From this page you can:
Home |
Search results
90 result(s) search for keyword(s) 'พยาบาล. เคมีบำบัด. สมรรถนะ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
การศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ / นุจรี สันติสำราญวิไล / คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : การศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ Original title : A study of competency of chemotherapy nurses, goverment hospital Material Type: printed text Authors: นุจรี สันติสำราญวิไล, Author Publisher: คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ญ, 217 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]เคมีบำบัดKeywords: พยาบาล.
เคมีบำบัด.
สมรรถนะ.Class number: WY141 น542 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ โดยประยุกต์ใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 26 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้ให้ข้อมูลหลักที่มีความรู้และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย ผู้ให้ข้อมูลหลักกลุ่มสาขาด้านการแพทย์เฉพาะทางโรคมะเร็ง กลุ่มนักวิชาการ กลุ่มพยาบาลผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง กลุ่มผู้บริหารทางการพยาบาลหน่วยบริการเคมีบำบัด และกลุ่มพยาบาลผู้ปฏิบัติการให้ยาเคมีบำบัด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งสิ้น 50 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ ที่ผู้ให้ข้อมูลหลักมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยสมรรถนะย่อย 90 ข้อ เป็นสมรรถนะย่อยที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 58 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 32 ข้อ จำแนกเป็น 7 สมรรถนะหลัก แต่ละสมรรถนะหลักประกอบด้วยสมรรถนะย่อยดังนี้ 1. สมรรถนะด้านความรู้เกี่ยวกับยาเคมีบำบัดและการบริหารยา ประกอบด้วย 19 ข้อ 2. สมรรถนะด้านการจัดการความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน ประกอบด้วย 8 ข้อ 3. สมรรถนะด้านการเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนระหว่างและหลังได้รับยาเคมีบำบัด ประกอบด้วย12 ข้อ 4. สมรรถนะด้านความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโรคและผลกระทบ ประกอบด้วย 6 ข้อ 5. สมรรถนะด้านการสื่อสาร การสอนและการให้ข้อมูลประกอบด้วย 22 ข้อ 6. สมรรถนะด้านจริยธรรมและการพิทักษ์สิทธิ ประกอบด้วย 12 ข้อ 7. สมรรถนะด้านการพัฒนาความรู้ และการวิจัย ประกอบด้วย 11 ข้อ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23177 การศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ = A study of competency of chemotherapy nurses, goverment hospital [printed text] / นุจรี สันติสำราญวิไล, Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ญ, 217 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]เคมีบำบัดKeywords: พยาบาล.
เคมีบำบัด.
สมรรถนะ.Class number: WY141 น542 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ โดยประยุกต์ใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 26 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้ให้ข้อมูลหลักที่มีความรู้และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย ผู้ให้ข้อมูลหลักกลุ่มสาขาด้านการแพทย์เฉพาะทางโรคมะเร็ง กลุ่มนักวิชาการ กลุ่มพยาบาลผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง กลุ่มผู้บริหารทางการพยาบาลหน่วยบริการเคมีบำบัด และกลุ่มพยาบาลผู้ปฏิบัติการให้ยาเคมีบำบัด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งสิ้น 50 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ ที่ผู้ให้ข้อมูลหลักมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยสมรรถนะย่อย 90 ข้อ เป็นสมรรถนะย่อยที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 58 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 32 ข้อ จำแนกเป็น 7 สมรรถนะหลัก แต่ละสมรรถนะหลักประกอบด้วยสมรรถนะย่อยดังนี้ 1. สมรรถนะด้านความรู้เกี่ยวกับยาเคมีบำบัดและการบริหารยา ประกอบด้วย 19 ข้อ 2. สมรรถนะด้านการจัดการความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน ประกอบด้วย 8 ข้อ 3. สมรรถนะด้านการเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนระหว่างและหลังได้รับยาเคมีบำบัด ประกอบด้วย12 ข้อ 4. สมรรถนะด้านความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโรคและผลกระทบ ประกอบด้วย 6 ข้อ 5. สมรรถนะด้านการสื่อสาร การสอนและการให้ข้อมูลประกอบด้วย 22 ข้อ 6. สมรรถนะด้านจริยธรรมและการพิทักษ์สิทธิ ประกอบด้วย 12 ข้อ 7. สมรรถนะด้านการพัฒนาความรู้ และการวิจัย ประกอบด้วย 11 ข้อ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23177 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355519 WY141 น542 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2554
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Collection Title: Old book collection Title : ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2554 Pagination: 182 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-974-383-227-7 Price: บริจาค. (250.00) General note: หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 3 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2554 . - 182 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-383-227-7 : บริจาค. (250.00)
หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383719 WY105 ค181 2554 Book Main Library Library Counter Available การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2558
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000520526 WY105 ก181 2558 Book Main Library General Shelf Not for loan การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2560
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Title : การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย : สมรรถนะพยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2560 Pagination: 255 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-929912-7 Price: บริจาค (250.00) General note: จัดพิมพ์โดยสมาคมพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก (แห่งประเทศไทย). Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Thoracic -- assessment
[NLM]Cardiovascular -- assessment
[NLM]Thoracic -- assessment
[NLM]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[NLM]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ก181 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27645
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย : สมรรถนะพยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2560 . - 255 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม.
