From this page you can:
Home |
Search results
25 result(s) search for keyword(s) 'การทำงาน. สมรรถนะ. ตัวประกอบ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
การวิเคราะห์ตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ / นงนาจ เสริมศรี / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : การวิเคราะห์ตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ Original title : A factor analysis of competency of charge nurse, governmental university hospitals Material Type: printed text Authors: นงนาจ เสริมศรี, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ฌ, 131 แผ่น : แผนภูมิ Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การวิเคราะห์ตัวประกอบ
[LCSH]สมรรถภาพในการทำงาน
[LCSH]โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐKeywords: การทำงาน.
สมรรถนะ.
ตัวประกอบ.Class number: WY115 น525 2550 Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะพยาบาลของหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยใน ตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 355 คน ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 7 แห่ง โดยใช้ประชากรทั้งหมดเป็นกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และทดสอบความเที่ยงด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอนบราค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การวิเคราะห์ตัวประกอบ สกัดตัวประกอบด้วยวิธีตัวประกอบหลัก และหมุนแกนแบบออโธโกนอล ด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มี 7 ตัวประกอบ บรรยายด้วย 54 ตัวแปร มีค่าความแปรปรวนรวมกัน คิดเป็นร้อยละ 65.056 โดยมีตัวประกอบ ดังนี้ 6.569 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 5 ตัวแปร 1. การปฏิบัติการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 12.838 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 11 ตัวแปร 2. การแก้ปัญหาและการตัดสินใจ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 10.340 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 7 ตัวแปร 3. การบริหารจัดการ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 10.026 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 10 ตัวแปร 4. การใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 9.383 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 7 ตัวแปร 5. ภาวะผู้นำ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 9.003 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 10 ตัวแปร 6. การสื่อสารและสัมพันธภาพ เป็นตัวประกอบสมรรถนะพยาบาลของหัวหน้าเวร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 6.897 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 4 ตัวแปร 7. การจัดการความขัดแย้ง เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 6.569 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 5 ตัวแปร Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23229 การวิเคราะห์ตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ = A factor analysis of competency of charge nurse, governmental university hospitals [printed text] / นงนาจ เสริมศรี, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ฌ, 131 แผ่น : แผนภูมิ : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การวิเคราะห์ตัวประกอบ
[LCSH]สมรรถภาพในการทำงาน
[LCSH]โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐKeywords: การทำงาน.
สมรรถนะ.
ตัวประกอบ.Class number: WY115 น525 2550 Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะพยาบาลของหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยใน ตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 355 คน ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 7 แห่ง โดยใช้ประชากรทั้งหมดเป็นกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และทดสอบความเที่ยงด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอนบราค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การวิเคราะห์ตัวประกอบ สกัดตัวประกอบด้วยวิธีตัวประกอบหลัก และหมุนแกนแบบออโธโกนอล ด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มี 7 ตัวประกอบ บรรยายด้วย 54 ตัวแปร มีค่าความแปรปรวนรวมกัน คิดเป็นร้อยละ 65.056 โดยมีตัวประกอบ ดังนี้ 6.569 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 5 ตัวแปร 1. การปฏิบัติการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 12.838 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 11 ตัวแปร 2. การแก้ปัญหาและการตัดสินใจ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 10.340 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 7 ตัวแปร 3. การบริหารจัดการ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 10.026 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 10 ตัวแปร 4. การใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 9.383 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 7 ตัวแปร 5. ภาวะผู้นำ เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 9.003 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 10 ตัวแปร 6. การสื่อสารและสัมพันธภาพ เป็นตัวประกอบสมรรถนะพยาบาลของหัวหน้าเวร สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 6.897 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 4 ตัวแปร 7. การจัดการความขัดแย้ง เป็นตัวประกอบสมรรถนะของพยาบาลหัวหน้าเวร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 6.569 มีตัวแปรที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 5 ตัวแปร Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23229 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355246 THE WY115 น525 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2554
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Collection Title: Old book collection Title : ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2554 Pagination: 182 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-974-383-227-7 Price: บริจาค. (250.00) General note: หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 3 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2554 . - 182 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-383-227-7 : บริจาค. (250.00)
หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383719 WY105 ค181 2554 Book Main Library Library Counter Available SIU THE-T. รูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย / เอกพงษ์ หริ่มเจริญ / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2021
Collection Title: SIU THE-T Title : รูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย Original title : Entrepreneurial Competency Development of Agribusiness Processing Business Industrial Entrepreneurs in Thailand Material Type: printed text Authors: เอกพงษ์ หริ่มเจริญ, Author ; สรณ โภชนจันทร์, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2021 Pagination: x, 149 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2021-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2564Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
[LCSH]อุตสาหกรรมการผลิต
[LCSH]อุตสาหกรรมการเกษตร -- ไทยKeywords: สมรรถนะที่จำเป็นของผู้ประกอบการ, วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, อุตสาหกรรมการผลิต, ธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย 2) เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทยในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มผู้เชี่ยวชาญในการสัมภาษณ์เชิงลึกจำนวน 10 คน และกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis) ผลจากการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการพัฒนารูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลักได้แก่ ด้านความรู้ (Knowledge) ด้านทักษะ (Skill) และ ด้านคุณลักษณะอื่นๆ (Attitude) Curricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28564 SIU THE-T. รูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย = Entrepreneurial Competency Development of Agribusiness Processing Business Industrial Entrepreneurs in Thailand [printed text] / เอกพงษ์ หริ่มเจริญ, Author ; สรณ โภชนจันทร์, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name . - [S.l.] : ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021 . - x, 149 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2021-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2564
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
[LCSH]อุตสาหกรรมการผลิต
