From this page you can:
Home |
Search results
49 result(s) search for keyword(s) 'พยาบาลวิชาชีพ. โรงพยาบาลประจำจังหวัด. การบริการ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลประจำจังหวัดสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเขต 14 / ขวัญจิต เพ็งแป้น / มหาวิทยาลัยราชธานี - 2551
Title : ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลประจำจังหวัดสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเขต 14 Original title : Professional nurse image as perceived by patients provincial hospitals The Ministry of public health the 14th region Material Type: printed text Authors: ขวัญจิต เพ็งแป้น, Author Publisher: มหาวิทยาลัยราชธานี Publication Date: 2551 Pagination: 128 หน้า. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม. (การบริหารการพยาบาล)).-- มหาวิทยาลัยราชธานี, 2551. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- การบริการ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลประจำจังหวัดKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลประจำจังหวัด.
การบริการ.Class number: WY100 ข171 2551 Abstract: การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ ศึกษาภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ เปรียบเทียบภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลประจำจังหวัด สังกัดกระทรวงสาธารณสุขเขต 14 ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 400 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและผ่านการตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ หาค่าความเที่ยงด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ เท่ากับ 0.95 และ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่่าที
ผลการวิจัยพบว่า ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการอยู่ในระดับดี (ค่าเฉลี่ยตามลำดับดังนี้ 4.47 SD = 0.56 และ 4.04 SD = 0.60) ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติแตกต่างจากภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจรงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23345 ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลประจำจังหวัดสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเขต 14 = Professional nurse image as perceived by patients provincial hospitals The Ministry of public health the 14th region [printed text] / ขวัญจิต เพ็งแป้น, Author . - [S.l.] : มหาวิทยาลัยราชธานี, 2551 . - 128 หน้า. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม. (การบริหารการพยาบาล)).-- มหาวิทยาลัยราชธานี, 2551.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- การบริการ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลประจำจังหวัดKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลประจำจังหวัด.
การบริการ.Class number: WY100 ข171 2551 Abstract: การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ ศึกษาภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ เปรียบเทียบภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลประจำจังหวัด สังกัดกระทรวงสาธารณสุขเขต 14 ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 400 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและผ่านการตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ หาค่าความเที่ยงด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ เท่ากับ 0.95 และ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่่าที
ผลการวิจัยพบว่า ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการอยู่ในระดับดี (ค่าเฉลี่ยตามลำดับดังนี้ 4.47 SD = 0.56 และ 4.04 SD = 0.60) ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติแตกต่างจากภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจรงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23345 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357036 THE WY100 ข171 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน / สุภาพร เสือรอด in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน : ในโรงพยาบ่าลชุมชนพื่นที่ติดชายแดนภาคตะวันตก Original title : Proactive health care service of nurseworking in a community hospital at west Material Type: printed text Authors: สุภาพร เสือรอด, Author ; อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.79-87 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.79-87Keywords: การบริการสุขภาพเชิงรุก.การบริการทางการพยาบาล.พยาบาลวิชาชีพ.