ISBN : 978-6-16-929912-7 : บริจาค (250.00)
จัดพิมพ์โดยสมาคมพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก (แห่งประเทศไทย).
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Thoracic -- assessment
[NLM]Cardiovascular -- assessment
[NLM]Thoracic -- assessment
[NLM]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[NLM]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ก181 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27645 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000520534 WY105 ก181 2560 c.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000521656 WY105 ก181 2560 c.11 Book Main Library General Shelf Available 32002000521649 WY105 ก181 2560 c.12 Book Main Library General Shelf Available 32002000521631 WY105 ก181 2560 c.13 Book Main Library General Shelf Available 32002000521730 WY105 ก181 2560 c.14 Book Main Library General Shelf Available 32002000521599 WY105 ก181 2560 c.15 Book Main Library General Shelf Available 32002000521573 WY105 ก181 2560 c.16 Book Main Library General Shelf Available 32002000521581 WY105 ก181 2560 c.17 Book Main Library General Shelf Available 32002000521565 WY105 ก181 2560 c.18 Book Main Library General Shelf Available 32002000521557 WY105 ก181 2560 c.19 Book Main Library General Shelf Available 32002000521540 WY105 ก181 2560 c.20 Book Main Library General Shelf Available 32002000521532 WY105 ก181 2560 c.21 Book Main Library General Shelf Available 32002000521524 WY105 ก181 2560 c.22 Book Main Library General Shelf Available 32002000521516 WY105 ก181 2560 c.23 Book Main Library General Shelf Available 32002000521508 WY105 ก181 2560 c.24 Book Main Library General Shelf Available 32002000521490 WY105 ก181 2560 c.25 Book Main Library General Shelf Available 32002000521607 WY105 ก181 2560 c.26 Book Main Library General Shelf Available 32002000521771 WY105 ก181 2560 c.27 Book Main Library General Shelf Available 32002000521763 WY105 ก181 2560 c.28 Book Main Library General Shelf Available 32002000521615 WY105 ก181 2560 c.29 Book Main Library General Shelf Available 32002000521623 WY105 ก181 2560 c.30 Book Main Library General Shelf Available 32002000521722 WY105 ก181 2560 c.31 Book Main Library General Shelf Available 32002000521664 WY105 ก181 2560 c.10 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521755 WY105 ก181 2560 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521714 WY105 ก181 2560 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521748 WY105 ก181 2560 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521706 WY105 ก181 2560 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521698 WY105 ก181 2560 c.6 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521680 WY105 ก181 2560 c.7 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521672 WY105 ก181 2560 c.9 Book Main Library Nursing Shelf Due for return by 01/21/2025 การพัฒนาเกณฑ์ประเมินสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ / จารีศรี กุลศิริปัญโญ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การพัฒนาเกณฑ์ประเมินสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ Original title : The development of criterion one valuation register nurse competencies Material Type: printed text Authors: จารีศรี กุลศิริปัญโญ, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.123-130 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.123-130Keywords: สมรรถนะวิชาชีพ.พยาบาลวิชาชีพ. Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ 8 ด้าน ซึ่งประกอบด้วยสมรรถนะ ด้านจริยธรรม ด้านการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ด้านคุณลักษณะเชิงวิชาชีพ ด้านภาวะผู้รำการจัดการและการพัฒนาคุณภาพ ด้านวิชาการและการวิจัน สมรรถนะการสื่อสารและสัมพันธภาพ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านสังคม โดยอาศัยวิธีการเดลฟายเป็นเทคนิคที่มีผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 20 ท่าน ตอบแบบสอบถามจำนวน 3 รอบ โดยแต่ละรอบผู้วิจัยจะสรุปคำตอบของรอบนั้นเพื่อเป็นข้อมูลสำหรับตอบคำถามในรอบถัดไป การสอบถามจะหยุดลงเมื่อได้รับข้อสรุปที่มั่นคง และได้ค่าทางสถิติ. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24960 [article] การพัฒนาเกณฑ์ประเมินสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ = The development of criterion one valuation register nurse competencies [printed text] / จารีศรี กุลศิริปัญโญ, Author . - 2015 . - p.123-130.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.123-130Keywords: สมรรถนะวิชาชีพ.พยาบาลวิชาชีพ. Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ 8 ด้าน ซึ่งประกอบด้วยสมรรถนะ ด้านจริยธรรม ด้านการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ด้านคุณลักษณะเชิงวิชาชีพ ด้านภาวะผู้รำการจัดการและการพัฒนาคุณภาพ ด้านวิชาการและการวิจัน สมรรถนะการสื่อสารและสัมพันธภาพ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านสังคม โดยอาศัยวิธีการเดลฟายเป็นเทคนิคที่มีผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 20 ท่าน ตอบแบบสอบถามจำนวน 3 รอบ โดยแต่ละรอบผู้วิจัยจะสรุปคำตอบของรอบนั้นเพื่อเป็นข้อมูลสำหรับตอบคำถามในรอบถัดไป การสอบถามจะหยุดลงเมื่อได้รับข้อสรุปที่มั่นคง และได้ค่าทางสถิติ. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24960 การศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญีโรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข / กานดา เลาหศิลป์สมจิตร์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : การศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญีโรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข Original title : A sStudy of nurse anesthetists' competencies, hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: กานดา เลาหศิลป์สมจิตร์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ฎ, 147 แผ่น Layout: แผนภูมิ. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-531-679-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Anesthesiology