[LCSH]อุตสาหกรรมการเกษตร -- ไทยKeywords: สมรรถนะที่จำเป็นของผู้ประกอบการ, วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, อุตสาหกรรมการผลิต, ธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย 2) เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทยในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มผู้เชี่ยวชาญในการสัมภาษณ์เชิงลึกจำนวน 10 คน และกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis) ผลจากการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการพัฒนารูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลักได้แก่ ด้านความรู้ (Knowledge) ด้านทักษะ (Skill) และ ด้านคุณลักษณะอื่นๆ (Attitude) Curricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28564 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607639 SIU THE-T: SOM-DBA-2021-01 c.2 Book Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607674 SIU THE-T: SOM-DBA-2021-01 c.1 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. แนวทางในการสร้างแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด / สุนันทา สาภูงา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : แนวทางในการสร้างแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด Original title : Motivation Building Direction of Polices in Narcotics Suppression Police Bureau Material Type: printed text Authors: สุนันทา สาภูงา, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 73 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-34
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด
[LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจKeywords: การทำงาน,
แรงจูงใจ,
ตำรวจAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเพื่อเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด จำนวน 310 คน ใช้สถิติ เช่น ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากมีอายุระหว่าง 31 ถึง 40 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีระดับตำแหน่งชั้นยศ ส.ต.ต. ถึง ส.ต.อ. มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 ถึง 20,000 บาท และมีอายุราชการระหว่าง 1 ถึง 10 ปี ผลการวิจัยพบว่า ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด มีระดับแรงจูงในการทำงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความรับผิดชอบ รองลงมา คือ ด้านความสำเร็จในการงาน ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ตามลำดับ ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่าปัจจัยส่วนบุคคลกับแรงจูงใจในการทำงาน พบว่า ข้าราชการตำรวจที่มีอายุ ระดับการศึกษา ระดับตำแหน่งชั้นยศ รายได้ และอายุราชการ แตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการทำงาน ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27271 SIU IS-T. แนวทางในการสร้างแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด = Motivation Building Direction of Polices in Narcotics Suppression Police Bureau [printed text] / สุนันทา สาภูงา, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 73 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-34
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด
[LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจKeywords: การทำงาน,
แรงจูงใจ,
ตำรวจAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเพื่อเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด จำนวน 310 คน ใช้สถิติ เช่น ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากมีอายุระหว่าง 31 ถึง 40 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีระดับตำแหน่งชั้นยศ ส.ต.ต. ถึง ส.ต.อ. มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 ถึง 20,000 บาท และมีอายุราชการระหว่าง 1 ถึง 10 ปี ผลการวิจัยพบว่า ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด มีระดับแรงจูงในการทำงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความรับผิดชอบ รองลงมา คือ ด้านความสำเร็จในการงาน ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ตามลำดับ ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่าปัจจัยส่วนบุคคลกับแรงจูงใจในการทำงาน พบว่า ข้าราชการตำรวจที่มีอายุ ระดับการศึกษา ระดับตำแหน่งชั้นยศ รายได้ และอายุราชการ แตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการทำงาน ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27271 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594950 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-34 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594968 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-34 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจร / เรืองฤทธิ์ โล่ห์คำ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจร Original title : Work Motivation for Police Patrol Officers 4 (Vehicle Convoy), Division 1, Traffic Police Division Material Type: printed text Authors: เรืองฤทธิ์ โล่ห์คำ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: ix, 87 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-07
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงาน -- ไทยKeywords: แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน
การทำงานเป็นทีม
ข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจรAbstract: การที่คนเราจะเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงานได้จะต้องมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานดังนั้นแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การมีผลต่อความสำเร็จของงานและองค์การงานสายตรวจ 4 กก.1 บก.จร. เป็นหน่วยงานหนึ่งในสังกัด กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีภารกิจหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการประสานงานสนับสนุนและดำเนินการเกี่ยวกับงานอำนวยการจราจรในการนำขบวนเพื่อถวายความปลอดภัยและรักษาความปลอดภัยขบวนบุคคลสำคัญ ตลอดจนอำนวยการนำขบวนในงานกิจการพิเศษต่างๆ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและการทำงานเป็นทีมของข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจร Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26082 SIU IS-T. แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจร = Work Motivation for Police Patrol Officers 4 (Vehicle Convoy), Division 1, Traffic Police Division [printed text] / เรืองฤทธิ์ โล่ห์คำ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - ix, 87 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-07
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงาน -- ไทยKeywords: แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน
การทำงานเป็นทีม
ข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจรAbstract: การที่คนเราจะเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงานได้จะต้องมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานดังนั้นแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การมีผลต่อความสำเร็จของงานและองค์การงานสายตรวจ 4 กก.1 บก.จร. เป็นหน่วยงานหนึ่งในสังกัด กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีภารกิจหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการประสานงานสนับสนุนและดำเนินการเกี่ยวกับงานอำนวยการจราจรในการนำขบวนเพื่อถวายความปลอดภัยและรักษาความปลอดภัยขบวนบุคคลสำคัญ ตลอดจนอำนวยการนำขบวนในงานกิจการพิเศษต่างๆ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและการทำงานเป็นทีมของข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจร Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26082 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000506905 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-07 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000506848 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-07 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000591469 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-07 c.3 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available การทำงานร่วมกันของพยาบาลและแพทย์ / สงกราน มาประสพ / คณะพยาบาลศา่สตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : การทำงานร่วมกันของพยาบาลและแพทย์ Original title : Working relation of nurses an physicians Material Type: printed text Authors: สงกราน มาประสพ, Author Publisher: คณะพยาบาลศา่สตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ญ, 120 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-031-732-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และพยาบาล
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]แพทย์ -- การทำงานKeywords: แพทย์.
