From this page you can:
Home |
Search results
95 result(s) search for keyword(s) 'แพทย์. พยาบาล. การทำงาน. วิทยานิพนธ์.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
การทำงานร่วมกันของพยาบาลและแพทย์ / สงกราน มาประสพ / คณะพยาบาลศา่สตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : การทำงานร่วมกันของพยาบาลและแพทย์ Original title : Working relation of nurses an physicians Material Type: printed text Authors: สงกราน มาประสพ, Author Publisher: คณะพยาบาลศา่สตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ญ, 120 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-031-732-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และพยาบาล
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]แพทย์ -- การทำงานKeywords: แพทย์.
พยาบาล.
การทำงาน.
วิทยานิพนธ์.Class number: WY18 ส821 2544 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23115 การทำงานร่วมกันของพยาบาลและแพทย์ = Working relation of nurses an physicians [printed text] / สงกราน มาประสพ, Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศา่สตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ญ, 120 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-031-732-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และพยาบาล
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]แพทย์ -- การทำงานKeywords: แพทย์.
พยาบาล.
การทำงาน.
วิทยานิพนธ์.Class number: WY18 ส821 2544 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23115 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354348 WY18 ส821 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available การศึกษาสมมรถนะหลักของพยาบาลบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข / สมนึก สุวรรณภูเต / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Title : การศึกษาสมมรถนะหลักของพยาบาลบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : A study of professional nurse's core competencies at general hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: สมนึก สุวรรณภูเต, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2548 Pagination: ก-ฎ, 195 แผ่น Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-532-766-2 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]สมรรถภาพในการทำงานKeywords: พยาบาล.
การทำงาน.Class number: WY100.1 ส865 2548 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาโดยใช้เทคนิคเดลฟาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพพยาบาล จำนวน 18 คน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาพยาบาล ด้านการบริหารทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล และด้านกฎหมายและจริยธรรมทางวิชาชีพพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ใช้ระยะเวลารวบรวมข้อมูล 142 วัน แบบสอบถามรอบแรกเป็นแบบสอบถามปลายเปิดและปลายปิด รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ตรวจสอบความตรงของเนื้อหาโดยพิจารณาตามเกณฑ์ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นตรงกันมากกว่าร้อยละ 80 และตรวจสอบความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach's alpha) ค่าความเที่ยงในรอบที่ 1 และรอบที่ 2 เท่ากับ .81 ทั้งสองรอบ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จากการสอบถามผู้เชี่ยวชาญในรอบที่ 1 ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 9 ด้าน จำนวน 83 รายการ รอบที่ 2 ประกอบด้วนสมรรถนะหลัก 6 ด้าน จำนวน 77 รายการ และรอบที่ 3 ประกอบด้วย สมรรถนะหลัก 6 ด้าน จำนวน 72 รายการ โดยสรุปสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 6 ด้าน คือ ด้านองค์ความรู้ทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ด้านการวิจัยและการพัฒนาตนเอง ด้านภาวะผู้นำและการบริหารจัดการ ด้านจริยธรรรมจรรยาบรรณวิชาชีพและวัฒนธรรม และด้านการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันทุกข้อ นอกจากนั้นยังมีสมรรถนะรายข้อย่อยที่มีความสำคัญในระดับมากอีกรวม 71 รายการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23153 การศึกษาสมมรถนะหลักของพยาบาลบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข = A study of professional nurse's core competencies at general hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health [printed text] / สมนึก สุวรรณภูเต, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 . - ก-ฎ, 195 แผ่น ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-532-766-2 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]สมรรถภาพในการทำงานKeywords: พยาบาล.
การทำงาน.Class number: WY100.1 ส865 2548 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาโดยใช้เทคนิคเดลฟาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพพยาบาล จำนวน 18 คน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาพยาบาล ด้านการบริหารทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล และด้านกฎหมายและจริยธรรมทางวิชาชีพพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ใช้ระยะเวลารวบรวมข้อมูล 142 วัน แบบสอบถามรอบแรกเป็นแบบสอบถามปลายเปิดและปลายปิด รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ตรวจสอบความตรงของเนื้อหาโดยพิจารณาตามเกณฑ์ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นตรงกันมากกว่าร้อยละ 80 และตรวจสอบความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach's alpha) ค่าความเที่ยงในรอบที่ 1 และรอบที่ 2 เท่ากับ .81 ทั้งสองรอบ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จากการสอบถามผู้เชี่ยวชาญในรอบที่ 1 ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 9 ด้าน จำนวน 83 รายการ รอบที่ 2 ประกอบด้วนสมรรถนะหลัก 6 ด้าน จำนวน 77 รายการ และรอบที่ 3 ประกอบด้วย สมรรถนะหลัก 6 ด้าน จำนวน 72 รายการ โดยสรุปสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 6 ด้าน คือ ด้านองค์ความรู้ทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ด้านการวิจัยและการพัฒนาตนเอง ด้านภาวะผู้นำและการบริหารจัดการ ด้านจริยธรรรมจรรยาบรรณวิชาชีพและวัฒนธรรม และด้านการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันทุกข้อ นอกจากนั้นยังมีสมรรถนะรายข้อย่อยที่มีความสำคัญในระดับมากอีกรวม 71 รายการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23153 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354603 WY100.1 ส865 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 / อโนชา ทองกองทุน / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 Material Type: printed text Authors: อโนชา ทองกองทุน, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก- ฌ, 184 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-170-062-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]เทคนิคเดลฟายKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
พยาบาลประจำการ.
