From this page you can:
Home |
Search results
33 result(s) search for keyword(s) 'หัวหน้าหอผู้ป่วย. บทบาท. หน้าที่.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
บทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) / น้ำฝน โดมกลาง, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : บทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) Original title : The desirable roles of head nurse, regional hospitals in the next decade (B.E. 2551-2560) Material Type: printed text Authors: น้ำฝน โดมกลาง, (2521-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ญ, 171 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 น525 2550 Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้าโดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) กลุ่มตัวอย่างคือผู้เชี่ยวชาญจำนวน 22 คน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการบริหารการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการศึกษาพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการปฏิบัติการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการบริหารโรงพยาบาล และผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาองค์การวิชาชีพพยาบาลระดับนโยบาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย รอบแรกเป็นแบบสัมภาษณ์ รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตรประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่าง ควอไทล์ โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลรวมทั้งสิ้น 101 วัน ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 83 ข้อเป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 72 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 11 ข้อจำแนกได้เป็น 7 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรมประกอบด้วยบทบาท 10ข้อ 2. ด้านผู้นำประกอบด้วยบทบาท 13ข้อ 3. ด้านการบริการและพัฒนาคุณภาพการบริการประกอบด้วยบทบาท 11ข้อ 4. ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลประกอบด้วยบทบาท 13ข้อ 5. ด้านการบริหารงานประกอบด้วยบทบาท 15ข้อ 6. ด้านวิชาการและการวิจัยประกอบด้วยบทบาท 11ข้อ 7. ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ ประกอบด้วยบทบาท 10 ข้อ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23214 บทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) = The desirable roles of head nurse, regional hospitals in the next decade (B.E. 2551-2560) [printed text] / น้ำฝน โดมกลาง, (2521-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ญ, 171 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 น525 2550 Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้าโดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) กลุ่มตัวอย่างคือผู้เชี่ยวชาญจำนวน 22 คน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการบริหารการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการศึกษาพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการปฏิบัติการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาการบริหารโรงพยาบาล และผู้เชี่ยวชาญกลุ่มสาขาองค์การวิชาชีพพยาบาลระดับนโยบาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย รอบแรกเป็นแบบสัมภาษณ์ รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตรประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่าง ควอไทล์ โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลรวมทั้งสิ้น 101 วัน ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ ที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 83 ข้อเป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 72 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 11 ข้อจำแนกได้เป็น 7 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรมประกอบด้วยบทบาท 10ข้อ 2. ด้านผู้นำประกอบด้วยบทบาท 13ข้อ 3. ด้านการบริการและพัฒนาคุณภาพการบริการประกอบด้วยบทบาท 11ข้อ 4. ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลประกอบด้วยบทบาท 13ข้อ 5. ด้านการบริหารงานประกอบด้วยบทบาท 15ข้อ 6. ด้านวิชาการและการวิจัยประกอบด้วยบทบาท 11ข้อ 7. ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ ประกอบด้วยบทบาท 10 ข้อ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23214 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355006 WY100 น525 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน / อุษนันท์ อินทมาศน์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน Original title : Role performance of professional nurse in community hospital Material Type: printed text Authors: อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฌ, 117 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-780-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน = Role performance of professional nurse in community hospital [printed text] / อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฌ, 117 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-780-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355493 WY100 อ948 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available อนาคตภาพของบทบาทพยาบาลนิติเวช / โสภา วงศ์สกุลชื่น / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : อนาคตภาพของบทบาทพยาบาลนิติเวช Original title : The scenario of forensic nurses' roles Material Type: printed text Authors: โสภา วงศ์สกุลชื่น, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ฌ, 195 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Psychiatric Nursing
[LCSH]นิติจิตเวชศาสตร์
[LCSH]นิติเวชวิทยา
[LCSH]พยานหลักฐานKeywords: บทบาท.
หน้าที่.
พยาบาล.
นิติจิตเวชศาสตร์Class number: WY160 ส886 2551 Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาอนาคตภาพของบทบาทพยาบาลนิติเวช โดยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงอนาคตแบบ EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research ) ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 24 คน ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญกลุ่มการแพทย์เฉพาะทางนิติเวชและนิติจิตเวช ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มองค์กรวิชาชีพพยาบาลและนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มปฏิบัติการพยาบาลด้านนิติเวช ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มนักกฏหมาย และผู้เชี่ยวชาญกลุ่มองค์กรอิสระทางสุขภาพ ทั่วประเทศ วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสัมภาษณ์เกี่ยวกับอนาคตภาพของบทบาทพยาบาลนิติเวช ขั้นตอนที่ 2 นำข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์เนื้อหาแล้วนำมาสร้างแบบสอบถาม เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความสำคัญของข้อคำถามแต่ละข้อ ขั้นตอนที่ 3 นำข้อมูลที่ได้มาคำนวณค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ และส่งแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันความคิดเห็นเพื่อสรุปเป็นบทบาทพยาบาลนิติเวชที่สำคัญ หลังจากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาสรุปผลการวิจัยโดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50
ผลการวิจัยพบว่า อนาคตภาพของบทบาทพยาบาลนิติเวชที่ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันประกอบด้วยบทบาท 75 ข้อ จำแนกได้เป็น 7 ด้าน ดังนี้ 1.ด้านการพยาบาลนิติเวชคลินิก ประกอบด้วยบทบาท 15 ข้อ 2.ด้านการพยาบาลผู้ป่วยกรณีความผิดทางเพศ ประกอบด้วยบทบาท 9 ข้อ 3.ด้านการเป็นผู้ประสานงาน ประกอบด้วยบทบาท 4 ข้อ 4.ด้านความเชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านนิติเวช ประกอบด้วยบทบาท 20 ข้อ 5.ด้านการพยาบาลผู้ป่วยนิติจิตเวช ประกอบด้วยบทบาท 7 ข้อ 6.ด้านการเป็นที่ปรึกษาและให้ความรู้ด้านนิติเวช ประกอบด้วยบทบาท 14 ข้อ 7.ด้านการเป็นพยานศาล ประกอบด้วยบทบาท 6 ข้อCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23185 อนาคตภาพของบทบาทพยาบาลนิติเวช = The scenario of forensic nurses' roles [printed text] / โสภา วงศ์สกุลชื่น, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ฌ, 195 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Psychiatric Nursing
[LCSH]นิติจิตเวชศาสตร์
[LCSH]นิติเวชวิทยา
[LCSH]พยานหลักฐานKeywords: บทบาท.