โรงพยาบาลชุมชนชายแดนภาคตะวันออก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ บรรยายการให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนพื้นที่ติดชายแดนตะวันตก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบปรากฎการณ์วิทยาการตีความตามแนวคิดของ Heidegger คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง โดยผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานเชิงรุกในโรงพยาบาลชุมชน พื้นที่ติดชายแดนภาคะวันตก มีความยินดีในการเข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะจงและการบันทึกเทป ร่วมกับการบันทึกภาคสนาม นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยวิธีการตีความของ Van Manen (1990) ผลการศึกษามีดังนี้ 1 ร่วมวางแผนการเดินทางกับทุกภาคส่วน 2 เดินทางเข้าหมู่บ้านผ่านเส้นทางอันตราย ต้องใช้ผู้ชำนาญทาง 3 เข้าถึงพื้นที่ เริ่มงานทันที ตามหน้าที่ที่แบ่งกัน 4 ออกจากพื้นที่ไปให้ถึงอีกพื้นที่ก่อนพลบค่ำ 5 ดำเนินการตรวจรักษาชาวบ้านมากหน้าหลายตามารอรับบริการ และ 6 เสร็จงานออกจากพื้นที่ บางครั้งมีปัญหากลับโรงพยาบาลล่าช้ากว่ากำหนด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24955 [article] การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน = Proactive health care service of nurseworking in a community hospital at west : ในโรงพยาบ่าลชุมชนพื่นที่ติดชายแดนภาคตะวันตก [printed text] / สุภาพร เสือรอด, Author ; อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author . - 2015 . - p.79-87.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.79-87Keywords: การบริการสุขภาพเชิงรุก.การบริการทางการพยาบาล.พยาบาลวิชาชีพ.โรงพยาบาลชุมชนชายแดนภาคตะวันออก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ บรรยายการให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนพื้นที่ติดชายแดนตะวันตก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบปรากฎการณ์วิทยาการตีความตามแนวคิดของ Heidegger คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง โดยผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานเชิงรุกในโรงพยาบาลชุมชน พื้นที่ติดชายแดนภาคะวันตก มีความยินดีในการเข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะจงและการบันทึกเทป ร่วมกับการบันทึกภาคสนาม นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยวิธีการตีความของ Van Manen (1990) ผลการศึกษามีดังนี้ 1 ร่วมวางแผนการเดินทางกับทุกภาคส่วน 2 เดินทางเข้าหมู่บ้านผ่านเส้นทางอันตราย ต้องใช้ผู้ชำนาญทาง 3 เข้าถึงพื้นที่ เริ่มงานทันที ตามหน้าที่ที่แบ่งกัน 4 ออกจากพื้นที่ไปให้ถึงอีกพื้นที่ก่อนพลบค่ำ 5 ดำเนินการตรวจรักษาชาวบ้านมากหน้าหลายตามารอรับบริการ และ 6 เสร็จงานออกจากพื้นที่ บางครั้งมีปัญหากลับโรงพยาบาลล่าช้ากว่ากำหนด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24955 Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2554
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Collection Title: Old book collection Title : ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2554 Pagination: 182 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-974-383-227-7 Price: บริจาค. (250.00) General note: หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 3 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2554 . - 182 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-383-227-7 : บริจาค. (250.00)
หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383719 WY105 ค181 2554 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. สุขภาพดีวิถีอาเซียน / วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ / สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ - 2555
Collection Title: Old book collection Title : สุขภาพดีวิถีอาเซียน : รวมบทความวิเคราะห์ระบบบริการสุขภาพ Original title : Asean health care system : Material Type: printed text Authors: วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3. Publisher: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ Publication Date: 2555 Pagination: 158 หน้า. Layout: ภาพประกอบสี Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-974-365-379-7 Price: 220.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บริการสุขภาพ
[LCSH]ระบบบริการสุขภาพ
[LCSH]ระบบบริการสุขภาพ -- รวมเรื่อง
[LCSH]สาธารณสุขมูลฐาน, การบริการKeywords: สาธารณสุขมูลฐาน.
การบริการ.
ระบบบริการสุขภาพ.Class number: W84 ส747 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23439 Old book collection. สุขภาพดีวิถีอาเซียน = Asean health care system : : รวมบทความวิเคราะห์ระบบบริการสุขภาพ [printed text] / วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 3. . - นนทบุรี : สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, 2555 . - 158 หน้า. : ภาพประกอบสี ; 26 ซม.
ISBN : 978-974-365-379-7 : 220.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บริการสุขภาพ
[LCSH]ระบบบริการสุขภาพ
[LCSH]ระบบบริการสุขภาพ -- รวมเรื่อง
[LCSH]สาธารณสุขมูลฐาน, การบริการKeywords: สาธารณสุขมูลฐาน.
การบริการ.