การทำงานเป็นทีม.Class number: WY18 อ985 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เพื่อ ศึกษาขอบเขตการปฏิบัติงานของหัีวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นที่ 2 ศึกษาขอบเขตการปฎบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 โดยใช้เทคนิด Ethnographic Future Research (EDFR) ทำการคัดเลือกขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป และเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 19 ท่าน (Md มากกว่า 3.50, IR น้อย 1.50) ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 99 วัน
ผลการวิจัยพบว่า ขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 ประกอบด้วย ขอบเขตการปฏิบัติงาน 6 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการบริหารทั่วไป ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบาย และการวางแผนในระดับหน่วยงาน และระดับโรงพยาบาล ตลอดจนการบริหารจัดการในหน่วยงานเกี่ยวกับงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ รวมถึงอาคาร สถานที่
2. ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ บุคลากรพยาบาลในหน่วยงาน การพัฒนาบุคลากร รวมทั้งการรักษาบุคลากรที่มีคุณค่าเอาไว้
3. ด้านการบริการและการพัฒนาคุณภาพการบริการ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน ทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพบริการ
4. ด้านวิชาการและการวิจัย ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้่ด้วยตนเองของบุคลากรพยาบาล และการพัฒนาการวิจัย
5. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ด้านการพัฒนาวิชาชีพ ครอบคุลมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติการพยาบาลเชิงวิชาชีพ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23331 ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 [printed text] / อโนชา ทองกองทุน, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก- ฌ, 184 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-170-062-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]เทคนิคเดลฟายKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
พยาบาลประจำการ.
การทำงานเป็นทีม.Class number: WY18 อ985 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เพื่อ ศึกษาขอบเขตการปฏิบัติงานของหัีวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นที่ 2 ศึกษาขอบเขตการปฎบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 โดยใช้เทคนิด Ethnographic Future Research (EDFR) ทำการคัดเลือกขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป และเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 19 ท่าน (Md มากกว่า 3.50, IR น้อย 1.50) ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 99 วัน
ผลการวิจัยพบว่า ขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 ประกอบด้วย ขอบเขตการปฏิบัติงาน 6 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการบริหารทั่วไป ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบาย และการวางแผนในระดับหน่วยงาน และระดับโรงพยาบาล ตลอดจนการบริหารจัดการในหน่วยงานเกี่ยวกับงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ รวมถึงอาคาร สถานที่
2. ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ บุคลากรพยาบาลในหน่วยงาน การพัฒนาบุคลากร รวมทั้งการรักษาบุคลากรที่มีคุณค่าเอาไว้
3. ด้านการบริการและการพัฒนาคุณภาพการบริการ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน ทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพบริการ
4. ด้านวิชาการและการวิจัย ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้่ด้วยตนเองของบุคลากรพยาบาล และการพัฒนาการวิจัย
5. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ด้านการพัฒนาวิชาชีพ ครอบคุลมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติการพยาบาลเชิงวิชาชีพ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23331 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357267 THE WY18 อ985 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาทและความยืดหยุ่น / วรรณฤดี เชาว์ศรีกุล / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาทและความยืดหยุ่น : ของทีมกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ Original title : Relationships between personality, working ability, role diversity, flexibility of teams and nursing team effectiveness of professional nurses in intensive care units, regional hospital and medical centers Material Type: printed text Authors: วรรณฤดี เชาว์ศรีกุล, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก-ฎ, 192 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-031-431-7 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)) -- จุฬาลงกรณ์มหาิวิทยาลัย,2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บุคลิกภาพ
[LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การทำงาน.