หน้าที่.
พยาบาล.
นิติจิตเวชศาสตร์Class number: WY160 ส886 2551 Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาอนาคตภาพของบทบาทพยาบาลนิติเวช โดยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงอนาคตแบบ EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research ) ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 24 คน ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญกลุ่มการแพทย์เฉพาะทางนิติเวชและนิติจิตเวช ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มองค์กรวิชาชีพพยาบาลและนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มปฏิบัติการพยาบาลด้านนิติเวช ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มนักกฏหมาย และผู้เชี่ยวชาญกลุ่มองค์กรอิสระทางสุขภาพ ทั่วประเทศ วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสัมภาษณ์เกี่ยวกับอนาคตภาพของบทบาทพยาบาลนิติเวช ขั้นตอนที่ 2 นำข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์เนื้อหาแล้วนำมาสร้างแบบสอบถาม เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความสำคัญของข้อคำถามแต่ละข้อ ขั้นตอนที่ 3 นำข้อมูลที่ได้มาคำนวณค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ และส่งแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันความคิดเห็นเพื่อสรุปเป็นบทบาทพยาบาลนิติเวชที่สำคัญ หลังจากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาสรุปผลการวิจัยโดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50
ผลการวิจัยพบว่า อนาคตภาพของบทบาทพยาบาลนิติเวชที่ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันประกอบด้วยบทบาท 75 ข้อ จำแนกได้เป็น 7 ด้าน ดังนี้ 1.ด้านการพยาบาลนิติเวชคลินิก ประกอบด้วยบทบาท 15 ข้อ 2.ด้านการพยาบาลผู้ป่วยกรณีความผิดทางเพศ ประกอบด้วยบทบาท 9 ข้อ 3.ด้านการเป็นผู้ประสานงาน ประกอบด้วยบทบาท 4 ข้อ 4.ด้านความเชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านนิติเวช ประกอบด้วยบทบาท 20 ข้อ 5.ด้านการพยาบาลผู้ป่วยนิติจิตเวช ประกอบด้วยบทบาท 7 ข้อ 6.ด้านการเป็นที่ปรึกษาและให้ความรู้ด้านนิติเวช ประกอบด้วยบทบาท 14 ข้อ 7.ด้านการเป็นพยานศาล ประกอบด้วยบทบาท 6 ข้อCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23185 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354728 WY160 ส886 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ / ดำรง ตะนารัตน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ Original title : The Manager’s Role in leading the Organization to Success Case Study: Business Air Airlines Material Type: printed text Authors: ดำรง ตะนารัตน์, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 77 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-14
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้จัดการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- กรณีศึกษา
[LCSH]สายการบินKeywords: บทบาท, ผู้นำ, ภาวะผู้นำ, ผู้จัดการ, การตัดสินใจ, สายการบิน บิสสิเนสแอร์ Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ และเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้จัดการ จำนวน 10 คนซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานของสายการบินบิสสิเนสแอร์ เป็นผู้ให้ข้อมูลหลักโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า แนวทางการบริหารงานของสายการบินบิสสิเนสแอร์ มีการกำหนดเป้าหมายขององค์กรอย่างชัดเจน ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบ ด้านความรอบรู้ในงาน ผู้จัดการต้องมีความรู้ในฝ่ายอื่นๆทุกๆฝ่าย การตัดสินใจผิดพลาดไม่กล้าตัดสินใจ หรือตัดสินใจล่าช้าก็จะเกิดการสูญเสียค่าใช้จ่าย ด้านความสามารถทางการบริหาร ควรมีการสอนงาน แก้ปัญหาและให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามเพื่อบรรลุเป้าหมาย ด้านมนุษย์สัมพันธ์ช่วยเป็นตัวประสานงานให้งานคล่องตัวขึ้น ลดการขัดแย้ง ลดความไม่เข้าใจกันในการทำงาน บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ ต้องใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน
แนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ ควรเพิ่มทักษะการบริหารโดยการฝึกอบรมผู้จัดการ การบริหารจัดการบุคลากร และต้องมีเส้นทางความก้าวหน้าในสายวิชาชีพ
ปัญหาในการทำงาน ได้แก่ เป็นการบริหารงานแบบครอบครัว โดยเจ้าของเป็นผู้ตัดสินใจ ขาดสภาพคล่องทางการเงิน นักบินขาดแคลน เครื่องบินมีอายุเกิน 16ปี ขาดแคลนชิ้นส่วนอะไหล่ (spare part) ในการซ่อมบำรุง ฝ่ายการตลาดและการเงินยังขาดประสบการณ์การด้านการจัดการในการวางแผน กระแสเงินสดหมุนเวียน(Cash Flow) มาจาก(กำไร)Margin ต่ำและขาดผู้มีความสามารถ หรือผู้ชำนาญการทำการควบคุมต้นทุน(cost control)
อุปสรรค ได้แก่ การเปลี่ยนกฎข้อบังคับของกรมการบินพลเรือนทำให้การดำเนินธุรกิจลำบากขึ้น การถูกปรับลดความน่าเชื่อถือด้านความปลอดภัย การเสียโอกาสในการดำเนินธุรกิจ มีผู้บริหารในแต่ละหน่วยเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรเพิ่มขึ้น และภัยพิบัติทางธรรมชาติ การบริหารการเงินของผู้บริหารผิดพลาด การบริหารบุคคลล้มเหลวCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26890 SIU IS-T. บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ = The Manager’s Role in leading the Organization to Success Case Study: Business Air Airlines [printed text] / ดำรง ตะนารัตน์, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 77 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-14
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้จัดการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- กรณีศึกษา
[LCSH]สายการบินKeywords: บทบาท, ผู้นำ, ภาวะผู้นำ, ผู้จัดการ, การตัดสินใจ, สายการบิน บิสสิเนสแอร์ Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ และเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้จัดการ จำนวน 10 คนซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานของสายการบินบิสสิเนสแอร์ เป็นผู้ให้ข้อมูลหลักโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า แนวทางการบริหารงานของสายการบินบิสสิเนสแอร์ มีการกำหนดเป้าหมายขององค์กรอย่างชัดเจน ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบ ด้านความรอบรู้ในงาน ผู้จัดการต้องมีความรู้ในฝ่ายอื่นๆทุกๆฝ่าย การตัดสินใจผิดพลาดไม่กล้าตัดสินใจ หรือตัดสินใจล่าช้าก็จะเกิดการสูญเสียค่าใช้จ่าย ด้านความสามารถทางการบริหาร ควรมีการสอนงาน แก้ปัญหาและให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามเพื่อบรรลุเป้าหมาย ด้านมนุษย์สัมพันธ์ช่วยเป็นตัวประสานงานให้งานคล่องตัวขึ้น ลดการขัดแย้ง ลดความไม่เข้าใจกันในการทำงาน บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ ต้องใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน
แนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ ควรเพิ่มทักษะการบริหารโดยการฝึกอบรมผู้จัดการ การบริหารจัดการบุคลากร และต้องมีเส้นทางความก้าวหน้าในสายวิชาชีพ
ปัญหาในการทำงาน ได้แก่ เป็นการบริหารงานแบบครอบครัว โดยเจ้าของเป็นผู้ตัดสินใจ ขาดสภาพคล่องทางการเงิน นักบินขาดแคลน เครื่องบินมีอายุเกิน 16ปี ขาดแคลนชิ้นส่วนอะไหล่ (spare part) ในการซ่อมบำรุง ฝ่ายการตลาดและการเงินยังขาดประสบการณ์การด้านการจัดการในการวางแผน กระแสเงินสดหมุนเวียน(Cash Flow) มาจาก(กำไร)Margin ต่ำและขาดผู้มีความสามารถ หรือผู้ชำนาญการทำการควบคุมต้นทุน(cost control)
อุปสรรค ได้แก่ การเปลี่ยนกฎข้อบังคับของกรมการบินพลเรือนทำให้การดำเนินธุรกิจลำบากขึ้น การถูกปรับลดความน่าเชื่อถือด้านความปลอดภัย การเสียโอกาสในการดำเนินธุรกิจ มีผู้บริหารในแต่ละหน่วยเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรเพิ่มขึ้น และภัยพิบัติทางธรรมชาติ การบริหารการเงินของผู้บริหารผิดพลาด การบริหารบุคคลล้มเหลวCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26890 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593655 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-14 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593663 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-14 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. บทบาทของผู้ใหญ่บ้านในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในหมู่บ้าน อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี / อารีรัตน์ พรหมวิเชียร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : บทบาทของผู้ใหญ่บ้านในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในหมู่บ้าน อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Roles of Village Headman in Village’s Conflict Solving in Amphoe Kanchanadit, Surat Thani Province Material Type: printed text Authors: อารีรัตน์ พรหมวิเชียร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 98 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-32
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความขัดแย้ง (จิตวิทยา)
[LCSH]ผู้ใหญ่บ้าน -- บทบาท
[LCSH]ผู้ใหญ่บ้าน -- สุราษฎร์ธานีKeywords: การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง,
บทบาท,
ผู้ใหญ่บ้านAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทและเพื่อเปรียบเทียบวิธีการในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในหมู่บ้านในอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกอายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงานในตำแหน่ง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ผู้ใหญ่บ้านในอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 117 คน ใน 13 ตำบล เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเชิงสำรวจ สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการทดสอบสมมุติฐานใช้การทดสอบค่า F-test และการวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า บทบาทของผู้ใหญ่บ้านในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในหมู่บ้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการหลีกเลี่ยง รองลงมา ด้านการปรองดอง ด้านการประนีประนอม ด้านความร่วมมือร่วมใจ และด้านการบังคับ ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ใหญ่บ้านที่มีอายุต่างกัน ระดับการศึกษาต่างกัน มีบทบาทในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในภาพรวมไม่แตกต่างกัน แต่ผู้ใหญ่บ้านที่มีประสบการณ์ต่างกันมีบทบาทในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในหมู่บ้านโดยภาพรวมต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05.Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27021 SIU IS-T. บทบาทของผู้ใหญ่บ้านในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในหมู่บ้าน อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี = Roles of Village Headman in Village’s Conflict Solving in Amphoe Kanchanadit, Surat Thani Province [printed text] / อารีรัตน์ พรหมวิเชียร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 98 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-32
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความขัดแย้ง (จิตวิทยา)
[LCSH]ผู้ใหญ่บ้าน -- บทบาท
[LCSH]ผู้ใหญ่บ้าน -- สุราษฎร์ธานีKeywords: การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง,
บทบาท,
ผู้ใหญ่บ้านAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทและเพื่อเปรียบเทียบวิธีการในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในหมู่บ้านในอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกอายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงานในตำแหน่ง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ผู้ใหญ่บ้านในอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 117 คน ใน 13 ตำบล เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเชิงสำรวจ สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการทดสอบสมมุติฐานใช้การทดสอบค่า F-test และการวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า บทบาทของผู้ใหญ่บ้านในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในหมู่บ้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการหลีกเลี่ยง รองลงมา ด้านการปรองดอง ด้านการประนีประนอม ด้านความร่วมมือร่วมใจ และด้านการบังคับ ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ใหญ่บ้านที่มีอายุต่างกัน ระดับการศึกษาต่างกัน มีบทบาทในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในภาพรวมไม่แตกต่างกัน แต่ผู้ใหญ่บ้านที่มีประสบการณ์ต่างกันมีบทบาทในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในหมู่บ้านโดยภาพรวมต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05.Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27021 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594414 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-32 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594380 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-32 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. บทบาทของพระสงฆ์ในการพัฒนาชุมชน ในเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ศึกษาเฉพาะกรณีชุมชน เขต 1 / พระเมงฮุง มน
Collection Title: SIU IS-T Title : บทบาทของพระสงฆ์ในการพัฒนาชุมชน ในเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ศึกษาเฉพาะกรณีชุมชน เขต 1 Original title : Role of Monks in Community Development of Surat Thani Municipal Area: Case Study of Community Area 1 Material Type: printed text Authors: พระเมงฮุง มน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Pagination: vii, 99 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-16
