From this page you can:
Home |
Search results
9 result(s) search for keyword(s) 'การทำงาน. พยาบาลวิชาชีพ บุคลิกภาพ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาทและความยืดหยุ่น / วรรณฤดี เชาว์ศรีกุล / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาทและความยืดหยุ่น : ของทีมกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ Original title : Relationships between personality, working ability, role diversity, flexibility of teams and nursing team effectiveness of professional nurses in intensive care units, regional hospital and medical centers Material Type: printed text Authors: วรรณฤดี เชาว์ศรีกุล, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก-ฎ, 192 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-031-431-7 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)) -- จุฬาลงกรณ์มหาิวิทยาลัย,2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บุคลิกภาพ
[LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การทำงาน.
พยาบาลวิชาชีพ
บุคลิกภาพ.Class number: WY100 ว777 2544 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัีมพันธ์ีระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท และความยืดหยุ่นของทีม กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ และศึกษากลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมทำนายประสิืทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ทีมการพยาบาล 74 ทีม ที่ประกอบด้วย พยาบาลวิชาบีพ จำนวน 471 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย จากประชากร 977 คน ซึ่งปฎิบัติงานอยู่ในหอผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ เครื่องมือที่ใช้ในการรบวรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท ความยืดหยุ่นของทีม และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ผ่านการตรวจสอบความตรงทางเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าความเที่ยงระหว่าง 0.70-0.93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรขั้นตอน (ใช้ทีมเป็นหน่วยในการวิเคราะห์) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย 3.83)
2. ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน และความยืดหยุ่นของทีม มีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับสูง กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.72, 0.77 และ0.78 ตามลำดับ) บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิกภาพประนีประนอม และบุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.33, 0.32 และ 0.31) ตามลำดับ และบุคลิกภาพเปิดเผยมีความสัมพันธ์ในระดับต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.20) ส่วนบุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ไม่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล
3. กลุ่มตัวแปรพยากรณ์ที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ได้แก่ ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน ความยืดหยุ่นของทีม และบุคลิกภาพควบคุมตนเองโดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 73 (R=0.73) โดยมีสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23307 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาทและความยืดหยุ่น = Relationships between personality, working ability, role diversity, flexibility of teams and nursing team effectiveness of professional nurses in intensive care units, regional hospital and medical centers : ของทีมกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ [printed text] / วรรณฤดี เชาว์ศรีกุล, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก-ฎ, 192 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-031-431-7 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)) -- จุฬาลงกรณ์มหาิวิทยาลัย,2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บุคลิกภาพ
[LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การทำงาน.
พยาบาลวิชาชีพ
บุคลิกภาพ.Class number: WY100 ว777 2544 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัีมพันธ์ีระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท และความยืดหยุ่นของทีม กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ และศึกษากลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมทำนายประสิืทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ทีมการพยาบาล 74 ทีม ที่ประกอบด้วย พยาบาลวิชาบีพ จำนวน 471 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย จากประชากร 977 คน ซึ่งปฎิบัติงานอยู่ในหอผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ เครื่องมือที่ใช้ในการรบวรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท ความยืดหยุ่นของทีม และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ผ่านการตรวจสอบความตรงทางเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าความเที่ยงระหว่าง 0.70-0.93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรขั้นตอน (ใช้ทีมเป็นหน่วยในการวิเคราะห์) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย 3.83)
2. ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน และความยืดหยุ่นของทีม มีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับสูง กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.72, 0.77 และ0.78 ตามลำดับ) บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิกภาพประนีประนอม และบุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.33, 0.32 และ 0.31) ตามลำดับ และบุคลิกภาพเปิดเผยมีความสัมพันธ์ในระดับต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.20) ส่วนบุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ไม่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล
3. กลุ่มตัวแปรพยากรณ์ที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ได้แก่ ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน ความยืดหยุ่นของทีม และบุคลิกภาพควบคุมตนเองโดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 73 (R=0.73) โดยมีสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23307 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000384667 THE WY100 ว777 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. แนวทางในการสร้างแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด / สุนันทา สาภูงา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : แนวทางในการสร้างแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด Original title : Motivation Building Direction of Polices in Narcotics Suppression Police Bureau Material Type: printed text Authors: สุนันทา สาภูงา, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 73 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-34
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด
[LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจKeywords: การทำงาน,
แรงจูงใจ,
ตำรวจAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเพื่อเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด จำนวน 310 คน ใช้สถิติ เช่น ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากมีอายุระหว่าง 31 ถึง 40 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีระดับตำแหน่งชั้นยศ ส.ต.ต. ถึง ส.ต.อ. มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 ถึง 20,000 บาท และมีอายุราชการระหว่าง 1 ถึง 10 ปี ผลการวิจัยพบว่า ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด มีระดับแรงจูงในการทำงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความรับผิดชอบ รองลงมา คือ ด้านความสำเร็จในการงาน ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ตามลำดับ ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่าปัจจัยส่วนบุคคลกับแรงจูงใจในการทำงาน พบว่า ข้าราชการตำรวจที่มีอายุ ระดับการศึกษา ระดับตำแหน่งชั้นยศ รายได้ และอายุราชการ แตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการทำงาน ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27271 SIU IS-T. แนวทางในการสร้างแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด = Motivation Building Direction of Polices in Narcotics Suppression Police Bureau [printed text] / สุนันทา สาภูงา, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 73 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-34
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด
[LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจKeywords: การทำงาน,
แรงจูงใจ,
ตำรวจAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเพื่อเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด จำนวน 310 คน ใช้สถิติ เช่น ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากมีอายุระหว่าง 31 ถึง 40 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีระดับตำแหน่งชั้นยศ ส.ต.ต. ถึง ส.ต.อ. มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 ถึง 20,000 บาท และมีอายุราชการระหว่าง 1 ถึง 10 ปี ผลการวิจัยพบว่า ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด มีระดับแรงจูงในการทำงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความรับผิดชอบ รองลงมา คือ ด้านความสำเร็จในการงาน ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ตามลำดับ ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่าปัจจัยส่วนบุคคลกับแรงจูงใจในการทำงาน พบว่า ข้าราชการตำรวจที่มีอายุ ระดับการศึกษา ระดับตำแหน่งชั้นยศ รายได้ และอายุราชการ แตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการทำงาน ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27271 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594950 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-34 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594968 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-34 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจร / เรืองฤทธิ์ โล่ห์คำ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจร Original title : Work Motivation for Police Patrol Officers 4 (Vehicle Convoy), Division 1, Traffic Police Division Material Type: printed text Authors: เรืองฤทธิ์ โล่ห์คำ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: ix, 87 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-07
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงาน -- ไทยKeywords: แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน
การทำงานเป็นทีม
ข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจรAbstract: การที่คนเราจะเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงานได้จะต้องมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานดังนั้นแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การมีผลต่อความสำเร็จของงานและองค์การงานสายตรวจ 4 กก.1 บก.จร. เป็นหน่วยงานหนึ่งในสังกัด กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีภารกิจหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการประสานงานสนับสนุนและดำเนินการเกี่ยวกับงานอำนวยการจราจรในการนำขบวนเพื่อถวายความปลอดภัยและรักษาความปลอดภัยขบวนบุคคลสำคัญ ตลอดจนอำนวยการนำขบวนในงานกิจการพิเศษต่างๆ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและการทำงานเป็นทีมของข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจร Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26082 SIU IS-T. แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจร = Work Motivation for Police Patrol Officers 4 (Vehicle Convoy), Division 1, Traffic Police Division [printed text] / เรืองฤทธิ์ โล่ห์คำ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - ix, 87 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-07
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงาน -- ไทยKeywords: แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน
การทำงานเป็นทีม
ข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจรAbstract: การที่คนเราจะเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงานได้จะต้องมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานดังนั้นแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การมีผลต่อความสำเร็จของงานและองค์การงานสายตรวจ 4 กก.1 บก.จร. เป็นหน่วยงานหนึ่งในสังกัด กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีภารกิจหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการประสานงานสนับสนุนและดำเนินการเกี่ยวกับงานอำนวยการจราจรในการนำขบวนเพื่อถวายความปลอดภัยและรักษาความปลอดภัยขบวนบุคคลสำคัญ ตลอดจนอำนวยการนำขบวนในงานกิจการพิเศษต่างๆ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและการทำงานเป็นทีมของข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจร Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26082 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000506905 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-07 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000506848 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-07 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000591469 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-07 c.3 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available การทำงานร่วมกันของพยาบาลและแพทย์ / สงกราน มาประสพ / คณะพยาบาลศา่สตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : การทำงานร่วมกันของพยาบาลและแพทย์ Original title : Working relation of nurses an physicians Material Type: printed text Authors: สงกราน มาประสพ, Author Publisher: คณะพยาบาลศา่สตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ญ, 120 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-031-732-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และพยาบาล
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]แพทย์ -- การทำงานKeywords: แพทย์.