พยาบาลวิชาชีพ
บุคลิกภาพ.Class number: WY100 ว777 2544 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัีมพันธ์ีระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท และความยืดหยุ่นของทีม กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ และศึกษากลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมทำนายประสิืทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ทีมการพยาบาล 74 ทีม ที่ประกอบด้วย พยาบาลวิชาบีพ จำนวน 471 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย จากประชากร 977 คน ซึ่งปฎิบัติงานอยู่ในหอผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ เครื่องมือที่ใช้ในการรบวรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท ความยืดหยุ่นของทีม และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ผ่านการตรวจสอบความตรงทางเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าความเที่ยงระหว่าง 0.70-0.93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรขั้นตอน (ใช้ทีมเป็นหน่วยในการวิเคราะห์) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย 3.83)
2. ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน และความยืดหยุ่นของทีม มีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับสูง กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.72, 0.77 และ0.78 ตามลำดับ) บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิกภาพประนีประนอม และบุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.33, 0.32 และ 0.31) ตามลำดับ และบุคลิกภาพเปิดเผยมีความสัมพันธ์ในระดับต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.20) ส่วนบุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ไม่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล
3. กลุ่มตัวแปรพยากรณ์ที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ได้แก่ ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน ความยืดหยุ่นของทีม และบุคลิกภาพควบคุมตนเองโดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 73 (R=0.73) โดยมีสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23307 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาทและความยืดหยุ่น = Relationships between personality, working ability, role diversity, flexibility of teams and nursing team effectiveness of professional nurses in intensive care units, regional hospital and medical centers : ของทีมกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ [printed text] / วรรณฤดี เชาว์ศรีกุล, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก-ฎ, 192 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-031-431-7 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)) -- จุฬาลงกรณ์มหาิวิทยาลัย,2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บุคลิกภาพ
[LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การทำงาน.
พยาบาลวิชาชีพ
บุคลิกภาพ.Class number: WY100 ว777 2544 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัีมพันธ์ีระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท และความยืดหยุ่นของทีม กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ และศึกษากลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมทำนายประสิืทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ทีมการพยาบาล 74 ทีม ที่ประกอบด้วย พยาบาลวิชาบีพ จำนวน 471 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย จากประชากร 977 คน ซึ่งปฎิบัติงานอยู่ในหอผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ เครื่องมือที่ใช้ในการรบวรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท ความยืดหยุ่นของทีม และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ผ่านการตรวจสอบความตรงทางเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าความเที่ยงระหว่าง 0.70-0.93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรขั้นตอน (ใช้ทีมเป็นหน่วยในการวิเคราะห์) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย 3.83)
2. ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน และความยืดหยุ่นของทีม มีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับสูง กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.72, 0.77 และ0.78 ตามลำดับ) บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิกภาพประนีประนอม และบุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.33, 0.32 และ 0.31) ตามลำดับ และบุคลิกภาพเปิดเผยมีความสัมพันธ์ในระดับต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.20) ส่วนบุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ไม่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล
3. กลุ่มตัวแปรพยากรณ์ที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ได้แก่ ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน ความยืดหยุ่นของทีม และบุคลิกภาพควบคุมตนเองโดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 73 (R=0.73) โดยมีสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23307 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000384667 THE WY100 ว777 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ประสบการณ์การปฎิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพภายใต้สถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ / สุรัสวดี ไมตรีกุล / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : ประสบการณ์การปฎิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพภายใต้สถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ Original title : Working experiences of professional nurses under violent situation in southern border province Material Type: printed text Authors: สุรัสวดี ไมตรีกุล, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ญ, 180 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
การทำงาน.