[LCSH]Nurse anesthetists
[LCSH]พยาบาลวิสัญญี
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาลวิสัญญี.Class number: WY151 ก125 2547 Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัยคือ เพื่อศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญีโรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข วิธีดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 26 ท่าน คัดเลือกสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 และค่าผลต่างระหว่างฐานนิยมและมัธยฐานไม่เกิน 1.00 ระยะเวลาการรวบรวมข้อมูล รวมทั้งสิ้น 145 วัน ผลการวิจัยพบว่าสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลรัฐกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วย 4 สมรรถนะหลัก ดังนี้ 1. ด้านการพยาบาลวิสัญญี ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ การประเมินผู้ป่วยก่อนให้ยาระงับความรู้สึก การเฝ้าระวังผู้ป่วยระหว่างให้ยาระงับความรู้สึก การประเมินผู้ป่วยในระยะพักฟื้นหลังให้ยาระงับความรู้สึก การตัดสินใจแก้ไขปัญหาภาวะวิกฤต และทักษะการทำหัตถการ 2. ด้านทักษะทางสังคม ประกอบด้วย 2 ด้าน ได้แก่ การประสานงานระหว่างทีมสหสาขาวิชาชีพ และทีมงานวิสัญญี และการประสานความร่วมมือกับผู้ป่วยและญาติ 3. ด้านวิชาการ ประกอบด้วย 2 ด้าน ได้แก่ ความรู้ และการใช้เทคโนโลยี 4. ด้านคุณลักษณะ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23309 การศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญีโรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข = A sStudy of nurse anesthetists' competencies, hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health [printed text] / กานดา เลาหศิลป์สมจิตร์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ฎ, 147 แผ่น : แผนภูมิ. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-531-679-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Anesthesiology
[LCSH]Nurse anesthetists
[LCSH]พยาบาลวิสัญญี
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาลวิสัญญี.Class number: WY151 ก125 2547 Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัยคือ เพื่อศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญีโรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข วิธีดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 26 ท่าน คัดเลือกสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 และค่าผลต่างระหว่างฐานนิยมและมัธยฐานไม่เกิน 1.00 ระยะเวลาการรวบรวมข้อมูล รวมทั้งสิ้น 145 วัน ผลการวิจัยพบว่าสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลรัฐกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วย 4 สมรรถนะหลัก ดังนี้ 1. ด้านการพยาบาลวิสัญญี ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ การประเมินผู้ป่วยก่อนให้ยาระงับความรู้สึก การเฝ้าระวังผู้ป่วยระหว่างให้ยาระงับความรู้สึก การประเมินผู้ป่วยในระยะพักฟื้นหลังให้ยาระงับความรู้สึก การตัดสินใจแก้ไขปัญหาภาวะวิกฤต และทักษะการทำหัตถการ 2. ด้านทักษะทางสังคม ประกอบด้วย 2 ด้าน ได้แก่ การประสานงานระหว่างทีมสหสาขาวิชาชีพ และทีมงานวิสัญญี และการประสานความร่วมมือกับผู้ป่วยและญาติ 3. ด้านวิชาการ ประกอบด้วย 2 ด้าน ได้แก่ ความรู้ และการใช้เทคโนโลยี 4. ด้านคุณลักษณะ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23309 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000384683 THE WY151 ก125 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available ปััจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลสาธารณสุขในเขตภาคกลาง / นฤมล เอื้อมณีกุล in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : ปััจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลสาธารณสุขในเขตภาคกลาง Original title : Factor influencing research competency among public health in central region Thailand Material Type: printed text Authors: นฤมล เอื้อมณีกุล, Author ; สุรินธร กลัมพากร, Author ; วันเพ็ญ แก้วปาน, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.1-15 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.1-15Keywords: สมรรถนะด้านการวิจัย.ทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอร์ซเบริ์ก.พยาบาลสาธารณสุข. Abstract: การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบหาความสัมพันธ์ วัตถุุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลสาธารณสุขในเขตภาคกลาง กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิในเขตภาคกลาง และมีประสบการณ์ทำงานอย่างน้อย 1 ปี จำนวน 362 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามด้วยตนเอง ตรวจสอบความแม่นตรงเชิงเนื้อหาของเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.67-1.00 วิเคราะห์ความเที่ยงของแบบสอบถามโดยรวม มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบราคเท่ากับ 0.871 ปัจจัยส่วนบุคคลด้านความรู้เกี่ยวกับการวิจัยได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.767 ปัจจัยจูงใจเท่ากับ 0.872 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติพรรณนาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และสถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (stepwise regression analysis)