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Community development
[LCSH]Monks
[LCSH]การพัฒนาชุมชน
[LCSH]พระสงฆ์Keywords: บทบาทของพระสงฆ์
การพัฒนาชุมชนAbstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนต่อบทบาทของพระสงฆ์ในการพัฒนาชุมชน และเพื่อศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาชุมชนของพระสงฆ์ Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26097 SIU IS-T. บทบาทของพระสงฆ์ในการพัฒนาชุมชน ในเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ศึกษาเฉพาะกรณีชุมชน เขต 1 = Role of Monks in Community Development of Surat Thani Municipal Area: Case Study of Community Area 1 [printed text] / พระเมงฮุง มน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [s.d.] . - vii, 99 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-16
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Community development
[LCSH]Monks
[LCSH]การพัฒนาชุมชน
[LCSH]พระสงฆ์Keywords: บทบาทของพระสงฆ์
การพัฒนาชุมชนAbstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนต่อบทบาทของพระสงฆ์ในการพัฒนาชุมชน และเพื่อศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาชุมชนของพระสงฆ์ Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26097 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590115 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-16 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000590123 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-16 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. บทบาทของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการสายตรวจ กับการป้องกันและปราบปรามการพนันฟุตบอล / ภูมิกวิน พลภาคภูมิ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : บทบาทของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการสายตรวจ กับการป้องกันและปราบปรามการพนันฟุตบอล Original title : Patrol Unit Police’s Roles in Football Betting Suppression Material Type: printed text Authors: ภูมิกวิน พลภาคภูมิ, Author ; เจษฎา นพคุณ ตั้งจิตนบ, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 56 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-01
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]Roles
[LCSH]Sports betting
[LCSH]การป้องกันและปราบปราม
[LCSH]การพนันฟุตบอล
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: บทบาท
การปราบปรามการพนันฟุตบอล
ทัศคติต่อการพนันฟุตบอล
ตำรวจสายตรวจ 191Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) บทบาทของสายตรวจ 191 ในการป้องกันและปราบปรามการพนันฟุตบอล และ 2) ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทในการป้องกันและปราบปรามการพนันฟุตบอลกับปัจจัยส่วนบุคคลและทัศนคติต่อการพนันฟุตบอลของสายตรวจ 191 Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26077 SIU IS-T. บทบาทของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการสายตรวจ กับการป้องกันและปราบปรามการพนันฟุตบอล = Patrol Unit Police’s Roles in Football Betting Suppression [printed text] / ภูมิกวิน พลภาคภูมิ, Author ; เจษฎา นพคุณ ตั้งจิตนบ, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 56 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-01
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]Roles
[LCSH]Sports betting
[LCSH]การป้องกันและปราบปราม
[LCSH]การพนันฟุตบอล
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: บทบาท
การปราบปรามการพนันฟุตบอล
ทัศคติต่อการพนันฟุตบอล
ตำรวจสายตรวจ 191Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) บทบาทของสายตรวจ 191 ในการป้องกันและปราบปรามการพนันฟุตบอล และ 2) ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทในการป้องกันและปราบปรามการพนันฟุตบอลกับปัจจัยส่วนบุคคลและทัศนคติต่อการพนันฟุตบอลของสายตรวจ 191 Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26077 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591428 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000506822 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-01 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. บทบาทหน้าที่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง / รัฐพล ไชยธรรม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : บทบาทหน้าที่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง Original title : Roles and Duties of Sub-District Local Administrative Organization’s Member in Management of Map Yang Porn Sub-District Local Administrative Organization Administration of, Plaukdang District, Rayong Province Material Type: printed text Authors: รัฐพล ไชยธรรม, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vi, 68 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหาร
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- บทบาท
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ระยอง -- มาบยางพรKeywords: การบริหารงาน,
บทบาท,
สมาชิก,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การค้นคว้าอิสระงานนี้จึงศึกษาบทบาทหน้าที่ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร โดยเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากเจ้าหน้าที่จำนวน 7 คน จากนั้นนำมาทำการวิเคราะห์ทางสถิติใช้สถิติเชิงพรรณา และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 41 - 50 ปี จบการศึกษามัธยมศึกษา มีระยะเวลาการปฏิบัติงาน 7-10 ปี สำหรับบทบาทหน้าที่โดยภาพรวม พบว่า ให้ความเห็นชอบตามแผนพัฒนาตำบล เมื่อมีการพิจารณาร่างข้อบัญญัติตำบลยึดหลักตามสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชน มีการทักท้วงให้ข้อเสนอแนะ ในเรื่องปัญหาอุปสรรคการปฏิบัติงานด้านแผนพัฒนาตำบล ข้อบัญญัติตำบล นอกจากนี้พบว่าการทำงานที่ล่าช้าไม่ทันความต้องการของประชาชน ในการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ผู้ตอบแบบสอบถามจะคอยเสนอแนะในการประชุมของผู้บริหาร ให้ข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล คือ ต้องประชาสัมพันธ์ พบปะประชาชน เสียสละ เสนอแผนงานโครงการตามนโยบายของการCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26653 SIU IS-T. บทบาทหน้าที่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง = Roles and Duties of Sub-District Local Administrative Organization’s Member in Management of Map Yang Porn Sub-District Local Administrative Organization Administration of, Plaukdang District, Rayong Province [printed text] / รัฐพล ไชยธรรม, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vi, 68 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหาร
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- บทบาท
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ระยอง -- มาบยางพรKeywords: การบริหารงาน,
บทบาท,
สมาชิก,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การค้นคว้าอิสระงานนี้จึงศึกษาบทบาทหน้าที่ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร โดยเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากเจ้าหน้าที่จำนวน 7 คน จากนั้นนำมาทำการวิเคราะห์ทางสถิติใช้สถิติเชิงพรรณา และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 41 - 50 ปี จบการศึกษามัธยมศึกษา มีระยะเวลาการปฏิบัติงาน 7-10 ปี สำหรับบทบาทหน้าที่โดยภาพรวม พบว่า ให้ความเห็นชอบตามแผนพัฒนาตำบล เมื่อมีการพิจารณาร่างข้อบัญญัติตำบลยึดหลักตามสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชน มีการทักท้วงให้ข้อเสนอแนะ ในเรื่องปัญหาอุปสรรคการปฏิบัติงานด้านแผนพัฒนาตำบล ข้อบัญญัติตำบล นอกจากนี้พบว่าการทำงานที่ล่าช้าไม่ทันความต้องการของประชาชน ในการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ผู้ตอบแบบสอบถามจะคอยเสนอแนะในการประชุมของผู้บริหาร ให้ข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล คือ ต้องประชาสัมพันธ์ พบปะประชาชน เสียสละ เสนอแผนงานโครงการตามนโยบายของการCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26653 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593010 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593028 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available กรณีศึกษาการดูแลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามแบบประคับประคอง: บทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง / ศิริพร เสมสาร in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : กรณีศึกษาการดูแลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามแบบประคับประคอง: บทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง Original title : A Case Study of Palliative Nursing Care for Persons with Advanced Lung Cancer: Roles of Advanced Practice Nurses Material Type: printed text Authors: ศิริพร เสมสาร, Author ; สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.11-26 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.11-26Keywords: มะเร็งปอดระยะลุกลาม. การดูแลแบบประคับประคอง บทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง Abstract: ผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามต้องเผชิญกับอาการ ผลกระทบจากการรักษาและความ
ก้าวหน้าของโรคอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แนวทางการดูแลรักษาจึงมุ่งหวังเพื่อประคับประคอง
ไม่ให้การดำเนินโรคลุกลามเร็ว หรือเพื่อบรรเทาอาการที่ก่อให้เกิดความทุกข์ทรมาน ช่วยให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามบริบท บทความนี้นLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26991 [article] กรณีศึกษาการดูแลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามแบบประคับประคอง: บทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง = A Case Study of Palliative Nursing Care for Persons with Advanced Lung Cancer: Roles of Advanced Practice Nurses [printed text] / ศิริพร เสมสาร, Author ; สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม, Author . - 2017 . - p.11-26.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.11-26Keywords: มะเร็งปอดระยะลุกลาม. การดูแลแบบประคับประคอง บทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง Abstract: ผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามต้องเผชิญกับอาการ ผลกระทบจากการรักษาและความ
ก้าวหน้าของโรคอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แนวทางการดูแลรักษาจึงมุ่งหวังเพื่อประคับประคอง
ไม่ให้การดำเนินโรคลุกลามเร็ว หรือเพื่อบรรเทาอาการที่ก่อให้เกิดความทุกข์ทรมาน ช่วยให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามบริบท บทความนี้นLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26991 การจัดการความขัดแย้งในการทำงาน : ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย / สุมาลี ยุทธวรวิทย์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : การจัดการความขัดแย้งในการทำงาน : ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย Original title : Conflict management at work : experiences of head nurses Material Type: printed text Authors: สุมาลี ยุทธวรวิทย์, (2507-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ญ, 143 แผ่น Layout: ตารงประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย. Class number: WY160 ส856 2550 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดเชิงปรากฎการณ์วิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายและประสบการณ์การจัดการความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยตั้งแต่ 3 ปี ขึ้นไป และมีประสบการณ์ในการจัดการความขัดแย้ง ในโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์แห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 15 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi (1978) ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าหอผู้ป่วยได้ให้ความหมายของการจัดการความขัดแย้งในการทำงานเป็น 2 ประเด็นคือ การทำให้เรื่องยุติลง และการลดระดับความรุนแรงของปัญหาให้สามารถดำเนินงานต่อไปได้ ส่วนประสบการณ์การจัดการความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบว่า สภาพการณ์ของความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยเกิดขึ้นระหว่างพยาบาลกับแพทย์ พยาบาลกับพยาบาลด้วยกัน พยาบาลกับผู้ช่วยเหลือคนไข้ และพยาบาลกับผู้ป่วยและญาติ ซึ่งความขัดแย้งระหว่างพยาบาลกับพยาบาลมีเกิดขึ้นมากที่สุด สาเหตุของความขัดแย้ง คือ ความคาดหวังในบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกัน การสื่อสารไม่มีประสิทธิภาพ การมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์แตกต่างกัน