จังหวัดชายแดนภาคใต้.Class number: WY100 ส848 2550 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฎการณ์วิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจบริบทและประสบการณ์การปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพภายใต้สถานการณ์รุนแรงในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ ศึกษาในโรงพยาบาลศูนย์ยะลาซึ่งเป็นโรงพยาบาลระดับตติยภูมิในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้ให้ข้อมูล เป็นพยาบาลวิชาชีพที่คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงมีประสบการณ์การปฏิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ยะลา 2 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความและวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษามีดังนี้ ภายใต้สถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ทำให้พยาบาลวิชาชีพมองการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากปรากฎการณ์นี้ว่าเปรียบเสมือนอยู่ในภาวะสงคราม บรรยากาศการอยู่ร่วมกันของผู้คนเป็นไปอย่างไร้ความสุขและเต็มไปด้วยความสับสนโดยเฉพาะการใช้ชีวิตประจำวันอยู่ในความหวาดกลัวรู้สึกไม่ปลอดภัยในชีวิตและต้องระมัดระวังตัวตลอดเวลา ทั้งนี้เนื่องจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นมีแต่ปัญหาการบาดเจ็บและล้มตายของคนรอบตัวจากการถูกระเบิด ดังนั้นการปฏิบัติงานของพยาบาลจึงเครียดมากขึ้นเพราะการที่พยาบาลต้องปฏิบัติงานภายใต้สภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัยกับชีวิตทำให้รู้สึกเครียดทั้งงานและเครียดกับความปลอดภัยในชีวิต ซึ่งพยาบาลต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของตนเองเพื่อให้สามารถทำงานได้ต่อไปรวมทั้งต้องหาวิธีการจัดการกับความเครียด ซึ่งส่วนใหญ่ใช้วิธีการหันเหความสนใจและปรับตัวโดยการยึดศาสนาเป็นที่พึ่งทางจิตใจ สำหรับการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมโดยแบ่งเป็นการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ปกติ ด้านการให้บริการพยาบาล ด้านการบริหาร และด้านวิชาการที่ต้องปฏิบัติคงเดิม ส่วนบทบาทหน้าที่ใหม่ที่เพิ่มขึ้นคือการปฏิบัติการช่วยเหลือในอุบัติภัยหมู่ คำแนะนำด้านสุขภาพที่ต้องมุ่งเน้นการให้คำแนะนำในการมาโรงพยาบาลอย่างปลอดภัย สำหรับการปฏิบัติงานที่ลดน้อยลงคือการบริการส่งเสริมสุขภาพ งานฟื้นฟูสุขภาพทำได้ยากขึ้นและการเยี่ยมบ้านต้องหยุดชะงักลง งานบริการการส่งต่อผู้ป่วยที่รูปแบบการบริการเปลี่ยนไปโดยเฉพาะงานรับผู้ป่วยที่จุดเกิดเหตุดำเนินการน้อยลงเนื่องจากเกรงความไม่ปลอดภัย สำหรับเหตุผลที่ทำให้พยาบาลสามารถคงอยู่ปฏิบัติงานท่ามกลางความไม่ปลอดภัยคือ 1) ได้รับขวัญกำลังใจจากหน่วยราชการ 2) ความรักและความผูกพันที่มีต่อถิ่นเกิด 3) รู้สึกภาคภูมิใจในวิชาชีพพยาบาลที่สามารถเป็นที่พึ่งให้กับผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ ผลการศึกษาที่ได้แม้พยาบาลวิชาชีพจะยังคงปฏิบัติงานท่ามกลางความไม่ปลอดภัยต่อไปได้แต่ผู้บริหารของกระทรวงสาธารณสุขและผู้บริหารทางการพยาบาลควรมีการกำหนดนโยบายเชิงรุกเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนพยาบาลในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้และต้องหาวิธีการต่างๆในการสนับสนุนและส่งเสริมขวัญและกำลังใจตลอดจนหามาตรการสร้างความปลอดภัยในชีวิตพยาบาลด้วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23215 ประสบการณ์การปฎิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพภายใต้สถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ = Working experiences of professional nurses under violent situation in southern border province [printed text] / สุรัสวดี ไมตรีกุล, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ญ, 180 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
การทำงาน.
จังหวัดชายแดนภาคใต้.Class number: WY100 ส848 2550 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฎการณ์วิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจบริบทและประสบการณ์การปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพภายใต้สถานการณ์รุนแรงในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ ศึกษาในโรงพยาบาลศูนย์ยะลาซึ่งเป็นโรงพยาบาลระดับตติยภูมิในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้ให้ข้อมูล เป็นพยาบาลวิชาชีพที่คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงมีประสบการณ์การปฏิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ยะลา 2 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความและวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษามีดังนี้ ภายใต้สถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ทำให้พยาบาลวิชาชีพมองการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากปรากฎการณ์นี้ว่าเปรียบเสมือนอยู่ในภาวะสงคราม บรรยากาศการอยู่ร่วมกันของผู้คนเป็นไปอย่างไร้ความสุขและเต็มไปด้วยความสับสนโดยเฉพาะการใช้ชีวิตประจำวันอยู่ในความหวาดกลัวรู้สึกไม่ปลอดภัยในชีวิตและต้องระมัดระวังตัวตลอดเวลา ทั้งนี้เนื่องจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นมีแต่ปัญหาการบาดเจ็บและล้มตายของคนรอบตัวจากการถูกระเบิด ดังนั้นการปฏิบัติงานของพยาบาลจึงเครียดมากขึ้นเพราะการที่พยาบาลต้องปฏิบัติงานภายใต้สภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัยกับชีวิตทำให้รู้สึกเครียดทั้งงานและเครียดกับความปลอดภัยในชีวิต ซึ่งพยาบาลต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของตนเองเพื่อให้สามารถทำงานได้ต่อไปรวมทั้งต้องหาวิธีการจัดการกับความเครียด ซึ่งส่วนใหญ่ใช้วิธีการหันเหความสนใจและปรับตัวโดยการยึดศาสนาเป็นที่พึ่งทางจิตใจ สำหรับการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมโดยแบ่งเป็นการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ปกติ ด้านการให้บริการพยาบาล ด้านการบริหาร และด้านวิชาการที่ต้องปฏิบัติคงเดิม ส่วนบทบาทหน้าที่ใหม่ที่เพิ่มขึ้นคือการปฏิบัติการช่วยเหลือในอุบัติภัยหมู่ คำแนะนำด้านสุขภาพที่ต้องมุ่งเน้นการให้คำแนะนำในการมาโรงพยาบาลอย่างปลอดภัย สำหรับการปฏิบัติงานที่ลดน้อยลงคือการบริการส่งเสริมสุขภาพ งานฟื้นฟูสุขภาพทำได้ยากขึ้นและการเยี่ยมบ้านต้องหยุดชะงักลง งานบริการการส่งต่อผู้ป่วยที่รูปแบบการบริการเปลี่ยนไปโดยเฉพาะงานรับผู้ป่วยที่จุดเกิดเหตุดำเนินการน้อยลงเนื่องจากเกรงความไม่ปลอดภัย สำหรับเหตุผลที่ทำให้พยาบาลสามารถคงอยู่ปฏิบัติงานท่ามกลางความไม่ปลอดภัยคือ 1) ได้รับขวัญกำลังใจจากหน่วยราชการ 2) ความรักและความผูกพันที่มีต่อถิ่นเกิด 3) รู้สึกภาคภูมิใจในวิชาชีพพยาบาลที่สามารถเป็นที่พึ่งให้กับผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ ผลการศึกษาที่ได้แม้พยาบาลวิชาชีพจะยังคงปฏิบัติงานท่ามกลางความไม่ปลอดภัยต่อไปได้แต่ผู้บริหารของกระทรวงสาธารณสุขและผู้บริหารทางการพยาบาลควรมีการกำหนดนโยบายเชิงรุกเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนพยาบาลในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้และต้องหาวิธีการต่างๆในการสนับสนุนและส่งเสริมขวัญและกำลังใจตลอดจนหามาตรการสร้างความปลอดภัยในชีวิตพยาบาลด้วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23215 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355055 WY100 ส848 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available เกียรติประวัติแพทย์ไทยฝากไว้ให้คนรุ่นหลัง: ชีวิตและผลงานของศาสตราจารย์นายแพทย์เสม พริ้งพวงแก้ว / สันติสุข โสภณสิริ / นนทบุรี: สุขศาลา - 2555
Title : เกียรติประวัติแพทย์ไทยฝากไว้ให้คนรุ่นหลัง: ชีวิตและผลงานของศาสตราจารย์นายแพทย์เสม พริ้งพวงแก้ว Material Type: printed text Authors: สันติสุข โสภณสิริ, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3 Publisher: นนทบุรี: สุขศาลา Publication Date: 2555 Pagination: 256 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 29.8 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-905552-5 Price: บริจาค Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การแพทย์กับสังคม
[LCSH]แพทย์ -- ชีวประวัติKeywords: แพทย์, ชีวประวัติ, การแพทย์กับสังคม Class number: WZ100 ส918ก 2555 Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28081 เกียรติประวัติแพทย์ไทยฝากไว้ให้คนรุ่นหลัง: ชีวิตและผลงานของศาสตราจารย์นายแพทย์เสม พริ้งพวงแก้ว [printed text] / สันติสุข โสภณสิริ, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 3 . - [S.l.] : นนทบุรี: สุขศาลา, 2555 . - 256 น. : ภาพประกอบ ; 29.8 ซม.
ISBN : 978-6-16-905552-5 : บริจาค
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การแพทย์กับสังคม
[LCSH]แพทย์ -- ชีวประวัติKeywords: แพทย์, ชีวประวัติ, การแพทย์กับสังคม Class number: WZ100 ส918ก 2555 Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28081 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607350 WZ100 ส918ก 2555 Book Main Library General Shelf Available Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2554
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Collection Title: Old book collection Title : ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2554 Pagination: 182 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-974-383-227-7 Price: บริจาค. (250.00) General note: หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 3 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2554 . - 182 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-383-227-7 : บริจาค. (250.00)
หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383719 WY105 ค181 2554 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. จริยศาสตร์สำหรับพยาบาล / สิวลี ศิริไล / [กรุงเทพฯ] : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2556
Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000389294 WY85 ส733 2556 c.2 Book Main Library General Shelf Available 32002000389302 WY85 ส733 2556 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000389328 WY85 ส733 2556 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000389278 WY85 ส733 2556 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000389252 WY85 ส733 2556 c.5 Book Main Library Library Counter Available 32002000493229 WY85 ส733 2556 c.6 Book Main Library Library Counter Available 32002000493245 WY85 ส733 2556 c.7 Book Main Library Library Counter Available 32002000493260 WY85 ส733 2556 c.8 Book Main Library Library Counter Available 32002000493237 WY85 ส733 2556 c.9 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. บันทึกจากหัวใจผู้เยียวยา : ๙ เรื่องเล่าอุ่นหัวัใจ / กรรณจริยา สุขรุ่ง / งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ และสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, - 2555
Collection Title: Old book collection Title : บันทึกจากหัวใจผู้เยียวยา : ๙ เรื่องเล่าอุ่นหัวัใจ Material Type: printed text Authors: กรรณจริยา สุขรุ่ง, Editor ; อรุณศรี เตชัสหงส์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ และสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, Publication Date: 2555 Pagination: 57 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 21 ซม. Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบันทึก
[LCSH]การพยาบาล -- รวมเรื่อง
[LCSH]การพยาบาล, การดุแลKeywords: การเยียวยา.