พยาบาล.
การทำงาน.
วิทยานิพนธ์.Class number: WY18 ส821 2544 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23115 การทำงานร่วมกันของพยาบาลและแพทย์ = Working relation of nurses an physicians [printed text] / สงกราน มาประสพ, Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศา่สตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ญ, 120 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-031-732-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และพยาบาล
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]แพทย์ -- การทำงานKeywords: แพทย์.
พยาบาล.
การทำงาน.
วิทยานิพนธ์.Class number: WY18 ส821 2544 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23115 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354348 WY18 ส821 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available การวิเคราะห์ตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ / นงนาจ เสริมศรี / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : การวิเคราะห์ตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ Original title : A factor analysis of competency of charge nurse, governmental university hospitals Material Type: printed text Authors: นงนาจ เสริมศรี, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ฌ, 131 แผ่น : แผนภูมิ Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การวิเคราะห์ตัวประกอบ
[LCSH]สมรรถภาพในการทำงาน
[LCSH]โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐKeywords: การทำงาน.
สมรรถนะ.
ตัวประกอบ.Class number: WY115 น525 2550 Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะพยาบาลของหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยใน ตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 355 คน ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 7 แห่ง โดยใช้ประชากรทั้งหมดเป็นกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และทดสอบความเที่ยงด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอนบราค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การวิเคราะห์ตัวประกอบ สกัดตัวประกอบด้วยวิธีตัวประกอบหลัก และหมุนแกนแบบออโธโกนอล ด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มี 7 ตัวประกอบ บรรยายด้วย 54 ตัวแปร มีค่าความแปรปรวนรวมกัน คิดเป็นร้อยละ 65.056 โดยมีตัวประกอบ ดังนี้ 6.569 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 5 ตัวแปร 1. การปฏิบัติการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 12.838 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 11 ตัวแปร 2. การแก้ปัญหาและการตัดสินใจ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 10.340 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 7 ตัวแปร 3. การบริหารจัดการ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 10.026 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 10 ตัวแปร 4. การใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 9.383 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 7 ตัวแปร 5. ภาวะผู้นำ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 9.003 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 10 ตัวแปร 6. การสื่อสารและสัมพันธภาพ เป็นตัวประกอบสมรรถนะพยาบาลของหัวหน้าเวร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 6.897 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 4 ตัวแปร 7. การจัดการความขัดแย้ง เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 6.569 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 5 ตัวแปร Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23229 การวิเคราะห์ตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ = A factor analysis of competency of charge nurse, governmental university hospitals [printed text] / นงนาจ เสริมศรี, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ฌ, 131 แผ่น : แผนภูมิ : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การวิเคราะห์ตัวประกอบ
[LCSH]สมรรถภาพในการทำงาน
[LCSH]โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐKeywords: การทำงาน.
สมรรถนะ.
ตัวประกอบ.Class number: WY115 น525 2550 Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะพยาบาลของหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยใน ตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 355 คน ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 7 แห่ง โดยใช้ประชากรทั้งหมดเป็นกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และทดสอบความเที่ยงด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอนบราค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การวิเคราะห์ตัวประกอบ สกัดตัวประกอบด้วยวิธีตัวประกอบหลัก และหมุนแกนแบบออโธโกนอล ด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มี 7 ตัวประกอบ บรรยายด้วย 54 ตัวแปร มีค่าความแปรปรวนรวมกัน คิดเป็นร้อยละ 65.056 โดยมีตัวประกอบ ดังนี้ 6.569 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 5 ตัวแปร 1. การปฏิบัติการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 12.838 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 11 ตัวแปร 2. การแก้ปัญหาและการตัดสินใจ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 10.340 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 7 ตัวแปร 3. การบริหารจัดการ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 10.026 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 10 ตัวแปร 4. การใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 9.383 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 7 ตัวแปร 5. ภาวะผู้นำ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 9.003 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 10 ตัวแปร 6. การสื่อสารและสัมพันธภาพ เป็นตัวประกอบสมรรถนะพยาบาลของหัวหน้าเวร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 6.897 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 4 ตัวแปร 7. การจัดการความขัดแย้ง เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 6.569 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 5 ตัวแปร Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23229 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355246 THE WY115 น525 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available การศึกษาสมมรถนะหลักของพยาบาลบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข / สมนึก สุวรรณภูเต / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Title : การศึกษาสมมรถนะหลักของพยาบาลบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : A study of professional nurse's core competencies at general hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: สมนึก สุวรรณภูเต, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2548 Pagination: ก-ฎ, 195 แผ่น Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-532-766-2 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]สมรรถภาพในการทำงานKeywords: พยาบาล.