พยาบาล.
การทำงาน.
วิทยานิพนธ์.Class number: WY18 ส821 2544 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23115 การทำงานร่วมกันของพยาบาลและแพทย์ = Working relation of nurses an physicians [printed text] / สงกราน มาประสพ, Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศา่สตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ญ, 120 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-031-732-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และพยาบาล
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]แพทย์ -- การทำงานKeywords: แพทย์.
พยาบาล.
การทำงาน.
วิทยานิพนธ์.Class number: WY18 ส821 2544 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23115 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354348 WY18 ส821 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2558
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000520526 WY105 ก181 2558 Book Main Library General Shelf Not for loan การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2560
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Title : การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย : สมรรถนะพยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2560 Pagination: 255 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-929912-7 Price: บริจาค (250.00) General note: จัดพิมพ์โดยสมาคมพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก (แห่งประเทศไทย). Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Thoracic -- assessment
[NLM]Cardiovascular -- assessment
[NLM]Thoracic -- assessment
[NLM]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[NLM]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ก181 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27645
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย : สมรรถนะพยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2560 . - 255 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม.
ISBN : 978-6-16-929912-7 : บริจาค (250.00)
จัดพิมพ์โดยสมาคมพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก (แห่งประเทศไทย).
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Thoracic -- assessment
[NLM]Cardiovascular -- assessment
[NLM]Thoracic -- assessment
[NLM]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[NLM]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ก181 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27645 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000520534 WY105 ก181 2560 c.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000521656 WY105 ก181 2560 c.11 Book Main Library General Shelf Available 32002000521649 WY105 ก181 2560 c.12 Book Main Library General Shelf Available 32002000521631 WY105 ก181 2560 c.13 Book Main Library General Shelf Available 32002000521730 WY105 ก181 2560 c.14 Book Main Library General Shelf Available 32002000521599 WY105 ก181 2560 c.15 Book Main Library General Shelf Available 32002000521573 WY105 ก181 2560 c.16 Book Main Library General Shelf Available 32002000521581 WY105 ก181 2560 c.17 Book Main Library General Shelf Available 32002000521565 WY105 ก181 2560 c.18 Book Main Library General Shelf Available 32002000521557 WY105 ก181 2560 c.19 Book Main Library General Shelf Available 32002000521540 WY105 ก181 2560 c.20 Book Main Library General Shelf Available 32002000521532 WY105 ก181 2560 c.21 Book Main Library General Shelf Available 32002000521524 WY105 ก181 2560 c.22 Book Main Library General Shelf Available 32002000521516 WY105 ก181 2560 c.23 Book Main Library General Shelf Available 32002000521508 WY105 ก181 2560 c.24 Book Main Library General Shelf Available 32002000521490 WY105 ก181 2560 c.25 Book Main Library General Shelf Available 32002000521607 WY105 ก181 2560 c.26 Book Main Library General Shelf Available 32002000521771 WY105 ก181 2560 c.27 Book Main Library General Shelf Available 32002000521763 WY105 ก181 2560 c.28 Book Main Library General Shelf Available 32002000521615 WY105 ก181 2560 c.29 Book Main Library General Shelf Available 32002000521623 WY105 ก181 2560 c.30 Book Main Library General Shelf Available 32002000521722 WY105 ก181 2560 c.31 Book Main Library General Shelf Available 32002000521664 WY105 ก181 2560 c.10 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521755 WY105 ก181 2560 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521714 WY105 ก181 2560 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521748 WY105 ก181 2560 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521706 WY105 ก181 2560 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521698 WY105 ก181 2560 c.6 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521680 WY105 ก181 2560 c.7 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521672 WY105 ก181 2560 c.9 Book Main Library Nursing Shelf Due for return by 01/21/2025 การพัฒนาเกณฑ์ประเมินสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ / จารีศรี กุลศิริปัญโญ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การพัฒนาเกณฑ์ประเมินสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ Original title : The development of criterion one valuation register nurse competencies Material Type: printed text Authors: จารีศรี กุลศิริปัญโญ, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.123-130 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.123-130Keywords: สมรรถนะวิชาชีพ.