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีอายุการทำงานเฉลี่ย 15.25 ปี ส่วนใหญ่จบการศึกษาประกาศนียบัตรการพยาบาลเฉพาะทางเวชปฏิบัติทั่วไป ร้อยละ 63.46 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยมีประสบการณ์ในการทำวิจัย และไม่เคยมีประสบการณ์ในการนำเสนองานวิจัยร้อยละ 61.6 และ 91.16 ตามลำดับ ทั้งนี้ยังพบว่า ส่วนใหญ่ไม่มีความสนใจที่จะทำวิจัยถึงร้อยละ 79.01 อย่างไรก็ตามกลุ่มตัวอย่างประเมินว่า มีสมรรถนะด้านการวิจัยอยู่ในระดับกลาง ค่าเฉลี่ย คือ 54.94 SD เท่ากัย 9.38 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยสูงที่สุด ค่าเฉลี่ย คือ 3.05 SD เท่ากับ 0.65 และสมรรถนะด้านความสามารถในการทำวิจัยต้ำสุด คือ ค่าเฉลี่ย 2.68 SD เท่ากับ 0.45 โดยปัจจัยจูงใจ และปัจจัยค้ำจุนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลสาธารณสุขในเขตภาคกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน พบว่า ความรู้เกี่ยวกับการวิจัน ความรับผิดชอบ ประสบการณ์ในการนำเสนอผลงานวิจัย ความสนใจที่จะทำงานวิจัย และงบประมาณสนับสนุนการทำวิจัยกับค่าตอบแทนจากการทำวิจัย สามารถร่วมพยากรณ์สมรรถนะดเานการวิจัยของพยาบาลความสุขได้ร้อยละ 55.3
ผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะในการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลสาธารณสุขให้ดีขึ้น โดยผู้บริหาร หรือผู้บังคับบัญชาหน่วยงานควรกำหนดเป็นแผนงาน หรือนโยบายให้บุคลากรได้รับความรู้เกี่ยวกับการวิจัย และส่งเสริมให้ทำผลงานวิจัยในหน่วยงนอย่างต่อเนื่อง ให้การสนับสนุนจัดสรรงบประมาณ หรือจัดหาทุนวิจัย รวมทั้งมีค่าตอบแทนจากการทำวิจัยให้แก่พยาบาลสาธารณสุข เพื่อช่วยเพิ้มพูนสมรรถนะด้านการวิจัยให้แก่พยาบาลสาธารณสุขCurricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26519 [article] ปััจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลสาธารณสุขในเขตภาคกลาง = Factor influencing research competency among public health in central region Thailand [printed text] / นฤมล เอื้อมณีกุล, Author ; สุรินธร กลัมพากร, Author ; วันเพ็ญ แก้วปาน, Author . - 2017 . - p.1-15.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.1-15Keywords: สมรรถนะด้านการวิจัย.ทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอร์ซเบริ์ก.พยาบาลสาธารณสุข. Abstract: การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบหาความสัมพันธ์ วัตถุุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลสาธารณสุขในเขตภาคกลาง กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิในเขตภาคกลาง และมีประสบการณ์ทำงานอย่างน้อย 1 ปี จำนวน 362 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามด้วยตนเอง ตรวจสอบความแม่นตรงเชิงเนื้อหาของเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.67-1.00 วิเคราะห์ความเที่ยงของแบบสอบถามโดยรวม มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบราคเท่ากับ 0.871 ปัจจัยส่วนบุคคลด้านความรู้เกี่ยวกับการวิจัยได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.767 ปัจจัยจูงใจเท่ากับ 0.872 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติพรรณนาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และสถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (stepwise regression analysis)
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีอายุการทำงานเฉลี่ย 15.25 ปี ส่วนใหญ่จบการศึกษาประกาศนียบัตรการพยาบาลเฉพาะทางเวชปฏิบัติทั่วไป ร้อยละ 63.46 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยมีประสบการณ์ในการทำวิจัย และไม่เคยมีประสบการณ์ในการนำเสนองานวิจัยร้อยละ 61.6 และ 91.16 ตามลำดับ ทั้งนี้ยังพบว่า ส่วนใหญ่ไม่มีความสนใจที่จะทำวิจัยถึงร้อยละ 79.01 อย่างไรก็ตามกลุ่มตัวอย่างประเมินว่า มีสมรรถนะด้านการวิจัยอยู่ในระดับกลาง ค่าเฉลี่ย คือ 54.94 SD เท่ากัย 9.38 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยสูงที่สุด ค่าเฉลี่ย คือ 3.05 SD เท่ากับ 0.65 และสมรรถนะด้านความสามารถในการทำวิจัยต้ำสุด คือ ค่าเฉลี่ย 2.68 SD เท่ากับ 0.45 โดยปัจจัยจูงใจ และปัจจัยค้ำจุนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลสาธารณสุขในเขตภาคกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน พบว่า ความรู้เกี่ยวกับการวิจัน ความรับผิดชอบ ประสบการณ์ในการนำเสนอผลงานวิจัย ความสนใจที่จะทำงานวิจัย และงบประมาณสนับสนุนการทำวิจัยกับค่าตอบแทนจากการทำวิจัย สามารถร่วมพยากรณ์สมรรถนะดเานการวิจัยของพยาบาลความสุขได้ร้อยละ 55.3
ผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะในการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลสาธารณสุขให้ดีขึ้น โดยผู้บริหาร หรือผู้บังคับบัญชาหน่วยงานควรกำหนดเป็นแผนงาน หรือนโยบายให้บุคลากรได้รับความรู้เกี่ยวกับการวิจัย และส่งเสริมให้ทำผลงานวิจัยในหน่วยงนอย่างต่อเนื่อง ให้การสนับสนุนจัดสรรงบประมาณ หรือจัดหาทุนวิจัย รวมทั้งมีค่าตอบแทนจากการทำวิจัยให้แก่พยาบาลสาธารณสุข เพื่อช่วยเพิ้มพูนสมรรถนะด้านการวิจัยให้แก่พยาบาลสาธารณสุขCurricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26519 สมรรถนะที่่พึงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ / อุไรวรรณ พรหมพร / สาขาวิชาการพยาบาล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - 2550
Title : สมรรถนะที่่พึงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ : สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในปีพุทธศักราช 2550-2559 Original title : Desired for copetencies for head nurses in regional medical center hospitals of the Ministry of Public Health by the year 2007-2016 Material Type: printed text Authors: อุไรวรรณ พรหมพร, Author Publisher: สาขาวิชาการพยาบาล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Publication Date: 2550 Pagination: ก-ฎ, 171 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม. (การบริหารการพยาบาล)).-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสธารณสุขKeywords: พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.