การทำงาน.Class number: WY100.1 ส865 2548 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาโดยใช้เทคนิคเดลฟาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพพยาบาล จำนวน 18 คน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาพยาบาล ด้านการบริหารทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล และด้านกฎหมายและจริยธรรมทางวิชาชีพพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ใช้ระยะเวลารวบรวมข้อมูล 142 วัน แบบสอบถามรอบแรกเป็นแบบสอบถามปลายเปิดและปลายปิด รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ตรวจสอบความตรงของเนื้อหาโดยพิจารณาตามเกณฑ์ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นตรงกันมากกว่าร้อยละ 80 และตรวจสอบความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach's alpha) ค่าความเที่ยงในรอบที่ 1 และรอบที่ 2 เท่ากับ .81 ทั้งสองรอบ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จากการสอบถามผู้เชี่ยวชาญในรอบที่ 1 ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 9 ด้าน จำนวน 83 รายการ รอบที่ 2 ประกอบด้วนสมรรถนะหลัก 6 ด้าน จำนวน 77 รายการ และรอบที่ 3 ประกอบด้วย สมรรถนะหลัก 6 ด้าน จำนวน 72 รายการ โดยสรุปสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 6 ด้าน คือ ด้านองค์ความรู้ทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ด้านการวิจัยและการพัฒนาตนเอง ด้านภาวะผู้นำและการบริหารจัดการ ด้านจริยธรรรมจรรยาบรรณวิชาชีพและวัฒนธรรม และด้านการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันทุกข้อ นอกจากนั้นยังมีสมรรถนะรายข้อย่อยที่มีความสำคัญในระดับมากอีกรวม 71 รายการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23153 การศึกษาสมมรถนะหลักของพยาบาลบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข = A study of professional nurse's core competencies at general hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health [printed text] / สมนึก สุวรรณภูเต, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 . - ก-ฎ, 195 แผ่น ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-532-766-2 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]สมรรถภาพในการทำงานKeywords: พยาบาล.
การทำงาน.Class number: WY100.1 ส865 2548 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาโดยใช้เทคนิคเดลฟาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพพยาบาล จำนวน 18 คน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาพยาบาล ด้านการบริหารทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล และด้านกฎหมายและจริยธรรมทางวิชาชีพพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ใช้ระยะเวลารวบรวมข้อมูล 142 วัน แบบสอบถามรอบแรกเป็นแบบสอบถามปลายเปิดและปลายปิด รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ตรวจสอบความตรงของเนื้อหาโดยพิจารณาตามเกณฑ์ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นตรงกันมากกว่าร้อยละ 80 และตรวจสอบความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach's alpha) ค่าความเที่ยงในรอบที่ 1 และรอบที่ 2 เท่ากับ .81 ทั้งสองรอบ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จากการสอบถามผู้เชี่ยวชาญในรอบที่ 1 ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 9 ด้าน จำนวน 83 รายการ รอบที่ 2 ประกอบด้วนสมรรถนะหลัก 6 ด้าน จำนวน 77 รายการ และรอบที่ 3 ประกอบด้วย สมรรถนะหลัก 6 ด้าน จำนวน 72 รายการ โดยสรุปสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 6 ด้าน คือ ด้านองค์ความรู้ทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ด้านการวิจัยและการพัฒนาตนเอง ด้านภาวะผู้นำและการบริหารจัดการ ด้านจริยธรรรมจรรยาบรรณวิชาชีพและวัฒนธรรม และด้านการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันทุกข้อ นอกจากนั้นยังมีสมรรถนะรายข้อย่อยที่มีความสำคัญในระดับมากอีกรวม 71 รายการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23153 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354603 WY100.1 ส865 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 / อโนชา ทองกองทุน / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 Material Type: printed text Authors: อโนชา ทองกองทุน, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก- ฌ, 184 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-170-062-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]เทคนิคเดลฟายKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
พยาบาลประจำการ.