ระบบบริการสุขภาพ.Class number: W84 ส747 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23439 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000386910 W84 ส747 2555 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000505543 W84 ส747 2555 c.10 Book Main Library Library Counter Available 32002000505535 W84 ส747 2555 c.11 Book Main Library Library Counter Available 32002000505527 W84 ส747 2555 c.12 Book Main Library Library Counter Available 32002000505519 W84 ส747 2555 c.13 Book Main Library Library Counter Available 32002000505501 W84 ส747 2555 c.14 Book Main Library Library Counter Available 32002000505550 W84 ส747 2555 c.15 Book Main Library Library Counter Available 32002000386951 W84 ส747 2555 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000386936 W84 ส747 2555 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000386928 W84 ส747 2555 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000386944 W84 ส747 2555 c.5 Book Main Library Library Counter Available 32002000505493 W84 ส747 2555 c.6 Book Main Library Library Counter Available 32002000505485 W84 ส747 2555 c.7 Book Main Library Library Counter Available 32002000505477 W84 ส747 2555 c.8 Book Main Library Library Counter Available 32002000505568 W84 ส747 2555 c.9 Book Main Library Library Counter Available SIU IS-T. การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี / ณัฐพงศ์ ขอจุลซ้วน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Resident’s Attitudes toward Services from Traffic Police in Ta-Chana District, Surattani Province Material Type: printed text Authors: ณัฐพงศ์ ขอจุลซ้วน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2015 Pagination: x, 100 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- สุราษฎร์ธานี -- ท่าชนะ
[LCSH]ตำรวจจราจร
[LCSH]ประชาชน -- ทัศนคติ -- ตำรวจKeywords: ทัศนคติ,
การบริการ,
ตำรวจจราจรAbstract: การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และศึกษาข้อเสนอแนะของประชาชน เพื่อปรับปรุงการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจร ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากประชาชนในเขตอำเภอท่าชนะ จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t-test, F-test
ผลการวิจัยพบว่า การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านความเชื่อมั่นไว้วางใจได้ ด้านการให้ความมั่นใจ ด้านการเข้าใจและรู้จัก ด้านความเป็นรูปธรรม และด้านการตอบสนอง ตามลำดับการเปรียบเทียบการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ สถานภาพ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน ข้อเสนอแนะของประชาชนในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน พบว่า สัญญาณไฟจราจรควรเป็นแบบตัวเลข จัดทำป้ายหรือเครื่องหมายจราจรให้ชัดเจน ตำรวจจราจรปฏิบัติหน้าที่อย่างเสมอภาคและมีความซื่อสัตย์สุจริต ในการปฏิบัติหน้าที่รับฟังความคิดเห็นของประชาชน แสดงกิริยามารยาทที่ดีต่อประชาชน และไปถึงที่เกิดเหตุให้รวดเร็ว ควรจัดหาวิธีที่ทำให้ประชาชนมีความรู้สึกปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และควบคุมการจราจรอย่างสม่ำเสมอCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26660 SIU IS-T. การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี = Resident’s Attitudes toward Services from Traffic Police in Ta-Chana District, Surattani Province [printed text] / ณัฐพงศ์ ขอจุลซ้วน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015 . - x, 100 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- สุราษฎร์ธานี -- ท่าชนะ
[LCSH]ตำรวจจราจร
[LCSH]ประชาชน -- ทัศนคติ -- ตำรวจKeywords: ทัศนคติ,
การบริการ,
ตำรวจจราจรAbstract: การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และศึกษาข้อเสนอแนะของประชาชน เพื่อปรับปรุงการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจร ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากประชาชนในเขตอำเภอท่าชนะ จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t-test, F-test
ผลการวิจัยพบว่า การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านความเชื่อมั่นไว้วางใจได้ ด้านการให้ความมั่นใจ ด้านการเข้าใจและรู้จัก ด้านความเป็นรูปธรรม และด้านการตอบสนอง ตามลำดับการเปรียบเทียบการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ สถานภาพ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน ข้อเสนอแนะของประชาชนในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน พบว่า สัญญาณไฟจราจรควรเป็นแบบตัวเลข จัดทำป้ายหรือเครื่องหมายจราจรให้ชัดเจน ตำรวจจราจรปฏิบัติหน้าที่อย่างเสมอภาคและมีความซื่อสัตย์สุจริต ในการปฏิบัติหน้าที่รับฟังความคิดเห็นของประชาชน แสดงกิริยามารยาทที่ดีต่อประชาชน และไปถึงที่เกิดเหตุให้รวดเร็ว ควรจัดหาวิธีที่ทำให้ประชาชนมีความรู้สึกปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และควบคุมการจราจรอย่างสม่ำเสมอCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26660 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593168 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-06 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593135 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-06 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความคาดหวังในการบริการที่ผู้เสียภาษีอากรต้องการจาก การบริการรับชำระภาษี ขององค์การบริหารส่วนตำบลพลายวาส อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี / อุดมพร จิตต์เหลือ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : ความคาดหวังในการบริการที่ผู้เสียภาษีอากรต้องการจาก การบริการรับชำระภาษี ขององค์การบริหารส่วนตำบลพลายวาส อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Service Expectations of Taxpayers from the Tax Payment Service of Plaiwass Subdistrict Administration, Kanchanadit District, Surat Thani Province Material Type: printed text Authors: อุดมพร จิตต์เหลือ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 99 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-20