สมรรถนะ
พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาลประจำการ.Class number: WY18 อ979 2550 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสมรรถนะที่พีงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในปีพุทธศักราช 2550-2559
ดำเนินการวิจัยโดยใช้เทคนิคเดลฟาย สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาล จำนวน 24 ท่าน เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 3 รอบ รอบที่ 1 สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญโดยใช้แบบสัมภาษณ์ชนิดกึ่งโครงสร้าง นำข้อมูลที่ได้จาการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์และสังเคราะห์จัดเป็นหมวดหมู่ สร้างเป็นแบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญให้ความคิดเห็นรอบที่ 2 และรอบที่ 3 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณหาค่ามัธยฐาน ฐานนิม และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะที่พึงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทราวงสาธารณสุข ในปีพุทธศักราช 2550-2559 มีสมรรถนะ 10 สมรรถนะ ดังนี้
1. ด้านการพัฒนาและการประกันคุณภาพ
2. ด้านความเป็นผู้นำ
3. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
4. ด้านความเชี่ยวชาญเชิงวิชาชีพ
5. ด้านการบริหารจัดการ
6. ด้านการติดต่อสื่อสารและการสร้่างสัมพันธภาพ
7. ด้่านการจัดการทรัพยากรมนุษย์
8. ด้านการจัีดการเชิงกลยุทธ์
9. ด้่านการวิจัยและนวัตกรรม
10. ด้านการเงินและการตลาด และมีสมรรถนะย่อย 96 รายการ เป็นสมรรถนะที่มีความสำคัญระดับมากทีุ่สุด 85 รายการ และเป็นสมรรถนะที่มีความสำัคัญราะดับมาก 11 รายการCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23329 สมรรถนะที่่พึงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ = Desired for copetencies for head nurses in regional medical center hospitals of the Ministry of Public Health by the year 2007-2016 : สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในปีพุทธศักราช 2550-2559 [printed text] / อุไรวรรณ พรหมพร, Author . - [S.l.] : สาขาวิชาการพยาบาล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 . - ก-ฎ, 171 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม. (การบริหารการพยาบาล)).-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสธารณสุขKeywords: พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.
สมรรถนะ
พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาลประจำการ.Class number: WY18 อ979 2550 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสมรรถนะที่พีงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในปีพุทธศักราช 2550-2559
ดำเนินการวิจัยโดยใช้เทคนิคเดลฟาย สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาล จำนวน 24 ท่าน เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 3 รอบ รอบที่ 1 สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญโดยใช้แบบสัมภาษณ์ชนิดกึ่งโครงสร้าง นำข้อมูลที่ได้จาการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์และสังเคราะห์จัดเป็นหมวดหมู่ สร้างเป็นแบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญให้ความคิดเห็นรอบที่ 2 และรอบที่ 3 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณหาค่ามัธยฐาน ฐานนิม และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะที่พึงประสงค์ของพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทราวงสาธารณสุข ในปีพุทธศักราช 2550-2559 มีสมรรถนะ 10 สมรรถนะ ดังนี้
1. ด้านการพัฒนาและการประกันคุณภาพ
2. ด้านความเป็นผู้นำ
3. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
4. ด้านความเชี่ยวชาญเชิงวิชาชีพ
5. ด้านการบริหารจัดการ
6. ด้านการติดต่อสื่อสารและการสร้่างสัมพันธภาพ
7. ด้่านการจัดการทรัพยากรมนุษย์
8. ด้านการจัีดการเชิงกลยุทธ์
9. ด้่านการวิจัยและนวัตกรรม
10. ด้านการเงินและการตลาด และมีสมรรถนะย่อย 96 รายการ เป็นสมรรถนะที่มีความสำคัญระดับมากทีุ่สุด 85 รายการ และเป็นสมรรถนะที่มีความสำัคัญราะดับมาก 11 รายการCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23329 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357275 THE WY18 อ979 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available Old book collection. จริยศาสตร์สำหรับพยาบาล / สิวลี ศิริไล / [กรุงเทพฯ] : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2556
in จริยศาสตร์สำหรับพยาบาล / สิวลี ศิริไล / กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Collection Title: Old book collection Title : จริยศาสตร์สำหรับพยาบาล Material Type: printed text Authors: สิวลี ศิริไล, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 13. Publisher: [กรุงเทพฯ] : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2556 Pagination: 279 หน้า. Size: 21 ซม. Price: 150.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]จรรยาบรรณ
[LCSH]จริยศาสตร์
[LCSH]พยาบาล -- จรรยาบรรณKeywords: จริยศาสตร์.