การทำงานเป็นทีม.Class number: WY18 อ985 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เพื่อ ศึกษาขอบเขตการปฏิบัติงานของหัีวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นที่ 2 ศึกษาขอบเขตการปฎบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 โดยใช้เทคนิด Ethnographic Future Research (EDFR) ทำการคัดเลือกขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป และเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 19 ท่าน (Md มากกว่า 3.50, IR น้อย 1.50) ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 99 วัน
ผลการวิจัยพบว่า ขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 ประกอบด้วย ขอบเขตการปฏิบัติงาน 6 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการบริหารทั่วไป ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบาย และการวางแผนในระดับหน่วยงาน และระดับโรงพยาบาล ตลอดจนการบริหารจัดการในหน่วยงานเกี่ยวกับงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ รวมถึงอาคาร สถานที่
2. ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ บุคลากรพยาบาลในหน่วยงาน การพัฒนาบุคลากร รวมทั้งการรักษาบุคลากรที่มีคุณค่าเอาไว้
3. ด้านการบริการและการพัฒนาคุณภาพการบริการ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน ทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพบริการ
4. ด้านวิชาการและการวิจัย ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้่ด้วยตนเองของบุคลากรพยาบาล และการพัฒนาการวิจัย
5. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ด้านการพัฒนาวิชาชีพ ครอบคุลมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติการพยาบาลเชิงวิชาชีพ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23331 ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 [printed text] / อโนชา ทองกองทุน, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก- ฌ, 184 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-170-062-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]เทคนิคเดลฟายKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
พยาบาลประจำการ.
การทำงานเป็นทีม.Class number: WY18 อ985 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เพื่อ ศึกษาขอบเขตการปฏิบัติงานของหัีวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นที่ 2 ศึกษาขอบเขตการปฎบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 โดยใช้เทคนิด Ethnographic Future Research (EDFR) ทำการคัดเลือกขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป และเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 19 ท่าน (Md มากกว่า 3.50, IR น้อย 1.50) ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 99 วัน
ผลการวิจัยพบว่า ขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 ประกอบด้วย ขอบเขตการปฏิบัติงาน 6 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการบริหารทั่วไป ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบาย และการวางแผนในระดับหน่วยงาน และระดับโรงพยาบาล ตลอดจนการบริหารจัดการในหน่วยงานเกี่ยวกับงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ รวมถึงอาคาร สถานที่
2. ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ บุคลากรพยาบาลในหน่วยงาน การพัฒนาบุคลากร รวมทั้งการรักษาบุคลากรที่มีคุณค่าเอาไว้
3. ด้านการบริการและการพัฒนาคุณภาพการบริการ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน ทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพบริการ
4. ด้านวิชาการและการวิจัย ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้่ด้วยตนเองของบุคลากรพยาบาล และการพัฒนาการวิจัย
5. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ด้านการพัฒนาวิชาชีพ ครอบคุลมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติการพยาบาลเชิงวิชาชีพ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23331 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357267 THE WY18 อ985 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ประสบการณ์การปฎิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพภายใต้สถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ / สุรัสวดี ไมตรีกุล / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : ประสบการณ์การปฎิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพภายใต้สถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ Original title : Working experiences of professional nurses under violent situation in southern border province Material Type: printed text Authors: สุรัสวดี ไมตรีกุล, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ญ, 180 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
การทำงาน.