ผลประโยชน์ไม่ลงตัว ตลอดจนความแตกต่างของคุณลักษณะส่วนบุคคล ซึ่งหัวหน้าหอผู้ป่วยสามารถรับรู้ความขัดแย้งได้จากการเดินตรวจเยี่ยมซักถามจากผู้รับบริการ คำบอกเล่าของบุคลากรในทีมการพยาบาลและการสังเกตพฤติกรรม ตลอดจนบรรยากาศในการทำงานที่ไม่เป็นมิตร โดยหัวหน้าหอผู้ป่วยได้เลือกใช้วิธีการจัดการความขัดแย้งหลากหลายวิธี ประกอบด้วยการประนีประนอมโดยการเจรจาไกล่เกลี่ย การแก้ไขปัญหาโดยใช้ทุกคนมีส่วนร่วม การโน้มน้าวให้เกิดการยอมรับ การขอร้องให้ยอมเพื่อประโยชน์ของหน่วยงาน รวมทั้งการหลีกเลี่ยงการปะทะความขัดแย้ง นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่าจากประสบการณ์สอนให้หัวหน้าหอผู้ป่วยเรียนรู้ว่า ควรป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้งจะดีกว่า โดยการจัดระบบงานและแนวทางปฏิบัติงานให้ชัดเจน มีการติดต่อสื่อสารหลายช่องทางมีการสร้างบรรยากาศในที่ทำงานเชิงสร้างสรรค์ การสร้างความน่าเชื่อถือให้ตนเอง และฝึกอบรมเพิ่มทักษะในการจัดการความขัดแย้ง ข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้ สามารถนำไปเป็นแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์ในการป้องกันและจัดการความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่เข้ารับตำแหน่งใหม่สามารถประยุกต์ใช้ในการจัดการความขัดแย้งในการทำงานได้อย่างเหมาะสม และผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาลให้มีทักษะเกี่ยวกับการจัดการความขัดแย้ง อันจะส่งผลต่อประสิทธิภาพของงาน ทำให้หน่วยงานมีความก้าวหน้ารวมทั้งผู้รับบริการได้รับบริการที่ดีมีคุณภาพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23228 การจัดการความขัดแย้งในการทำงาน : ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย = Conflict management at work : experiences of head nurses [printed text] / สุมาลี ยุทธวรวิทย์, (2507-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ญ, 143 แผ่น : ตารงประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย. Class number: WY160 ส856 2550 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดเชิงปรากฎการณ์วิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายและประสบการณ์การจัดการความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยตั้งแต่ 3 ปี ขึ้นไป และมีประสบการณ์ในการจัดการความขัดแย้ง ในโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์แห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 15 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi (1978) ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าหอผู้ป่วยได้ให้ความหมายของการจัดการความขัดแย้งในการทำงานเป็น 2 ประเด็นคือ การทำให้เรื่องยุติลง และการลดระดับความรุนแรงของปัญหาให้สามารถดำเนินงานต่อไปได้ ส่วนประสบการณ์การจัดการความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบว่า สภาพการณ์ของความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยเกิดขึ้นระหว่างพยาบาลกับแพทย์ พยาบาลกับพยาบาลด้วยกัน พยาบาลกับผู้ช่วยเหลือคนไข้ และพยาบาลกับผู้ป่วยและญาติ ซึ่งความขัดแย้งระหว่างพยาบาลกับพยาบาลมีเกิดขึ้นมากที่สุด สาเหตุของความขัดแย้ง คือ ความคาดหวังในบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกัน การสื่อสารไม่มีประสิทธิภาพ การมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์แตกต่างกัน
ผลประโยชน์ไม่ลงตัว ตลอดจนความแตกต่างของคุณลักษณะส่วนบุคคล ซึ่งหัวหน้าหอผู้ป่วยสามารถรับรู้ความขัดแย้งได้จากการเดินตรวจเยี่ยมซักถามจากผู้รับบริการ คำบอกเล่าของบุคลากรในทีมการพยาบาลและการสังเกตพฤติกรรม ตลอดจนบรรยากาศในการทำงานที่ไม่เป็นมิตร โดยหัวหน้าหอผู้ป่วยได้เลือกใช้วิธีการจัดการความขัดแย้งหลากหลายวิธี ประกอบด้วยการประนีประนอมโดยการเจรจาไกล่เกลี่ย การแก้ไขปัญหาโดยใช้ทุกคนมีส่วนร่วม การโน้มน้าวให้เกิดการยอมรับ การขอร้องให้ยอมเพื่อประโยชน์ของหน่วยงาน รวมทั้งการหลีกเลี่ยงการปะทะความขัดแย้ง นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่าจากประสบการณ์สอนให้หัวหน้าหอผู้ป่วยเรียนรู้ว่า ควรป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้งจะดีกว่า โดยการจัดระบบงานและแนวทางปฏิบัติงานให้ชัดเจน มีการติดต่อสื่อสารหลายช่องทางมีการสร้างบรรยากาศในที่ทำงานเชิงสร้างสรรค์ การสร้างความน่าเชื่อถือให้ตนเอง และฝึกอบรมเพิ่มทักษะในการจัดการความขัดแย้ง ข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้ สามารถนำไปเป็นแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์ในการป้องกันและจัดการความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่เข้ารับตำแหน่งใหม่สามารถประยุกต์ใช้ในการจัดการความขัดแย้งในการทำงานได้อย่างเหมาะสม และผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาลให้มีทักษะเกี่ยวกับการจัดการความขัดแย้ง อันจะส่งผลต่อประสิทธิภาพของงาน ทำให้หน่วยงานมีความก้าวหน้ารวมทั้งผู้รับบริการได้รับบริการที่ดีมีคุณภาพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23228 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355063 WY160 ส856 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available การประยุกต์ใช้นวตกรรมการดูแลโรคเรื้อร้งขององค์การอนามัยโลก / นงนุช โอบะ in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.13 No.2 (Apr-Jun) 2019 ([11/14/2019])
การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน / รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน : บทบาทพยาบาล Original title : Assessment of foot ulcer risk and nursing management in patients with diabetess the role of nurses Material Type: printed text Authors: รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย, Author ; พิมผกา ปัญโญใหญ่, Author ; สรัญญา พิจารณ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.145-155 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.145-155Keywords: ผู้ป่วยเบาหวาน.การจัดการแผลที่เท้า.การประเมินความเสี่ยง.บทบาทพยาบาล. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26876 [article] การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน = Assessment of foot ulcer risk and nursing management in patients with diabetess the role of nurses : บทบาทพยาบาล [printed text] / รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย, Author ; พิมผกา ปัญโญใหญ่, Author ; สรัญญา พิจารณ์, Author . - 2017 . - p.145-155.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.145-155Keywords: ผู้ป่วยเบาหวาน.การจัดการแผลที่เท้า.การประเมินความเสี่ยง.บทบาทพยาบาล. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26876 การประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน / กมลรัตน์ กิตติพิมพานนทฺ์ in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน : บทบาทพยาบาลชุมชนในหน่วยบริการปฐมภูมิ Original title : Fall risk assessment and management among older adults in the community the role of the public health nurse in the primary care Material Type: printed text Authors: กมลรัตน์ กิตติพิมพานนทฺ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.183-195 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.183-195Keywords: การจัดการปัจจัยเสี่ยง.การหกล้ม. ผู้สูงอายุในชุมชน.บทบาทพยาบาลชุมชน.หน่วยบริการปฐมภูมิ Abstract: การจัดการปัจจัยเสี่ยง.