พยาบาล.
การดูแล.
บันทึก.Class number: WY5 บ268 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23261 Old book collection. บันทึกจากหัวใจผู้เยียวยา : ๙ เรื่องเล่าอุ่นหัวัใจ [printed text] / กรรณจริยา สุขรุ่ง, Editor ; อรุณศรี เตชัสหงส์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - [S.l.] : งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ และสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล,, 2555 . - 57 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบันทึก
[LCSH]การพยาบาล -- รวมเรื่อง
[LCSH]การพยาบาล, การดุแลKeywords: การเยียวยา.
พยาบาล.
การดูแล.
บันทึก.Class number: WY5 บ268 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23261 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355972 WY5 บ268 2555 Book Main Library Library Counter Available SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย / ละมิตร์ ปีกขาว / คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2557
Collection Title: SIU THE-T Title : ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย Original title : Work happiness of Thai nurses Material Type: printed text Authors: ละมิตร์ ปีกขาว, Author Publisher: คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2557 Pagination: x, 221 หน้า Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย = Work happiness of Thai nurses [printed text] / ละมิตร์ ปีกขาว, Author . - [S.l.] : คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2557 . - x, 221 หน้า : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000580710 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000580702 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. แนวทางในการสร้างแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด / สุนันทา สาภูงา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : แนวทางในการสร้างแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด Original title : Motivation Building Direction of Polices in Narcotics Suppression Police Bureau Material Type: printed text Authors: สุนันทา สาภูงา, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 73 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-34
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด
[LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจKeywords: การทำงาน,
แรงจูงใจ,
ตำรวจAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเพื่อเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด จำนวน 310 คน ใช้สถิติ เช่น ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากมีอายุระหว่าง 31 ถึง 40 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีระดับตำแหน่งชั้นยศ ส.ต.ต. ถึง ส.ต.อ. มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 ถึง 20,000 บาท และมีอายุราชการระหว่าง 1 ถึง 10 ปี ผลการวิจัยพบว่า ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด มีระดับแรงจูงในการทำงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความรับผิดชอบ รองลงมา คือ ด้านความสำเร็จในการงาน ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ตามลำดับ ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่าปัจจัยส่วนบุคคลกับแรงจูงใจในการทำงาน พบว่า ข้าราชการตำรวจที่มีอายุ ระดับการศึกษา ระดับตำแหน่งชั้นยศ รายได้ และอายุราชการ แตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการทำงาน ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27271 SIU IS-T. แนวทางในการสร้างแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด = Motivation Building Direction of Polices in Narcotics Suppression Police Bureau [printed text] / สุนันทา สาภูงา, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 73 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-34
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด
[LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจKeywords: การทำงาน,
แรงจูงใจ,
ตำรวจAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเพื่อเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด จำนวน 310 คน ใช้สถิติ เช่น ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากมีอายุระหว่าง 31 ถึง 40 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีระดับตำแหน่งชั้นยศ ส.ต.ต. ถึง ส.ต.อ. มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 ถึง 20,000 บาท และมีอายุราชการระหว่าง 1 ถึง 10 ปี ผลการวิจัยพบว่า ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด มีระดับแรงจูงในการทำงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความรับผิดชอบ รองลงมา คือ ด้านความสำเร็จในการงาน ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ตามลำดับ ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่าปัจจัยส่วนบุคคลกับแรงจูงใจในการทำงาน พบว่า ข้าราชการตำรวจที่มีอายุ ระดับการศึกษา ระดับตำแหน่งชั้นยศ รายได้ และอายุราชการ แตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการทำงาน ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27271 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594950 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-34 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594968 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-34 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจร / เรืองฤทธิ์ โล่ห์คำ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจร Original title : Work Motivation for Police Patrol Officers 4 (Vehicle Convoy), Division 1, Traffic Police Division Material Type: printed text Authors: เรืองฤทธิ์ โล่ห์คำ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: ix, 87 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-07
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงาน -- ไทยKeywords: แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน
การทำงานเป็นทีม