จังหวัดชายแดนภาคใต้.Class number: WY100 ส848 2550 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฎการณ์วิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจบริบทและประสบการณ์การปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพภายใต้สถานการณ์รุนแรงในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ ศึกษาในโรงพยาบาลศูนย์ยะลาซึ่งเป็นโรงพยาบาลระดับตติยภูมิในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้ให้ข้อมูล เป็นพยาบาลวิชาชีพที่คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงมีประสบการณ์การปฏิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ยะลา 2 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความและวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษามีดังนี้ ภายใต้สถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ทำให้พยาบาลวิชาชีพมองการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากปรากฎการณ์นี้ว่าเปรียบเสมือนอยู่ในภาวะสงคราม บรรยากาศการอยู่ร่วมกันของผู้คนเป็นไปอย่างไร้ความสุขและเต็มไปด้วยความสับสนโดยเฉพาะการใช้ชีวิตประจำวันอยู่ในความหวาดกลัวรู้สึกไม่ปลอดภัยในชีวิตและต้องระมัดระวังตัวตลอดเวลา ทั้งนี้เนื่องจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นมีแต่ปัญหาการบาดเจ็บและล้มตายของคนรอบตัวจากการถูกระเบิด ดังนั้นการปฏิบัติงานของพยาบาลจึงเครียดมากขึ้นเพราะการที่พยาบาลต้องปฏิบัติงานภายใต้สภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัยกับชีวิตทำให้รู้สึกเครียดทั้งงานและเครียดกับความปลอดภัยในชีวิต ซึ่งพยาบาลต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของตนเองเพื่อให้สามารถทำงานได้ต่อไปรวมทั้งต้องหาวิธีการจัดการกับความเครียด ซึ่งส่วนใหญ่ใช้วิธีการหันเหความสนใจและปรับตัวโดยการยึดศาสนาเป็นที่พึ่งทางจิตใจ สำหรับการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมโดยแบ่งเป็นการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ปกติ ด้านการให้บริการพยาบาล ด้านการบริหาร และด้านวิชาการที่ต้องปฏิบัติคงเดิม ส่วนบทบาทหน้าที่ใหม่ที่เพิ่มขึ้นคือการปฏิบัติการช่วยเหลือในอุบัติภัยหมู่ คำแนะนำด้านสุขภาพที่ต้องมุ่งเน้นการให้คำแนะนำในการมาโรงพยาบาลอย่างปลอดภัย สำหรับการปฏิบัติงานที่ลดน้อยลงคือการบริการส่งเสริมสุขภาพ งานฟื้นฟูสุขภาพทำได้ยากขึ้นและการเยี่ยมบ้านต้องหยุดชะงักลง งานบริการการส่งต่อผู้ป่วยที่รูปแบบการบริการเปลี่ยนไปโดยเฉพาะงานรับผู้ป่วยที่จุดเกิดเหตุดำเนินการน้อยลงเนื่องจากเกรงความไม่ปลอดภัย สำหรับเหตุผลที่ทำให้พยาบาลสามารถคงอยู่ปฏิบัติงานท่ามกลางความไม่ปลอดภัยคือ 1) ได้รับขวัญกำลังใจจากหน่วยราชการ 2) ความรักและความผูกพันที่มีต่อถิ่นเกิด 3) รู้สึกภาคภูมิใจในวิชาชีพพยาบาลที่สามารถเป็นที่พึ่งให้กับผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ ผลการศึกษาที่ได้แม้พยาบาลวิชาชีพจะยังคงปฏิบัติงานท่ามกลางความไม่ปลอดภัยต่อไปได้แต่ผู้บริหารของกระทรวงสาธารณสุขและผู้บริหารทางการพยาบาลควรมีการกำหนดนโยบายเชิงรุกเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนพยาบาลในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้และต้องหาวิธีการต่างๆในการสนับสนุนและส่งเสริมขวัญและกำลังใจตลอดจนหามาตรการสร้างความปลอดภัยในชีวิตพยาบาลด้วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23215 ประสบการณ์การปฎิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพภายใต้สถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ = Working experiences of professional nurses under violent situation in southern border province [printed text] / สุรัสวดี ไมตรีกุล, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ญ, 180 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
การทำงาน.