จรรยาบรรณ.
พยาบาล.Class number: WY85 ส733 2556 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23386
in จริยศาสตร์สำหรับพยาบาล / สิวลี ศิริไล / กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Old book collection. จริยศาสตร์สำหรับพยาบาล [printed text] / สิวลี ศิริไล, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 13. . - [กรุงเทพฯ] : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 . - 279 หน้า. ; 21 ซม.
150.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]จรรยาบรรณ
[LCSH]จริยศาสตร์
[LCSH]พยาบาล -- จรรยาบรรณKeywords: จริยศาสตร์.
จรรยาบรรณ.
พยาบาล.Class number: WY85 ส733 2556 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23386 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000389294 WY85 ส733 2556 c.2 Book Main Library General Shelf Available 32002000389302 WY85 ส733 2556 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000389328 WY85 ส733 2556 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000389278 WY85 ส733 2556 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000389252 WY85 ส733 2556 c.5 Book Main Library Library Counter Available 32002000493229 WY85 ส733 2556 c.6 Book Main Library Library Counter Available 32002000493245 WY85 ส733 2556 c.7 Book Main Library Library Counter Available 32002000493260 WY85 ส733 2556 c.8 Book Main Library Library Counter Available 32002000493237 WY85 ส733 2556 c.9 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. บันทึกจากหัวใจผู้เยียวยา : ๙ เรื่องเล่าอุ่นหัวัใจ / กรรณจริยา สุขรุ่ง / งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ และสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, - 2555
Collection Title: Old book collection Title : บันทึกจากหัวใจผู้เยียวยา : ๙ เรื่องเล่าอุ่นหัวัใจ Material Type: printed text Authors: กรรณจริยา สุขรุ่ง, Editor ; อรุณศรี เตชัสหงส์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ และสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, Publication Date: 2555 Pagination: 57 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 21 ซม. Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบันทึก
[LCSH]การพยาบาล -- รวมเรื่อง
[LCSH]การพยาบาล, การดุแลKeywords: การเยียวยา.
พยาบาล.
การดูแล.
บันทึก.Class number: WY5 บ268 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23261 Old book collection. บันทึกจากหัวใจผู้เยียวยา : ๙ เรื่องเล่าอุ่นหัวัใจ [printed text] / กรรณจริยา สุขรุ่ง, Editor ; อรุณศรี เตชัสหงส์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - [S.l.] : งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ และสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล,, 2555 . - 57 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบันทึก
[LCSH]การพยาบาล -- รวมเรื่อง
[LCSH]การพยาบาล, การดุแลKeywords: การเยียวยา.
พยาบาล.
การดูแล.