พยาบาลวิชาชีพ. Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ 8 ด้าน ซึ่งประกอบด้วยสมรรถนะ ด้านจริยธรรม ด้านการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ด้านคุณลักษณะเชิงวิชาชีพ ด้านภาวะผู้รำการจัดการและการพัฒนาคุณภาพ ด้านวิชาการและการวิจัน สมรรถนะการสื่อสารและสัมพันธภาพ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านสังคม โดยอาศัยวิธีการเดลฟายเป็นเทคนิคที่มีผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 20 ท่าน ตอบแบบสอบถามจำนวน 3 รอบ โดยแต่ละรอบผู้วิจัยจะสรุปคำตอบของรอบนั้นเพื่อเป็นข้อมูลสำหรับตอบคำถามในรอบถัดไป การสอบถามจะหยุดลงเมื่อได้รับข้อสรุปที่มั่นคง และได้ค่าทางสถิติ. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24960 [article] การพัฒนาเกณฑ์ประเมินสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ = The development of criterion one valuation register nurse competencies [printed text] / จารีศรี กุลศิริปัญโญ, Author . - 2015 . - p.123-130.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.123-130Keywords: สมรรถนะวิชาชีพ.พยาบาลวิชาชีพ. Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ 8 ด้าน ซึ่งประกอบด้วยสมรรถนะ ด้านจริยธรรม ด้านการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ด้านคุณลักษณะเชิงวิชาชีพ ด้านภาวะผู้รำการจัดการและการพัฒนาคุณภาพ ด้านวิชาการและการวิจัน สมรรถนะการสื่อสารและสัมพันธภาพ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านสังคม โดยอาศัยวิธีการเดลฟายเป็นเทคนิคที่มีผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 20 ท่าน ตอบแบบสอบถามจำนวน 3 รอบ โดยแต่ละรอบผู้วิจัยจะสรุปคำตอบของรอบนั้นเพื่อเป็นข้อมูลสำหรับตอบคำถามในรอบถัดไป การสอบถามจะหยุดลงเมื่อได้รับข้อสรุปที่มั่นคง และได้ค่าทางสถิติ. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24960 การศึกษาสมมรถนะหลักของพยาบาลบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข / สมนึก สุวรรณภูเต / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Title : การศึกษาสมมรถนะหลักของพยาบาลบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : A study of professional nurse's core competencies at general hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: สมนึก สุวรรณภูเต, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2548 Pagination: ก-ฎ, 195 แผ่น Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-532-766-2 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]สมรรถภาพในการทำงานKeywords: พยาบาล.
การทำงาน.Class number: WY100.1 ส865 2548 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาโดยใช้เทคนิคเดลฟาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพพยาบาล จำนวน 18 คน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาพยาบาล ด้านการบริหารทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล และด้านกฎหมายและจริยธรรมทางวิชาชีพพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ใช้ระยะเวลารวบรวมข้อมูล 142 วัน แบบสอบถามรอบแรกเป็นแบบสอบถามปลายเปิดและปลายปิด รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ตรวจสอบความตรงของเนื้อหาโดยพิจารณาตามเกณฑ์ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นตรงกันมากกว่าร้อยละ 80 และตรวจสอบความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach's alpha) ค่าความเที่ยงในรอบที่ 1 และรอบที่ 2 เท่ากับ .81 ทั้งสองรอบ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จากการสอบถามผู้เชี่ยวชาญในรอบที่ 1 ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 9 ด้าน จำนวน 83 รายการ รอบที่ 2 ประกอบด้วนสมรรถนะหลัก 6 ด้าน จำนวน 77 รายการ และรอบที่ 3 ประกอบด้วย สมรรถนะหลัก 6 ด้าน จำนวน 72 รายการ โดยสรุปสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 6 ด้าน คือ ด้านองค์ความรู้ทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ด้านการวิจัยและการพัฒนาตนเอง ด้านภาวะผู้นำและการบริหารจัดการ ด้านจริยธรรรมจรรยาบรรณวิชาชีพและวัฒนธรรม และด้านการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันทุกข้อ นอกจากนั้นยังมีสมรรถนะรายข้อย่อยที่มีความสำคัญในระดับมากอีกรวม 71 รายการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23153 การศึกษาสมมรถนะหลักของพยาบาลบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข = A study of professional nurse's core competencies at general hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health [printed text] / สมนึก สุวรรณภูเต, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 . - ก-ฎ, 195 แผ่น ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-532-766-2 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]สมรรถภาพในการทำงานKeywords: พยาบาล.