จังหวัดชายแดนภาคใต้.Class number: WY100 ส848 2550 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฎการณ์วิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจบริบทและประสบการณ์การปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพภายใต้สถานการณ์รุนแรงในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ ศึกษาในโรงพยาบาลศูนย์ยะลาซึ่งเป็นโรงพยาบาลระดับตติยภูมิในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้ให้ข้อมูล เป็นพยาบาลวิชาชีพที่คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงมีประสบการณ์การปฏิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ยะลา 2 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความและวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษามีดังนี้ ภายใต้สถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ทำให้พยาบาลวิชาชีพมองการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากปรากฎการณ์นี้ว่าเปรียบเสมือนอยู่ในภาวะสงคราม บรรยากาศการอยู่ร่วมกันของผู้คนเป็นไปอย่างไร้ความสุขและเต็มไปด้วยความสับสนโดยเฉพาะการใช้ชีวิตประจำวันอยู่ในความหวาดกลัวรู้สึกไม่ปลอดภัยในชีวิตและต้องระมัดระวังตัวตลอดเวลา ทั้งนี้เนื่องจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นมีแต่ปัญหาการบาดเจ็บและล้มตายของคนรอบตัวจากการถูกระเบิด ดังนั้นการปฏิบัติงานของพยาบาลจึงเครียดมากขึ้นเพราะการที่พยาบาลต้องปฏิบัติงานภายใต้สภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัยกับชีวิตทำให้รู้สึกเครียดทั้งงานและเครียดกับความปลอดภัยในชีวิต ซึ่งพยาบาลต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของตนเองเพื่อให้สามารถทำงานได้ต่อไปรวมทั้งต้องหาวิธีการจัดการกับความเครียด ซึ่งส่วนใหญ่ใช้วิธีการหันเหความสนใจและปรับตัวโดยการยึดศาสนาเป็นที่พึ่งทางจิตใจ สำหรับการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมโดยแบ่งเป็นการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ปกติ ด้านการให้บริการพยาบาล ด้านการบริหาร และด้านวิชาการที่ต้องปฏิบัติคงเดิม ส่วนบทบาทหน้าที่ใหม่ที่เพิ่มขึ้นคือการปฏิบัติการช่วยเหลือในอุบัติภัยหมู่ คำแนะนำด้านสุขภาพที่ต้องมุ่งเน้นการให้คำแนะนำในการมาโรงพยาบาลอย่างปลอดภัย สำหรับการปฏิบัติงานที่ลดน้อยลงคือการบริการส่งเสริมสุขภาพ งานฟื้นฟูสุขภาพทำได้ยากขึ้นและการเยี่ยมบ้านต้องหยุดชะงักลง งานบริการการส่งต่อผู้ป่วยที่รูปแบบการบริการเปลี่ยนไปโดยเฉพาะงานรับผู้ป่วยที่จุดเกิดเหตุดำเนินการน้อยลงเนื่องจากเกรงความไม่ปลอดภัย สำหรับเหตุผลที่ทำให้พยาบาลสามารถคงอยู่ปฏิบัติงานท่ามกลางความไม่ปลอดภัยคือ 1) ได้รับขวัญกำลังใจจากหน่วยราชการ 2) ความรักและความผูกพันที่มีต่อถิ่นเกิด 3) รู้สึกภาคภูมิใจในวิชาชีพพยาบาลที่สามารถเป็นที่พึ่งให้กับผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ ผลการศึกษาที่ได้แม้พยาบาลวิชาชีพจะยังคงปฏิบัติงานท่ามกลางความไม่ปลอดภัยต่อไปได้แต่ผู้บริหารของกระทรวงสาธารณสุขและผู้บริหารทางการพยาบาลควรมีการกำหนดนโยบายเชิงรุกเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนพยาบาลในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้และต้องหาวิธีการต่างๆในการสนับสนุนและส่งเสริมขวัญและกำลังใจตลอดจนหามาตรการสร้างความปลอดภัยในชีวิตพยาบาลด้วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23215 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355055 WY100 ส848 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของการใช้โปรแกรมการทำงานเป็นทีมเพื่อป้องกันความผิดพลาดในห้องผ่าตัดศัลยกรรมต่อประสิทธิผลของงาน / รุ้งสวรรค์ สุวัฒโน in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Vol.27 No.3 (Sep-Dec) 2015/2558 ([06/27/2016])
[article]
Title : ผลของการใช้โปรแกรมการทำงานเป็นทีมเพื่อป้องกันความผิดพลาดในห้องผ่าตัดศัลยกรรมต่อประสิทธิผลของงาน Original title : The effect of teamwork for advance events prevention program in surgical operating theater on work effectiveness Material Type: printed text Authors: รุ้งสวรรค์ สุวัฒโน, Author ; สุวิณี วิวัฒน์วานิช, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.146-155 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Vol.27 No.3 (Sep-Dec) 2015/2558 [06/27/2016] . - p.146-155Keywords: ห้องผ่าตัดศัลยกรรม.การทำงานเป็นทีม.ความผิดพลาดในห้องผ่าตัด.ประสิทธิผลของงาน. Link for e-copy: http://tci-thaijo.org/index.php/CUNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25540 [article] ผลของการใช้โปรแกรมการทำงานเป็นทีมเพื่อป้องกันความผิดพลาดในห้องผ่าตัดศัลยกรรมต่อประสิทธิผลของงาน = The effect of teamwork for advance events prevention program in surgical operating theater on work effectiveness [printed text] / รุ้งสวรรค์ สุวัฒโน, Author ; สุวิณี วิวัฒน์วานิช, Author . - 2016 . - p.146-155.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)