บันทึก.Class number: WY5 บ268 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23261 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355972 WY5 บ268 2555 Book Main Library Library Counter Available SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย / ละมิตร์ ปีกขาว / คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2557
Collection Title: SIU THE-T Title : ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย Original title : Work happiness of Thai nurses Material Type: printed text Authors: ละมิตร์ ปีกขาว, Author Publisher: คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2557 Pagination: x, 221 หน้า Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย = Work happiness of Thai nurses [printed text] / ละมิตร์ ปีกขาว, Author . - [S.l.] : คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2557 . - x, 221 หน้า : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000580710 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000580702 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. รูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย / เอกพงษ์ หริ่มเจริญ / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2021
Collection Title: SIU THE-T Title : รูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย Original title : Entrepreneurial Competency Development of Agribusiness Processing Business Industrial Entrepreneurs in Thailand Material Type: printed text Authors: เอกพงษ์ หริ่มเจริญ, Author ; สรณ โภชนจันทร์, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2021 Pagination: x, 149 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2021-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2564Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
[LCSH]อุตสาหกรรมการผลิต
[LCSH]อุตสาหกรรมการเกษตร -- ไทยKeywords: สมรรถนะที่จำเป็นของผู้ประกอบการ, วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, อุตสาหกรรมการผลิต, ธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย 2) เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทยในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มผู้เชี่ยวชาญในการสัมภาษณ์เชิงลึกจำนวน 10 คน และกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis) ผลจากการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการพัฒนารูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลักได้แก่ ด้านความรู้ (Knowledge) ด้านทักษะ (Skill) และ ด้านคุณลักษณะอื่นๆ (Attitude) Curricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28564 SIU THE-T. รูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย = Entrepreneurial Competency Development of Agribusiness Processing Business Industrial Entrepreneurs in Thailand [printed text] / เอกพงษ์ หริ่มเจริญ, Author ; สรณ โภชนจันทร์, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name . - [S.l.] : ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021 . - x, 149 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2021-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2564
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
[LCSH]อุตสาหกรรมการผลิต
[LCSH]อุตสาหกรรมการเกษตร -- ไทยKeywords: สมรรถนะที่จำเป็นของผู้ประกอบการ, วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, อุตสาหกรรมการผลิต, ธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย 2) เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทยในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มผู้เชี่ยวชาญในการสัมภาษณ์เชิงลึกจำนวน 10 คน และกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis) ผลจากการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการพัฒนารูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลักได้แก่ ด้านความรู้ (Knowledge) ด้านทักษะ (Skill) และ ด้านคุณลักษณะอื่นๆ (Attitude) Curricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28564 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607639 SIU THE-T: SOM-DBA-2021-01 c.2 Book Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607674 SIU THE-T: SOM-DBA-2021-01 c.1 Thesis Main Library Thesis Corner Available การจัดการทางการพยาบาลและภาวะผู้นำ / กัญญดา ประจุศิลป / กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2562
Title : การจัดการทางการพยาบาลและภาวะผู้นำ Material Type: printed text Authors: กัญญดา ประจุศิลป, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2 Publisher: กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2562 Pagination: 173 น. Size: 24 ซม. Price: 290.00 บาท General note: บทที่ 1 การพยาบาลในยุคไทยแลนด์ 4.0 -- บทที่ 2 สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานพยาบาล -- บทที่ 3 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีความหลากหลายรุ่นอายุ -- บทที่ 4 พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร -- บทที่ 5 ภาวะผู้นำทางการพยาบาล
หอสมุดปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บริจาคจำนวน 4 เล่มLanguages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]พยาบาล -- การบริหาร
[NLM]พยาบาล -- ภาวะผู้นำ
[NLM]ภาวะผู้นำ -- แนวคิดKeywords: ผู้นำ, พยาบาล Class number: WY105 ก417ก 2562 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28245 การจัดการทางการพยาบาลและภาวะผู้นำ [printed text] / กัญญดา ประจุศิลป, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2 . - [S.l.] : กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562 . - 173 น. ; 24 ซม.
290.00 บาท
บทที่ 1 การพยาบาลในยุคไทยแลนด์ 4.0 -- บทที่ 2 สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานพยาบาล -- บทที่ 3 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีความหลากหลายรุ่นอายุ -- บทที่ 4 พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร -- บทที่ 5 ภาวะผู้นำทางการพยาบาล
หอสมุดปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บริจาคจำนวน 4 เล่ม
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]พยาบาล -- การบริหาร
[NLM]พยาบาล -- ภาวะผู้นำ
[NLM]ภาวะผู้นำ -- แนวคิดKeywords: ผู้นำ, พยาบาล Class number: WY105 ก417ก 2562 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28245 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607295 WY105 ก417ก 2562 c.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000607298 WY105 ก417ก 2562 c.2 Book Main Library General Shelf Available 32002000607297 WY105 ก417ก 2562 c.3 Book Main Library General Shelf Available 32002000607296 WY105 ก417ก 2562 c.4 Book Main Library General Shelf Available การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลพื้นฐาน / ศธัญญา ธิติศักดิ์ / กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย - 2563
Title : การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลพื้นฐาน Material Type: printed text Authors: ศธัญญา ธิติศักดิ์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2 Publisher: กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย Publication Date: 2563 Pagination: 97 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 25.9 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-931394-6 Price: - General note: บทที่ 1 ความสำคัญของการควบคุมยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- บทที่ 2 พิษภัยจากยาสูบและแนวทางการควบคุมยาสูบ -- บทที่ 3 การจัดการเรียนการสอนเพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- หน่วยที่ 1 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการรับผู้รับบริการใหม่และการจำหน่ายผู้รับบริการกลับบ้าน -- หน่วยที่ 2 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการประเมินสัญญาณชีพ -- หน่วยที่ 3 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลและสิ่งแวดล้อม -- หน่วยที่ 4 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับสารอาหาร -- หน่วยที่ 5 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้มีกิจกรรมและการพักผ่อน -- หน่วยที่ 6 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการขับถ่าย -- หน่วยที่ 7 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับออกซิเจน -- หน่วยที่ 8 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการที่มีบาดแผล -- หน่วยที่ 9 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการป้องกันควบคุมป้องกันการติดเชื้อ -- หน่วยที่ 10 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการบริหารยา
สมาคมพยาบาล เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย บริจาคจำนวน 5 เล่มLanguages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]การพยาบาลพื้นฐาน
[NLM]การศึกษาพยาบาล
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]บุหรี่ -- การควบคุมการบริโภคKeywords: พยาบาล, การศึกษา Class number: WY100 ศ122ก 2563 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28240 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลพื้นฐาน [printed text] / ศธัญญา ธิติศักดิ์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2 . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย, 2563 . - 97 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 25.9 ซม.