การทำงาน.Class number: WY100.1 ส865 2548 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาโดยใช้เทคนิคเดลฟาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพพยาบาล จำนวน 18 คน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาพยาบาล ด้านการบริหารทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล และด้านกฎหมายและจริยธรรมทางวิชาชีพพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ใช้ระยะเวลารวบรวมข้อมูล 142 วัน แบบสอบถามรอบแรกเป็นแบบสอบถามปลายเปิดและปลายปิด รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ตรวจสอบความตรงของเนื้อหาโดยพิจารณาตามเกณฑ์ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นตรงกันมากกว่าร้อยละ 80 และตรวจสอบความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach's alpha) ค่าความเที่ยงในรอบที่ 1 และรอบที่ 2 เท่ากับ .81 ทั้งสองรอบ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จากการสอบถามผู้เชี่ยวชาญในรอบที่ 1 ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 9 ด้าน จำนวน 83 รายการ รอบที่ 2 ประกอบด้วนสมรรถนะหลัก 6 ด้าน จำนวน 77 รายการ และรอบที่ 3 ประกอบด้วย สมรรถนะหลัก 6 ด้าน จำนวน 72 รายการ โดยสรุปสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 6 ด้าน คือ ด้านองค์ความรู้ทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ด้านการวิจัยและการพัฒนาตนเอง ด้านภาวะผู้นำและการบริหารจัดการ ด้านจริยธรรรมจรรยาบรรณวิชาชีพและวัฒนธรรม และด้านการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันทุกข้อ นอกจากนั้นยังมีสมรรถนะรายข้อย่อยที่มีความสำคัญในระดับมากอีกรวม 71 รายการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23153 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354603 WY100.1 ส865 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available การศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญีโรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข / กานดา เลาหศิลป์สมจิตร์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : การศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญีโรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข Original title : A sStudy of nurse anesthetists' competencies, hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: กานดา เลาหศิลป์สมจิตร์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ฎ, 147 แผ่น Layout: แผนภูมิ. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-531-679-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Anesthesiology
[LCSH]Nurse anesthetists
[LCSH]พยาบาลวิสัญญี
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาลวิสัญญี.Class number: WY151 ก125 2547 Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัยคือ เพื่อศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญีโรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข วิธีดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 26 ท่าน คัดเลือกสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 และค่าผลต่างระหว่างฐานนิยมและมัธยฐานไม่เกิน 1.00 ระยะเวลาการรวบรวมข้อมูล รวมทั้งสิ้น 145 วัน ผลการวิจัยพบว่าสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลรัฐกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วย 4 สมรรถนะหลัก ดังนี้ 1. ด้านการพยาบาลวิสัญญี ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ การประเมินผู้ป่วยก่อนให้ยาระงับความรู้สึก การเฝ้าระวังผู้ป่วยระหว่างให้ยาระงับความรู้สึก การประเมินผู้ป่วยในระยะพักฟื้นหลังให้ยาระงับความรู้สึก การตัดสินใจแก้ไขปัญหาภาวะวิกฤต และทักษะการทำหัตถการ 2. ด้านทักษะทางสังคม ประกอบด้วย 2 ด้าน ได้แก่ การประสานงานระหว่างทีมสหสาขาวิชาชีพ และทีมงานวิสัญญี และการประสานความร่วมมือกับผู้ป่วยและญาติ 3. ด้านวิชาการ ประกอบด้วย 2 ด้าน ได้แก่ ความรู้ และการใช้เทคโนโลยี 4. ด้านคุณลักษณะ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23309 การศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญีโรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข = A sStudy of nurse anesthetists' competencies, hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health [printed text] / กานดา เลาหศิลป์สมจิตร์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ฎ, 147 แผ่น : แผนภูมิ. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-531-679-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Anesthesiology
[LCSH]Nurse anesthetists
[LCSH]พยาบาลวิสัญญี
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาลวิสัญญี.Class number: WY151 ก125 2547 Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัยคือ เพื่อศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญีโรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข วิธีดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 26 ท่าน คัดเลือกสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 และค่าผลต่างระหว่างฐานนิยมและมัธยฐานไม่เกิน 1.00 ระยะเวลาการรวบรวมข้อมูล รวมทั้งสิ้น 145 วัน ผลการวิจัยพบว่าสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลรัฐกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วย 4 สมรรถนะหลัก ดังนี้ 1. ด้านการพยาบาลวิสัญญี ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ การประเมินผู้ป่วยก่อนให้ยาระงับความรู้สึก การเฝ้าระวังผู้ป่วยระหว่างให้ยาระงับความรู้สึก การประเมินผู้ป่วยในระยะพักฟื้นหลังให้ยาระงับความรู้สึก การตัดสินใจแก้ไขปัญหาภาวะวิกฤต และทักษะการทำหัตถการ 2. ด้านทักษะทางสังคม ประกอบด้วย 2 ด้าน ได้แก่ การประสานงานระหว่างทีมสหสาขาวิชาชีพ และทีมงานวิสัญญี และการประสานความร่วมมือกับผู้ป่วยและญาติ 3. ด้านวิชาการ ประกอบด้วย 2 ด้าน ได้แก่ ความรู้ และการใช้เทคโนโลยี 4. ด้านคุณลักษณะ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23309 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000384683 THE WY151 ก125 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available การศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ / นุจรี สันติสำราญวิไล / คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : การศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ Original title : A study of competency of chemotherapy nurses, goverment hospital Material Type: printed text Authors: นุจรี สันติสำราญวิไล, Author Publisher: คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ญ, 217 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]เคมีบำบัดKeywords: พยาบาล.
เคมีบำบัด.
สมรรถนะ.Class number: WY141 น542 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ โดยประยุกต์ใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 26 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้ให้ข้อมูลหลักที่มีความรู้และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย ผู้ให้ข้อมูลหลักกลุ่มสาขาด้านการแพทย์เฉพาะทางโรคมะเร็ง กลุ่มนักวิชาการ กลุ่มพยาบาลผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง กลุ่มผู้บริหารทางการพยาบาลหน่วยบริการเคมีบำบัด และกลุ่มพยาบาลผู้ปฏิบัติการให้ยาเคมีบำบัด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งสิ้น 50 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ ที่ผู้ให้ข้อมูลหลักมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยสมรรถนะย่อย 90 ข้อ เป็นสมรรถนะย่อยที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 58 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 32 ข้อ จำแนกเป็น 7 สมรรถนะหลัก แต่ละสมรรถนะหลักประกอบด้วยสมรรถนะย่อยดังนี้ 1. สมรรถนะด้านความรู้เกี่ยวกับยาเคมีบำบัดและการบริหารยา ประกอบด้วย 19 ข้อ 2. สมรรถนะด้านการจัดการความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน ประกอบด้วย 8 ข้อ 3. สมรรถนะด้านการเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนระหว่างและหลังได้รับยาเคมีบำบัด ประกอบด้วย12 ข้อ 4. สมรรถนะด้านความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโรคและผลกระทบ ประกอบด้วย 6 ข้อ 5. สมรรถนะด้านการสื่อสาร การสอนและการให้ข้อมูลประกอบด้วย 22 ข้อ 6. สมรรถนะด้านจริยธรรมและการพิทักษ์สิทธิ ประกอบด้วย 12 ข้อ 7. สมรรถนะด้านการพัฒนาความรู้ และการวิจัย ประกอบด้วย 11 ข้อ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23177 การศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ = A study of competency of chemotherapy nurses, goverment hospital [printed text] / นุจรี สันติสำราญวิไล, Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ญ, 217 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]เคมีบำบัดKeywords: พยาบาล.
เคมีบำบัด.
สมรรถนะ.Class number: WY141 น542 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ โดยประยุกต์ใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 26 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้ให้ข้อมูลหลักที่มีความรู้และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย ผู้ให้ข้อมูลหลักกลุ่มสาขาด้านการแพทย์เฉพาะทางโรคมะเร็ง กลุ่มนักวิชาการ กลุ่มพยาบาลผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง กลุ่มผู้บริหารทางการพยาบาลหน่วยบริการเคมีบำบัด และกลุ่มพยาบาลผู้ปฏิบัติการให้ยาเคมีบำบัด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งสิ้น 50 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ ที่ผู้ให้ข้อมูลหลักมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยสมรรถนะย่อย 90 ข้อ เป็นสมรรถนะย่อยที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 58 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 32 ข้อ จำแนกเป็น 7 สมรรถนะหลัก แต่ละสมรรถนะหลักประกอบด้วยสมรรถนะย่อยดังนี้ 1. สมรรถนะด้านความรู้เกี่ยวกับยาเคมีบำบัดและการบริหารยา ประกอบด้วย 19 ข้อ 2. สมรรถนะด้านการจัดการความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน ประกอบด้วย 8 ข้อ 3. สมรรถนะด้านการเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนระหว่างและหลังได้รับยาเคมีบำบัด ประกอบด้วย12 ข้อ 4. สมรรถนะด้านความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโรคและผลกระทบ ประกอบด้วย 6 ข้อ 5. สมรรถนะด้านการสื่อสาร การสอนและการให้ข้อมูลประกอบด้วย 22 ข้อ 6. สมรรถนะด้านจริยธรรมและการพิทักษ์สิทธิ ประกอบด้วย 12 ข้อ 7. สมรรถนะด้านการพัฒนาความรู้ และการวิจัย ประกอบด้วย 11 ข้อ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23177 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355519 WY141 น542 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 / อโนชา ทองกองทุน / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 Material Type: printed text Authors: อโนชา ทองกองทุน, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก- ฌ, 184 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-170-062-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]เทคนิคเดลฟายKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
พยาบาลประจำการ.
การทำงานเป็นทีม.Class number: WY18 อ985 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เพื่อ ศึกษาขอบเขตการปฏิบัติงานของหัีวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นที่ 2 ศึกษาขอบเขตการปฎบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 โดยใช้เทคนิด Ethnographic Future Research (EDFR) ทำการคัดเลือกขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป และเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 19 ท่าน (Md มากกว่า 3.50, IR น้อย 1.50) ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 99 วัน
ผลการวิจัยพบว่า ขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 ประกอบด้วย ขอบเขตการปฏิบัติงาน 6 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการบริหารทั่วไป ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบาย และการวางแผนในระดับหน่วยงาน และระดับโรงพยาบาล ตลอดจนการบริหารจัดการในหน่วยงานเกี่ยวกับงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ รวมถึงอาคาร สถานที่
2. ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ บุคลากรพยาบาลในหน่วยงาน การพัฒนาบุคลากร รวมทั้งการรักษาบุคลากรที่มีคุณค่าเอาไว้
3. ด้านการบริการและการพัฒนาคุณภาพการบริการ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน ทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพบริการ
4. ด้านวิชาการและการวิจัย ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้่ด้วยตนเองของบุคลากรพยาบาล และการพัฒนาการวิจัย
5. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ด้านการพัฒนาวิชาชีพ ครอบคุลมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติการพยาบาลเชิงวิชาชีพ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23331 ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 [printed text] / อโนชา ทองกองทุน, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก- ฌ, 184 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-170-062-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]เทคนิคเดลฟายKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
พยาบาลประจำการ.