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Payment
[LCSH]Service
[LCSH]การบริการ
[LCSH]ผู้เสียภาษี
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- สุราษฎร์ธานี -- พลายวาสKeywords: ความคาดหวัง
การบริการ
ภาษีอากรAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคาดหวังในบริการที่ผู้เสียภาษีอากรต้องการจากการบริการรับชำระภาษี ขององค์การบริหารส่วนตำบลพลายวาส เพื่อเปรียบเทียบความคาดหวังของผู้ใช้บริการชำระภาษีเกี่ยวกับการให้บริการชำระภาษีขององค์การบริหารส่วนตำบลพลายวาส จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของประชาชนในการให้บริการชำระภาษีขององค์การบริหารส่วนตำบลพลายวาส อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26102 SIU IS-T. ความคาดหวังในการบริการที่ผู้เสียภาษีอากรต้องการจาก การบริการรับชำระภาษี ขององค์การบริหารส่วนตำบลพลายวาส อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี = Service Expectations of Taxpayers from the Tax Payment Service of Plaiwass Subdistrict Administration, Kanchanadit District, Surat Thani Province [printed text] / อุดมพร จิตต์เหลือ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 99 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-20
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Payment
[LCSH]Service
[LCSH]การบริการ
[LCSH]ผู้เสียภาษี
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- สุราษฎร์ธานี -- พลายวาสKeywords: ความคาดหวัง
การบริการ
ภาษีอากรAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคาดหวังในบริการที่ผู้เสียภาษีอากรต้องการจากการบริการรับชำระภาษี ขององค์การบริหารส่วนตำบลพลายวาส เพื่อเปรียบเทียบความคาดหวังของผู้ใช้บริการชำระภาษีเกี่ยวกับการให้บริการชำระภาษีขององค์การบริหารส่วนตำบลพลายวาส จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของประชาชนในการให้บริการชำระภาษีขององค์การบริหารส่วนตำบลพลายวาส อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26102 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590206 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-20 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590198 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-20 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย / ละมิตร์ ปีกขาว / คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2557
Collection Title: SIU THE-T Title : ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย Original title : Work happiness of Thai nurses Material Type: printed text Authors: ละมิตร์ ปีกขาว, Author Publisher: คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2557 Pagination: x, 221 หน้า Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย = Work happiness of Thai nurses [printed text] / ละมิตร์ ปีกขาว, Author . - [S.l.] : คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2557 . - x, 221 หน้า : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000580710 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000580702 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. องค์ประกอบของคุณภาพการให้บริการที่มีผลต่อความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของบริษัทรักษาความปลอดภัยในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคกลาง / ศิร์รัฐ ภิรมย์บวรภักดิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : องค์ประกอบของคุณภาพการให้บริการที่มีผลต่อความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของบริษัทรักษาความปลอดภัยในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคกลาง Original title : Elements of Service Quality Influencing on the Success of Security Service Companies in the Industrial Estates in the Central Region Material Type: printed text Authors: ศิร์รัฐ ภิรมย์บวรภักดิ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xii, 120 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2019-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริการ
[LCSH]ธุรกิจรักษาความปลอดภัย -- การให้บริการKeywords: การบริการ,
ความสำเร็จ,
ธุรกิจรักษาความปลอดภัยAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบของการให้บริการที่มีผลต่อความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของธุรกิจรักษาความปลอดภัย ในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคกลาง ทำการเก็บข้อมูลจากผู้จัดการบริษัทผู้ใช้บริการรักษาความปลอดภัยในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคกลาง จำนวน 400 คน ด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และใช้สถิติเชิงอนุมานในการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยยอมรับสมมุติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ทำงานในตำแหน่งผู้จัดการ โดยอยู่ในตำแหน่งปัจจุบันมากกว่า 1 ถึง 5 ปี ทำงานอยู่ในธุรกิจประเภทอุตสาหกรรมการผลิต โดยบริษัทจดทะเบียนมาแล้วมากกว่า 10 