ISBN : 978-6-16-931394-6 : -
บทที่ 1 ความสำคัญของการควบคุมยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- บทที่ 2 พิษภัยจากยาสูบและแนวทางการควบคุมยาสูบ -- บทที่ 3 การจัดการเรียนการสอนเพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- หน่วยที่ 1 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการรับผู้รับบริการใหม่และการจำหน่ายผู้รับบริการกลับบ้าน -- หน่วยที่ 2 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการประเมินสัญญาณชีพ -- หน่วยที่ 3 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลและสิ่งแวดล้อม -- หน่วยที่ 4 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับสารอาหาร -- หน่วยที่ 5 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้มีกิจกรรมและการพักผ่อน -- หน่วยที่ 6 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการขับถ่าย -- หน่วยที่ 7 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับออกซิเจน -- หน่วยที่ 8 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการที่มีบาดแผล -- หน่วยที่ 9 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการป้องกันควบคุมป้องกันการติดเชื้อ -- หน่วยที่ 10 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการบริหารยา
สมาคมพยาบาล เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย บริจาคจำนวน 5 เล่ม
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]การพยาบาลพื้นฐาน
[NLM]การศึกษาพยาบาล
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]บุหรี่ -- การควบคุมการบริโภคKeywords: พยาบาล, การศึกษา Class number: WY100 ศ122ก 2563 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28240 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607242 WY100 ศ122ก 2563 c.5 Book Main Library General Shelf Available 32002000607244 WY100 ศ122ก 2563 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607243 WY100 ศ122ก 2563 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607240 WY100 ศ122ก 2563 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607241 WY100 ศ122ก 2563 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลพื้นฐาน / ศธัญญา ธิติศักดิ์ / กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย - 2560
Title : การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลพื้นฐาน Material Type: printed text Authors: ศธัญญา ธิติศักดิ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย Publication Date: 2560 Pagination: 97 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 25.9 ซม. Price: - General note: บทที่ 1 ความสำคัญของการควบคุมยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- บทที่ 2 พิษภัยจากยาสูบและแนวทางการควบคุมยาสูบ -- บทที่ 3 การจัดการเรียนการสอนเพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- หน่วยที่ 1 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการรับผู้รับบริการใหม่และการจำหน่ายผู้รับบริการกลับบ้าน -- หน่วยที่ 2 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการประเมินสัญญาณชีพ -- หน่วยที่ 3 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลและสิ่งแวดล้อม -- หน่วยที่ 4 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับสารอาหาร -- หน่วยที่ 5 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้มีกิจกรรมและการพักผ่อน -- หน่วยที่ 6 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการขับถ่าย -- หน่วยที่ 7 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับออกซิเจน -- หน่วยที่ 8 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการที่มีบาดแผล -- หน่วยที่ 9 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการป้องกันควบคุมป้องกันการติดเชื้อ -- หน่วยที่ 10 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการบริหารยา
สมาคมพยาบาล เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย บริจาคจำนวน 5 เล่มLanguages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]การพยาบาลพื้นฐาน
[NLM]การศึกษาพยาบาล
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]บุหรี่ -- การควบคุมการบริโภคKeywords: พยาบาล, การศึกษา Class number: WY100 ศ122ก 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28249 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลพื้นฐาน [printed text] / ศธัญญา ธิติศักดิ์, Author . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย, 2560 . - 97 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 25.9 ซม.
-
บทที่ 1 ความสำคัญของการควบคุมยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- บทที่ 2 พิษภัยจากยาสูบและแนวทางการควบคุมยาสูบ -- บทที่ 3 การจัดการเรียนการสอนเพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- หน่วยที่ 1 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการรับผู้รับบริการใหม่และการจำหน่ายผู้รับบริการกลับบ้าน -- หน่วยที่ 2 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการประเมินสัญญาณชีพ -- หน่วยที่ 3 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลและสิ่งแวดล้อม -- หน่วยที่ 4 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับสารอาหาร -- หน่วยที่ 5 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้มีกิจกรรมและการพักผ่อน -- หน่วยที่ 6 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการขับถ่าย -- หน่วยที่ 7 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับออกซิเจน -- หน่วยที่ 8 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการที่มีบาดแผล -- หน่วยที่ 9 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการป้องกันควบคุมป้องกันการติดเชื้อ -- หน่วยที่ 10 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการบริหารยา
สมาคมพยาบาล เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย บริจาคจำนวน 5 เล่ม
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]การพยาบาลพื้นฐาน
[NLM]การศึกษาพยาบาล
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]บุหรี่ -- การควบคุมการบริโภคKeywords: พยาบาล, การศึกษา Class number: WY100 ศ122ก 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28249 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607076 WY100 ศ122ก 2560 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607096 WY100 ศ122ก 2560 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607246 WY100 ศ122ก 2560 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607092 WY100 ศ122ก 2560 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607102 WY100 ศ122ก 2560 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available