ข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจรAbstract: การที่คนเราจะเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงานได้จะต้องมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานดังนั้นแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การมีผลต่อความสำเร็จของงานและองค์การงานสายตรวจ 4 กก.1 บก.จร. เป็นหน่วยงานหนึ่งในสังกัด กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีภารกิจหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการประสานงานสนับสนุนและดำเนินการเกี่ยวกับงานอำนวยการจราจรในการนำขบวนเพื่อถวายความปลอดภัยและรักษาความปลอดภัยขบวนบุคคลสำคัญ ตลอดจนอำนวยการนำขบวนในงานกิจการพิเศษต่างๆ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและการทำงานเป็นทีมของข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจร Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26082 SIU IS-T. แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจร = Work Motivation for Police Patrol Officers 4 (Vehicle Convoy), Division 1, Traffic Police Division [printed text] / เรืองฤทธิ์ โล่ห์คำ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - ix, 87 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-07
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงาน -- ไทยKeywords: แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน
การทำงานเป็นทีม
ข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจรAbstract: การที่คนเราจะเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงานได้จะต้องมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานดังนั้นแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การมีผลต่อความสำเร็จของงานและองค์การงานสายตรวจ 4 กก.1 บก.จร. เป็นหน่วยงานหนึ่งในสังกัด กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีภารกิจหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการประสานงานสนับสนุนและดำเนินการเกี่ยวกับงานอำนวยการจราจรในการนำขบวนเพื่อถวายความปลอดภัยและรักษาความปลอดภัยขบวนบุคคลสำคัญ ตลอดจนอำนวยการนำขบวนในงานกิจการพิเศษต่างๆ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและการทำงานเป็นทีมของข้าราชการตำรวจงานสายตรวจ 4 (รถนำขบวน) กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจจราจร Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26082 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000506905 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-07 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000506848 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-07 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000591469 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-07 c.3 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available Architecture thesis 2014 / Faculty of Architecture Chiang Mai University / Chiang Mai University - 2014
Title : Architecture thesis 2014 : การจบ เพื่อเริ่มต้น Material Type: printed text Authors: Faculty of Architecture Chiang Mai University, Author Publisher: Chiang Mai University Publication Date: 2014 Pagination: 160 หน้า. Layout: ภาพประกอบ. Size: 21 ซม. Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Architecture
[LCSH]Dissertations, Academic
[LCSH]มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ -- นักศึกษา -- ผลงาน
[LCSH]มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ -- นักศึกษา -- วิทยานิพนธ์Keywords: สถาปัตยกรรม.
ผลงานนักศึกษา.
วิทยานิพนธ์.Class number: NA2460 .T5 T43 2014 Curricular : BSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23810 Architecture thesis 2014 : การจบ เพื่อเริ่มต้น [printed text] / Faculty of Architecture Chiang Mai University, Author . - Chiang Mai, Thailand : Chiang Mai University, 2014 . - 160 หน้า. : ภาพประกอบ. ; 21 ซม.
บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Architecture
[LCSH]Dissertations, Academic
[LCSH]มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ -- นักศึกษา -- ผลงาน
[LCSH]มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ -- นักศึกษา -- วิทยานิพนธ์Keywords: สถาปัตยกรรม.
ผลงานนักศึกษา.
วิทยานิพนธ์.Class number: NA2460 .T5 T43 2014 Curricular : BSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23810 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000470219 NA2460 .T5 T43 2014 c.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000470243 NA2460 .T5 T43 2014 c.2 Book Main Library General Shelf Available การจัดการทางการพยาบาลและภาวะผู้นำ / กัญญดา ประจุศิลป / กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2562
Title : การจัดการทางการพยาบาลและภาวะผู้นำ Material Type: printed text Authors: กัญญดา ประจุศิลป, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2 Publisher: กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2562 Pagination: 173 น. Size: 24 ซม. Price: 290.00 บาท General note: บทที่ 1 การพยาบาลในยุคไทยแลนด์ 4.0 -- บทที่ 2 สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานพยาบาล -- บทที่ 3 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีความหลากหลายรุ่นอายุ -- บทที่ 4 พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร -- บทที่ 5 ภาวะผู้นำทางการพยาบาล
หอสมุดปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บริจาคจำนวน 4 เล่มLanguages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]พยาบาล -- การบริหาร
[NLM]พยาบาล -- ภาวะผู้นำ
[NLM]ภาวะผู้นำ -- แนวคิดKeywords: ผู้นำ, พยาบาล Class number: WY105 ก417ก 2562 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28245 การจัดการทางการพยาบาลและภาวะผู้นำ [printed text] / กัญญดา ประจุศิลป, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2 . - [S.l.] : กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562 . - 173 น. ; 24 ซม.