การทำงานเป็นทีม.Class number: WY18 อ985 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เพื่อ ศึกษาขอบเขตการปฏิบัติงานของหัีวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นที่ 2 ศึกษาขอบเขตการปฎบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 โดยใช้เทคนิด Ethnographic Future Research (EDFR) ทำการคัดเลือกขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป และเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 19 ท่าน (Md มากกว่า 3.50, IR น้อย 1.50) ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 99 วัน
ผลการวิจัยพบว่า ขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 ประกอบด้วย ขอบเขตการปฏิบัติงาน 6 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการบริหารทั่วไป ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบาย และการวางแผนในระดับหน่วยงาน และระดับโรงพยาบาล ตลอดจนการบริหารจัดการในหน่วยงานเกี่ยวกับงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ รวมถึงอาคาร สถานที่
2. ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ บุคลากรพยาบาลในหน่วยงาน การพัฒนาบุคลากร รวมทั้งการรักษาบุคลากรที่มีคุณค่าเอาไว้
3. ด้านการบริการและการพัฒนาคุณภาพการบริการ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน ทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพบริการ
4. ด้านวิชาการและการวิจัย ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้่ด้วยตนเองของบุคลากรพยาบาล และการพัฒนาการวิจัย
5. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ด้านการพัฒนาวิชาชีพ ครอบคุลมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติการพยาบาลเชิงวิชาชีพ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23331 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357267 THE WY18 อ985 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาทและความยืดหยุ่น / วรรณฤดี เชาว์ศรีกุล / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาทและความยืดหยุ่น : ของทีมกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ Original title : Relationships between personality, working ability, role diversity, flexibility of teams and nursing team effectiveness of professional nurses in intensive care units, regional hospital and medical centers Material Type: printed text Authors: วรรณฤดี เชาว์ศรีกุล, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก-ฎ, 192 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-031-431-7 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)) -- จุฬาลงกรณ์มหาิวิทยาลัย,2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บุคลิกภาพ
[LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การทำงาน.
พยาบาลวิชาชีพ
บุคลิกภาพ.Class number: WY100 ว777 2544 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัีมพันธ์ีระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท และความยืดหยุ่นของทีม กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ และศึกษากลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมทำนายประสิืทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ทีมการพยาบาล 74 ทีม ที่ประกอบด้วย พยาบาลวิชาบีพ จำนวน 471 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย จากประชากร 977 คน ซึ่งปฎิบัติงานอยู่ในหอผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ เครื่องมือที่ใช้ในการรบวรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท ความยืดหยุ่นของทีม และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ผ่านการตรวจสอบความตรงทางเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าความเที่ยงระหว่าง 0.70-0.93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรขั้นตอน (ใช้ทีมเป็นหน่วยในการวิเคราะห์) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย 3.83)
2. ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน และความยืดหยุ่นของทีม มีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับสูง กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.72, 0.77 และ0.78 ตามลำดับ) บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิกภาพประนีประนอม และบุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.33, 0.32 และ 0.31) ตามลำดับ และบุคลิกภาพเปิดเผยมีความสัมพันธ์ในระดับต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.20) ส่วนบุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ไม่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล
3. กลุ่มตัวแปรพยากรณ์ที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ได้แก่ ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน ความยืดหยุ่นของทีม และบุคลิกภาพควบคุมตนเองโดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 73 (R=0.73) โดยมีสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23307 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาทและความยืดหยุ่น = Relationships between personality, working ability, role diversity, flexibility of teams and nursing team effectiveness of professional nurses in intensive care units, regional hospital and medical centers : ของทีมกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ [printed text] / วรรณฤดี เชาว์ศรีกุล, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก-ฎ, 192 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-031-431-7 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)) -- จุฬาลงกรณ์มหาิวิทยาลัย,2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บุคลิกภาพ
[LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การทำงาน.