การหกล้ม.
ผู้สูงอายุ.
บทบาทพยาบาลชุมชน.
หน่วยบริการปฐมภูมิ.Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26879 [article] การประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน = Fall risk assessment and management among older adults in the community the role of the public health nurse in the primary care : บทบาทพยาบาลชุมชนในหน่วยบริการปฐมภูมิ [printed text] / กมลรัตน์ กิตติพิมพานนทฺ์, Author . - 2017 . - p.183-195.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.183-195Keywords: การจัดการปัจจัยเสี่ยง.การหกล้ม. ผู้สูงอายุในชุมชน.บทบาทพยาบาลชุมชน.หน่วยบริการปฐมภูมิ Abstract: การจัดการปัจจัยเสี่ยง.
การหกล้ม.
ผู้สูงอายุ.
บทบาทพยาบาลชุมชน.
หน่วยบริการปฐมภูมิ.Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26879 การป้องกันและการจัดการภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม: บทบาทพยาบาล / มลฤดี เกษเพชร in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : การป้องกันและการจัดการภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม: บทบาทพยาบาล Original title : Prevention and Management of Arm Lymphedema in Breast Cancer Survivors: Nurse’s Roles Material Type: printed text Authors: มลฤดี เกษเพชร, Author ; นิโรบล กนกสุนทรรัตน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.1-10 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.1-10Keywords: ภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่ง. ผู้เป็นมะเร็งเต้านม. การป้องกัน. การควบคุม. บทบาทพยาบาล. Abstract: แขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบมากกว่าร้อยละ 20 ของผู้เป็นมะเร็งเต้านม พบได้ตั้งแต่ช่วงแรกของการรักษาจนถึงภายหลังการรักษาหลายเดือนหรือหลายปีเกิดจากมีการขัดขวางการไหลเวียนน้ำเหลืองจากแขนไม่ให้ไหลกลับหัวใจ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจาก
การรักษา ทั้งการผ่าตัดเต้านม การตัดเลาะต่อมน้ำเหลือง การฉายรังสีบริเวณใกล้เคียง และยาเคมีบำบัดบางชนิด เมื่อเกิดขึ้นแล้วมักหายยาก ก่อให้เกิดอาการไม่สุขสบายและกระทบต่อการดำรงชีวิต ภาวะนี้สามารถป้องกันและควบคุมได้ พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการป้องกันการเกิดและลดอาการไม่ให้รุนแรงจนรักษายาก บทความนี้ทบทวนความรู้เกี่ยวกับภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม โดยมีเนื้อหาครอบคลุมอุบัติการณ์ พยาธิสรีระ ระดับความรุนแรง สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง ผลกระทบ การประเมิน การรักษา และเสนอแนะบทบาทพยาบาลในการป้องกันและการควบคุมภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านมLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26990 [article] การป้องกันและการจัดการภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม: บทบาทพยาบาล = Prevention and Management of Arm Lymphedema in Breast Cancer Survivors: Nurse’s Roles [printed text] / มลฤดี เกษเพชร, Author ; นิโรบล กนกสุนทรรัตน์, Author . - 2017 . - p.1-10.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.1-10Keywords: ภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่ง. ผู้เป็นมะเร็งเต้านม. การป้องกัน. การควบคุม. บทบาทพยาบาล. Abstract: แขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบมากกว่าร้อยละ 20 ของผู้เป็นมะเร็งเต้านม พบได้ตั้งแต่ช่วงแรกของการรักษาจนถึงภายหลังการรักษาหลายเดือนหรือหลายปีเกิดจากมีการขัดขวางการไหลเวียนน้ำเหลืองจากแขนไม่ให้ไหลกลับหัวใจ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจาก
การรักษา ทั้งการผ่าตัดเต้านม การตัดเลาะต่อมน้ำเหลือง การฉายรังสีบริเวณใกล้เคียง และยาเคมีบำบัดบางชนิด เมื่อเกิดขึ้นแล้วมักหายยาก ก่อให้เกิดอาการไม่สุขสบายและกระทบต่อการดำรงชีวิต ภาวะนี้สามารถป้องกันและควบคุมได้ พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการป้องกันการเกิดและลดอาการไม่ให้รุนแรงจนรักษายาก บทความนี้ทบทวนความรู้เกี่ยวกับภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม โดยมีเนื้อหาครอบคลุมอุบัติการณ์ พยาธิสรีระ ระดับความรุนแรง สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง ผลกระทบ การประเมิน การรักษา และเสนอแนะบทบาทพยาบาลในการป้องกันและการควบคุมภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านมLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26990 การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลชุมชน / ชูชีพ มีศิริ, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลชุมชน Original title : Self development of head nurses, community hospitals Material Type: printed text Authors: ชูชีพ มีศิริ, (2508-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฌ, 141 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-174-370-6 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: การพัฒนาตนเอง.
