สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .50) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23218 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354876 WY100 พ653 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available บทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) / น้ำฝน โดมกลาง, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : บทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) Original title : The desirable roles of head nurse, regional hospitals in the next decade (B.E. 2551-2560) Material Type: printed text Authors: น้ำฝน โดมกลาง, (2521-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ญ, 171 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 น525 2550 Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้าโดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) กลุ่มตัวอย่างคือผู้เชี่ยวชาญจำนวน 22 คน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการบริหารการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการศึกษาพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการปฏิบัติการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการบริหารโรงพยาบาล และผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาองค์การวิชาชีพพยาบาลระดับนโยบาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย รอบแรกเป็นแบบสัมภาษณ์ รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตรประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่าง ควอไทล์ โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลรวมทั้งสิ้น 101 วัน ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 83 ข้อเป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 72 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 11 ข้อจำแนกได้เป็น 7 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรมประกอบด้วยบทบาท 10ข้อ 2. ด้านผู้นำประกอบด้วยบทบาท 13ข้อ 3. ด้านการบริการและพัฒนาคุณภาพการบริการประกอบด้วยบทบาท 11ข้อ 4. ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลประกอบด้วยบทบาท 13ข้อ 5. ด้านการบริหารงานประกอบด้วยบทบาท 15ข้อ 6. ด้านวิชาการและการวิจัยประกอบด้วยบทบาท 11ข้อ 7. ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ ประกอบด้วยบทบาท 10 ข้อ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23214 บทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) = The desirable roles of head nurse, regional hospitals in the next decade (B.E. 2551-2560) [printed text] / น้ำฝน โดมกลาง, (2521-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ญ, 171 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 น525 2550 Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้าโดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) กลุ่มตัวอย่างคือผู้เชี่ยวชาญจำนวน 22 คน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการบริหารการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการศึกษาพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการปฏิบัติการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการบริหารโรงพยาบาล และผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาองค์การวิชาชีพพยาบาลระดับนโยบาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย รอบแรกเป็นแบบสัมภาษณ์ รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตรประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่าง ควอไทล์ โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลรวมทั้งสิ้น 101 วัน ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 83 ข้อเป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 72 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 11 ข้อจำแนกได้เป็น 7 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรมประกอบด้วยบทบาท 10ข้อ 2. ด้านผู้นำประกอบด้วยบทบาท 13ข้อ 3. ด้านการบริการและพัฒนาคุณภาพการบริการประกอบด้วยบทบาท 11ข้อ 4. ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลประกอบด้วยบทบาท 13ข้อ 5. ด้านการบริหารงานประกอบด้วยบทบาท 15ข้อ 6. ด้านวิชาการและการวิจัยประกอบด้วยบทบาท 11ข้อ 7. ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ ประกอบด้วยบทบาท 10 ข้อ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23214 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355006 WY100 น525 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขัน เพื่อการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย / นิตยา พ่วงดี in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขัน เพื่อการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย Original title : Experiences of Head Nurses in Using Humor for Tension Situation Management in Patient Unit Material Type: printed text Authors: นิตยา พ่วงดี, Author ; วาสินี วิเศษฤทธิ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.55-69 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.55-69Keywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.การจัดการสถานการณ์ตึงเครียด.ประสบการณ์หัวหน้าผู้ป่วย. Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฏการณ์วิทยา (Husserl phenomenology)
มีวัตถุประสงค์
1) เพื่อบรรยายประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขัน
2) จัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยภายใต้กำกับรัฐแห่งหนึ่ง ที่ได้รับการยอมรับจากหัวหน้าและเพื่อนร่วมงานว่าเป็นผู้มีอารมณ์ขันมีประสบการณ์ในการนำอารมณ์ขันมาใช้ในการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย
มีประสบการณ์ในการทำงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยเป็นเวลา 2 ปีขึ้นไป และยินดีเข้าร่วมการ
เป็นผู้ให้ข้อมูล โดยคัดเลือกแบบเจาะจงและจากการบอกต่อแบบลูกโซ่ จำนวน 10 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและนำข้อมูลมาถอดความแบบคำต่อคำ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาตามวิธีของ Van Manen (1990)
ผลการศึกษา พบว่า
ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขันเพื่อการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย ประกอบด้วย 4 ประเด็นหลัก ดังนี้
1) สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสภาวการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย ได้แก่
1.1) สถานการณ์ตึงเครียดเนื่องมาจากการดูแลผู้ป่วย
1.2) สถานการณ์ตึงเครียดเนื่องมาจากนโยบายของโรงพยาบาล และ
1.3) สถานการณ์ตึงเครียดเนื่องมาจากขาดแคลนบุคลากรพยาบาล
2) อารมณ์ขันเป็นวิธีที่ดีในการจัดการสถานการณ์ตึงเครียด ได้แก่
2.1) อารมณ์ขันช่วยทำให้มีความคิดเชิงบวก
2.2) อารมณ์ขันช่วยทำให้สถานการณ์คลี่คลาย
และ 2.3) อารมณ์ขันช่วยทำให้มีความสุขและได้แบ่งปันความสุข
3) ประสบการณ์ของการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดโดยใช้อารมณ์ขัน ได้แก่
3.1) ประเมินสถานการณ์ก่อนใช้อารมณ์ขัน
3.2) ใช้อารมณ์ขันให้เหมาะสมกับบุคคล
3.3) ต้องมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันก่อนใช้อารมณ์ขัน และ
4) บทเรียนที่ได้รับภายหลังการใช้อารมณ์ขัน ได้แก่
4.1) บรรยากาศในการทำงานดี บุคลากรมีความสุข 4.2) มีเสน่ห์ รวยเพื่อน
4.3) พยาบาลอารมณ์ดี ลดการกระทบกระทั่งกับผู้ป่วย
4.4) เปิดโลกทางความคิดสร้างสรรค์ให้บุคลากร และ
4.5) มีข้อพึงระวังในการใช้อารมณ์ขัน
ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปเป็นแนวทางแก่หัวหน้าหอผู้ป่วยในการนำอารมณ์ขันมาใช้
ในการจัดการสถานการณ์ตึงเครียด เพื่อให้การบริหารหอผู้ป่วยมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทาง
ในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการใช้อารมณ์ขันในการพัฒนา บริหารจัดการคุณภาพบริการพยาบาลLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27058 [article] ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขัน เพื่อการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย = Experiences of Head Nurses in Using Humor for Tension Situation Management in Patient Unit [printed text] / นิตยา พ่วงดี, Author ; วาสินี วิเศษฤทธิ์, Author . - 2017 . - p.55-69.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.55-69Keywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.การจัดการสถานการณ์ตึงเครียด.ประสบการณ์หัวหน้าผู้ป่วย. Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฏการณ์วิทยา (Husserl phenomenology)
มีวัตถุประสงค์
1) เพื่อบรรยายประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขัน
2) จัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยภายใต้กำกับรัฐแห่งหนึ่ง ที่ได้รับการยอมรับจากหัวหน้าและเพื่อนร่วมงานว่าเป็นผู้มีอารมณ์ขันมีประสบการณ์ในการนำอารมณ์ขันมาใช้ในการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย
มีประสบการณ์ในการทำงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยเป็นเวลา 2 ปีขึ้นไป และยินดีเข้าร่วมการ
เป็นผู้ให้ข้อมูล โดยคัดเลือกแบบเจาะจงและจากการบอกต่อแบบลูกโซ่ จำนวน 10 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและนำข้อมูลมาถอดความแบบคำต่อคำ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาตามวิธีของ Van Manen (1990)
ผลการศึกษา พบว่า
ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขันเพื่อการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย ประกอบด้วย 4 ประเด็นหลัก ดังนี้
1) สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสภาวการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย ได้แก่
1.1) สถานการณ์ตึงเครียดเนื่องมาจากการดูแลผู้ป่วย
1.2) สถานการณ์ตึงเครียดเนื่องมาจากนโยบายของโรงพยาบาล และ
1.3) สถานการณ์ตึงเครียดเนื่องมาจากขาดแคลนบุคลากรพยาบาล
2) อารมณ์ขันเป็นวิธีที่ดีในการจัดการสถานการณ์ตึงเครียด ได้แก่
2.1) อารมณ์ขันช่วยทำให้มีความคิดเชิงบวก
2.2) อารมณ์ขันช่วยทำให้สถานการณ์คลี่คลาย
และ 2.3) อารมณ์ขันช่วยทำให้มีความสุขและได้แบ่งปันความสุข
3) ประสบการณ์ของการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดโดยใช้อารมณ์ขัน ได้แก่
3.1) ประเมินสถานการณ์ก่อนใช้อารมณ์ขัน
3.2) ใช้อารมณ์ขันให้เหมาะสมกับบุคคล
3.3) ต้องมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันก่อนใช้อารมณ์ขัน และ
4) บทเรียนที่ได้รับภายหลังการใช้อารมณ์ขัน ได้แก่
4.1) บรรยากาศในการทำงานดี บุคลากรมีความสุข 4.2) มีเสน่ห์ รวยเพื่อน
4.3) พยาบาลอารมณ์ดี ลดการกระทบกระทั่งกับผู้ป่วย
4.4) เปิดโลกทางความคิดสร้างสรรค์ให้บุคลากร และ
4.5) มีข้อพึงระวังในการใช้อารมณ์ขัน
ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปเป็นแนวทางแก่หัวหน้าหอผู้ป่วยในการนำอารมณ์ขันมาใช้
ในการจัดการสถานการณ์ตึงเครียด เพื่อให้การบริหารหอผู้ป่วยมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทาง
ในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการใช้อารมณ์ขันในการพัฒนา บริหารจัดการคุณภาพบริการพยาบาลLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27058