290.00 บาท
บทที่ 1 การพยาบาลในยุคไทยแลนด์ 4.0 -- บทที่ 2 สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานพยาบาล -- บทที่ 3 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีความหลากหลายรุ่นอายุ -- บทที่ 4 พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร -- บทที่ 5 ภาวะผู้นำทางการพยาบาล
หอสมุดปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บริจาคจำนวน 4 เล่ม
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]พยาบาล -- การบริหาร
[NLM]พยาบาล -- ภาวะผู้นำ
[NLM]ภาวะผู้นำ -- แนวคิดKeywords: ผู้นำ, พยาบาล Class number: WY105 ก417ก 2562 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28245 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607295 WY105 ก417ก 2562 c.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000607298 WY105 ก417ก 2562 c.2 Book Main Library General Shelf Available 32002000607297 WY105 ก417ก 2562 c.3 Book Main Library General Shelf Available 32002000607296 WY105 ก417ก 2562 c.4 Book Main Library General Shelf Available การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลพื้นฐาน / ศธัญญา ธิติศักดิ์ / กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย - 2563
Title : การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลพื้นฐาน Material Type: printed text Authors: ศธัญญา ธิติศักดิ์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2 Publisher: กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย Publication Date: 2563 Pagination: 97 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 25.9 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-931394-6 Price: - General note: บทที่ 1 ความสำคัญของการควบคุมยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- บทที่ 2 พิษภัยจากยาสูบและแนวทางการควบคุมยาสูบ -- บทที่ 3 การจัดการเรียนการสอนเพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- หน่วยที่ 1 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการรับผู้รับบริการใหม่และการจำหน่ายผู้รับบริการกลับบ้าน -- หน่วยที่ 2 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการประเมินสัญญาณชีพ -- หน่วยที่ 3 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลและสิ่งแวดล้อม -- หน่วยที่ 4 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับสารอาหาร -- หน่วยที่ 5 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้มีกิจกรรมและการพักผ่อน -- หน่วยที่ 6 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการขับถ่าย -- หน่วยที่ 7 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับออกซิเจน -- หน่วยที่ 8 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการที่มีบาดแผล -- หน่วยที่ 9 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการป้องกันควบคุมป้องกันการติดเชื้อ -- หน่วยที่ 10 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการบริหารยา
สมาคมพยาบาล เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย บริจาคจำนวน 5 เล่มLanguages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]การพยาบาลพื้นฐาน
[NLM]การศึกษาพยาบาล
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]บุหรี่ -- การควบคุมการบริโภคKeywords: พยาบาล, การศึกษา Class number: WY100 ศ122ก 2563 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28240 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลพื้นฐาน [printed text] / ศธัญญา ธิติศักดิ์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2 . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย, 2563 . - 97 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 25.9 ซม.
ISBN : 978-6-16-931394-6 : -
บทที่ 1 ความสำคัญของการควบคุมยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- บทที่ 2 พิษภัยจากยาสูบและแนวทางการควบคุมยาสูบ -- บทที่ 3 การจัดการเรียนการสอนเพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- หน่วยที่ 1 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการรับผู้รับบริการใหม่และการจำหน่ายผู้รับบริการกลับบ้าน -- หน่วยที่ 2 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการประเมินสัญญาณชีพ -- หน่วยที่ 3 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลและสิ่งแวดล้อม -- หน่วยที่ 4 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับสารอาหาร -- หน่วยที่ 5 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้มีกิจกรรมและการพักผ่อน -- หน่วยที่ 6 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการขับถ่าย -- หน่วยที่ 7 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับออกซิเจน -- หน่วยที่ 8 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการที่มีบาดแผล -- หน่วยที่ 9 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการป้องกันควบคุมป้องกันการติดเชื้อ -- หน่วยที่ 10 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการบริหารยา
สมาคมพยาบาล เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย บริจาคจำนวน 5 เล่ม
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]การพยาบาลพื้นฐาน
[NLM]การศึกษาพยาบาล
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]บุหรี่ -- การควบคุมการบริโภคKeywords: พยาบาล, การศึกษา Class number: WY100 ศ122ก 2563 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28240 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607242 WY100 ศ122ก 2563 c.5 Book Main Library General Shelf Available 32002000607244 WY100 ศ122ก 2563 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607243 WY100 ศ122ก 2563 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607240 WY100 ศ122ก 2563 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607241 WY100 ศ122ก 2563 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available