โรงพยาบาลชุมชน.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ช212 2546 Abstract: ศึกษาความหมายและประสบการณ์การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลชุมชนสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแห่งหนึ่งในเขตภาคกลาง ที่มีประสบการณ์การทำงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 19 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าหอผู้ป่วยให้ความหมายของการพัฒนาตนเองว่า เป็นการปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้นในด้านความรู้และทักษะในการบริหารจัดการ ควบคู่ไปกับมีความรู้ความชำนาญในการปฏิบัติการพยาบาล เพื่อให้ได้รับการยอมรับจากผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา อีกประการคือเป็นความปรารถนาที่จะเรียนรู้อยู่เสมอ ทั้งนี้เพราะวิทยาการต่างๆ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ความปรารถนาภายในตนเป็นแรงจูงใจให้ต้องพัฒนาตนเอง เพื่อให้สามารถปรับตัวตอบสนองต่อระบบบริการสุขภาพ ส่วนประสบการณ์การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบว่า การพัฒนาจะเริ่มจากการมีแรงผลักดันหลังได้รับตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย ซึ่งประกอบไปด้วยความรู้สึกรับผิดชอบต่อตำแหน่งตามบทบาทหน้าที่ ความรู้สึกที่ต้องรู้มากกว่าผู้ใต้บังคับบัญชา ความต้องการเป็นแบบอย่างพยาบาลที่ดีในด้านการปฏิบัติการพยาบาล การต้องทำหน้าที่สอนและนิเทศบุคลากรในทีมสุขภาพ ประการสำคัญคือ ความรู้สึกขาดความพร้อมที่จะทำหน้าที่เป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย เป็นแรงผลักดันที่ทำให้มีความพยายามที่จะพัฒนาตนเอง ทั้งนี้โดยได้รับการสนับสนุนการพัฒนาตนเองจากหน่วยงานต้นสังกัดและครอบครัว นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่า วิธีการพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยประกอบไปด้วย การพัฒนาด้านความรู้โดยใช้วิธีการแสวงหาความรู้ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ การพัฒนาด้านจิตใจโดยการสำรวจตนเอง การควบคุมอารมณ์และการลดความเครียด และการพัฒนาร่างกายโดยการบริหารร่างกาย การดูแลสุขภาพและการเลือกบริโภคอาหาร ประการสำคัญผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยรู้สึกว่า ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานและผู้บังคับบัญชาในการพัฒนาตนเองน้อย ดังนั้นเพื่อให้หัวหน้าหอผู้ป่วยมีความมั่นใจและมีทักษะในการบริหารจัดการ จึงควรมีการเตรียมความพร้อมให้ก่อนได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23125 การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลชุมชน = Self development of head nurses, community hospitals [printed text] / ชูชีพ มีศิริ, (2508-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฌ, 141 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-174-370-6 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: การพัฒนาตนเอง.
โรงพยาบาลชุมชน.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ช212 2546 Abstract: ศึกษาความหมายและประสบการณ์การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลชุมชนสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแห่งหนึ่งในเขตภาคกลาง ที่มีประสบการณ์การทำงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 19 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าหอผู้ป่วยให้ความหมายของการพัฒนาตนเองว่า เป็นการปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้นในด้านความรู้และทักษะในการบริหารจัดการ ควบคู่ไปกับมีความรู้ความชำนาญในการปฏิบัติการพยาบาล เพื่อให้ได้รับการยอมรับจากผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา อีกประการคือเป็นความปรารถนาที่จะเรียนรู้อยู่เสมอ ทั้งนี้เพราะวิทยาการต่างๆ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ความปรารถนาภายในตนเป็นแรงจูงใจให้ต้องพัฒนาตนเอง เพื่อให้สามารถปรับตัวตอบสนองต่อระบบบริการสุขภาพ ส่วนประสบการณ์การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบว่า การพัฒนาจะเริ่มจากการมีแรงผลักดันหลังได้รับตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย ซึ่งประกอบไปด้วยความรู้สึกรับผิดชอบต่อตำแหน่งตามบทบาทหน้าที่ ความรู้สึกที่ต้องรู้มากกว่าผู้ใต้บังคับบัญชา ความต้องการเป็นแบบอย่างพยาบาลที่ดีในด้านการปฏิบัติการพยาบาล การต้องทำหน้าที่สอนและนิเทศบุคลากรในทีมสุขภาพ ประการสำคัญคือ ความรู้สึกขาดความพร้อมที่จะทำหน้าที่เป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย เป็นแรงผลักดันที่ทำให้มีความพยายามที่จะพัฒนาตนเอง ทั้งนี้โดยได้รับการสนับสนุนการพัฒนาตนเองจากหน่วยงานต้นสังกัดและครอบครัว นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่า วิธีการพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยประกอบไปด้วย การพัฒนาด้านความรู้โดยใช้วิธีการแสวงหาความรู้ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ การพัฒนาด้านจิตใจโดยการสำรวจตนเอง การควบคุมอารมณ์และการลดความเครียด และการพัฒนาร่างกายโดยการบริหารร่างกาย การดูแลสุขภาพและการเลือกบริโภคอาหาร ประการสำคัญผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยรู้สึกว่า ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานและผู้บังคับบัญชาในการพัฒนาตนเองน้อย ดังนั้นเพื่อให้หัวหน้าหอผู้ป่วยมีความมั่นใจและมีทักษะในการบริหารจัดการ จึงควรมีการเตรียมความพร้อมให้ก่อนได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23125 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354405 WY18 ช212 2546 Book Main Library General Shelf Available