พยาบาลวิชาชีพ
บุคลิกภาพ.Class number: WY100 ว777 2544 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัีมพันธ์ีระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท และความยืดหยุ่นของทีม กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ และศึกษากลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมทำนายประสิืทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ทีมการพยาบาล 74 ทีม ที่ประกอบด้วย พยาบาลวิชาบีพ จำนวน 471 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย จากประชากร 977 คน ซึ่งปฎิบัติงานอยู่ในหอผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ เครื่องมือที่ใช้ในการรบวรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท ความยืดหยุ่นของทีม และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ผ่านการตรวจสอบความตรงทางเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าความเที่ยงระหว่าง 0.70-0.93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรขั้นตอน (ใช้ทีมเป็นหน่วยในการวิเคราะห์) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย 3.83)
2. ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน และความยืดหยุ่นของทีม มีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับสูง กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.72, 0.77 และ0.78 ตามลำดับ) บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิกภาพประนีประนอม และบุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.33, 0.32 และ 0.31) ตามลำดับ และบุคลิกภาพเปิดเผยมีความสัมพันธ์ในระดับต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.20) ส่วนบุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ไม่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล
3. กลุ่มตัวแปรพยากรณ์ที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ได้แก่ ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน ความยืดหยุ่นของทีม และบุคลิกภาพควบคุมตนเองโดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 73 (R=0.73) โดยมีสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23307 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000384667 THE WY100 ว777 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร / สุนิสา สีผม in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร : กับสมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัดในประเทศไทย Original title : Study of the relationship between selected factors and perioperative nurse's competencies in Thailand Material Type: printed text Authors: สุนิสา สีผม, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.94-103 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.94-103Keywords: ปัจจัยคัดสรร.สมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัด. Abstract: เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัดในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและตติยภูมิในประเทศไทย ตามการรับรู้ของตนเองและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร กับสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัดในประเทศ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลห้องผ่าตัดที่ปฏิบัติงานในห้องผ่าตัดโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ เครื่องมือที่ใช้ คือแบบประเมินสมรรถนะของสมาคมพยาบาลผ่าตัดแห่งประเทศไทย ประกอบด้วยสมรรถนะ 4 ด้าน คือ สมรรถนะการดูแลความปลอดภัยผู้ป่วย การพยาบาลผู้ป่วยด้านร่างกาย การพยาบาลเพื่อตอบสนองผู้ป่วยด้านพฤติกรรม การพยาบาลด้านระบบสุขภาพ ฯ
ผลการวิจัย พบว่า พยาบาลห้องผ่าตัด จำนวน 818 คน เป็นพยาบาลวิชาชีพ และส่วนใหญ่จบป.ตรี มีประสบการณ์มากกว่า 10 ปี(ร้อยละ60) และผ่านการอบรม (ร้อยละ63.8) ส่วนใหญ่รับรู้ว่าบรรยากาศการทำงานที่ดี (ร้อยละ79.5)และมีจำนวนพยาบาลไม่เพียงพอ (ร้อยละ 76.3)การรับรู้สมรรถนะของตนเองอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ65.8) โดยมีระดับสมรรถนะผู้เชียวชาญ ผู้ชำนาญการ และผู้มีความสามรถพอ คิดเป็นร้อยละ (65.8 24.6 และ9.5) ตามลำดับ บรรยากาศองค์กรและความเพียงพอของบุคลากรมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<.05 และ p<.01 ตามลำดับ
สรุปได้ว่า สมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัดส่วนใหญ่อยู่ในระดับสูงทุกด้าน และปัจจัยคัดสรรองค์การและความเพียงพอของบุคลากรองค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัด ดังนั้นหน่วยงานหรือองค์การควรให้ความสำคัญต่อการจัดอัตรากำลังให้เพียงพอและการสร้างบรรยากาศองค์การ เพื่อการพัฒนาสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัด
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26745 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร = Study of the relationship between selected factors and perioperative nurse's competencies in Thailand : กับสมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัดในประเทศไทย [printed text] / สุนิสา สีผม, Author . - 2017 . - p.94-103.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.94-103Keywords: ปัจจัยคัดสรร.สมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัด. Abstract: เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัดในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและตติยภูมิในประเทศไทย ตามการรับรู้ของตนเองและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร กับสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัดในประเทศ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลห้องผ่าตัดที่ปฏิบัติงานในห้องผ่าตัดโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ เครื่องมือที่ใช้ คือแบบประเมินสมรรถนะของสมาคมพยาบาลผ่าตัดแห่งประเทศไทย ประกอบด้วยสมรรถนะ 4 ด้าน คือ สมรรถนะการดูแลความปลอดภัยผู้ป่วย การพยาบาลผู้ป่วยด้านร่างกาย การพยาบาลเพื่อตอบสนองผู้ป่วยด้านพฤติกรรม การพยาบาลด้านระบบสุขภาพ ฯ
ผลการวิจัย พบว่า พยาบาลห้องผ่าตัด จำนวน 818 คน เป็นพยาบาลวิชาชีพ และส่วนใหญ่จบป.ตรี มีประสบการณ์มากกว่า 10 ปี(ร้อยละ60) และผ่านการอบรม (ร้อยละ63.8) ส่วนใหญ่รับรู้ว่าบรรยากาศการทำงานที่ดี (ร้อยละ79.5)และมีจำนวนพยาบาลไม่เพียงพอ (ร้อยละ 76.3)การรับรู้สมรรถนะของตนเองอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ65.8) โดยมีระดับสมรรถนะผู้เชียวชาญ ผู้ชำนาญการ และผู้มีความสามรถพอ คิดเป็นร้อยละ (65.8 24.6 และ9.5) ตามลำดับ บรรยากาศองค์กรและความเพียงพอของบุคลากรมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<.05 และ p<.01 ตามลำดับ
สรุปได้ว่า สมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัดส่วนใหญ่อยู่ในระดับสูงทุกด้าน และปัจจัยคัดสรรองค์การและความเพียงพอของบุคลากรองค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัด ดังนั้นหน่วยงานหรือองค์การควรให้ความสำคัญต่อการจัดอัตรากำลังให้เพียงพอและการสร้างบรรยากาศองค์การ เพื่อการพัฒนาสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัด
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26745