ปี มีจำนวนพนักงานทำงานในกิจการจำนวน 101 - 500 คน ผลจากการวิจัยในครั้งนี้พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับขนาดของบริษัทรักษาความปลอดภัยในระดับมากที่สุด รองลงมาพบว่ามีการให้ความความสำคัญกับจำนวนพนักงานรักษาความปลอดภัยของบริษัทผู้ให้บริการ และการรับผิดชอบต่อความเสียหายว่ามีผลต่อความสำเร็จของการบริการ ส่วนความสำคัญด้านคุณลักษณะของบริษัทผู้ให้บริการรักษาความปลอดภัย พบว่า ภาพลักษณ์และชื่อเสียงของบริษัทผู้ให้บริการรักษาความปลอดภัยในภาพรวมมีความสำคัญอยู่ในระดับมากที่สุดเช่นกัน โดยพบว่า ชื่อเสียงของเจ้าของธุรกิจมีความสำคัญเป็นอันดับแรก รองลงมาคือหน่วยงานที่เคยใช้บริการสำหรับนำมาใช้ในการอ้างอิง การได้รับการรับรองโดยสถาบันต่างๆ เรียงตามลำดับ การฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร การได้รับการรับรองมาตรฐาน และประสบการณ์ของบริษัทผู้ให้บริการในธุรกิจรักษาความปลอดภัย เรียงตามลำดับ ส่วนด้านประสิทธิภาพในการให้บริการที่นำไปสู่ความสำเร็จผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับความปลอดภัยมากเป็นอันดับแรก ตามด้วยความไว้วางใจ ประสิทธิภาพของการตอบสนองต่อเหตุการณ์ และความน่าเชื่อถือของการให้บริการจากบริษัทรักษาความปลอดภัย ส่วนด้านส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อความสำเร็จในการให้บริการพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับกระบวนการจัดการด้านการให้บริการมากเป็นอันดับแรก รองลงมาเป็นภาพลักษณ์ที่ปรากฏต่อสายตาผู้รับบริการ ผลิตภัณฑ์หรือบริการ อัตราค่าบริการ ช่องทางการจัดจำหน่าย การสื่อสารการตลาด และความน่าเชื่อถือของบุคลากรCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27930 SIU THE-T. องค์ประกอบของคุณภาพการให้บริการที่มีผลต่อความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของบริษัทรักษาความปลอดภัยในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคกลาง = Elements of Service Quality Influencing on the Success of Security Service Companies in the Industrial Estates in the Central Region [printed text] / ศิร์รัฐ ภิรมย์บวรภักดิ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xii, 120 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2019-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริการ
[LCSH]ธุรกิจรักษาความปลอดภัย -- การให้บริการKeywords: การบริการ,
ความสำเร็จ,
ธุรกิจรักษาความปลอดภัยAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบของการให้บริการที่มีผลต่อความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของธุรกิจรักษาความปลอดภัย ในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคกลาง ทำการเก็บข้อมูลจากผู้จัดการบริษัทผู้ใช้บริการรักษาความปลอดภัยในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคกลาง จำนวน 400 คน ด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และใช้สถิติเชิงอนุมานในการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยยอมรับสมมุติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ทำงานในตำแหน่งผู้จัดการ โดยอยู่ในตำแหน่งปัจจุบันมากกว่า 1 ถึง 5 ปี ทำงานอยู่ในธุรกิจประเภทอุตสาหกรรมการผลิต โดยบริษัทจดทะเบียนมาแล้วมากกว่า 10 ปี มีจำนวนพนักงานทำงานในกิจการจำนวน 101 - 500 คน ผลจากการวิจัยในครั้งนี้พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับขนาดของบริษัทรักษาความปลอดภัยในระดับมากที่สุด รองลงมาพบว่ามีการให้ความความสำคัญกับจำนวนพนักงานรักษาความปลอดภัยของบริษัทผู้ให้บริการ และการรับผิดชอบต่อความเสียหายว่ามีผลต่อความสำเร็จของการบริการ ส่วนความสำคัญด้านคุณลักษณะของบริษัทผู้ให้บริการรักษาความปลอดภัย พบว่า ภาพลักษณ์และชื่อเสียงของบริษัทผู้ให้บริการรักษาความปลอดภัยในภาพรวมมีความสำคัญอยู่ในระดับมากที่สุดเช่นกัน โดยพบว่า ชื่อเสียงของเจ้าของธุรกิจมีความสำคัญเป็นอันดับแรก รองลงมาคือหน่วยงานที่เคยใช้บริการสำหรับนำมาใช้ในการอ้างอิง การได้รับการรับรองโดยสถาบันต่างๆ เรียงตามลำดับ การฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร การได้รับการรับรองมาตรฐาน และประสบการณ์ของบริษัทผู้ให้บริการในธุรกิจรักษาความปลอดภัย เรียงตามลำดับ ส่วนด้านประสิทธิภาพในการให้บริการที่นำไปสู่ความสำเร็จผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับความปลอดภัยมากเป็นอันดับแรก ตามด้วยความไว้วางใจ ประสิทธิภาพของการตอบสนองต่อเหตุการณ์ และความน่าเชื่อถือของการให้บริการจากบริษัทรักษาความปลอดภัย ส่วนด้านส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อความสำเร็จในการให้บริการพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับกระบวนการจัดการด้านการให้บริการมากเป็นอันดับแรก รองลงมาเป็นภาพลักษณ์ที่ปรากฏต่อสายตาผู้รับบริการ ผลิตภัณฑ์หรือบริการ อัตราค่าบริการ ช่องทางการจัดจำหน่าย การสื่อสารการตลาด และความน่าเชื่อถือของบุคลากรCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27930 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598761 SIU THE-T: SOM-DBA-2019-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598738 SIU THE-T: SOM-DBA-2019-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available การจัดการข้อมูลในการบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง / รสสคุนธ์ วาริทสกุล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : การจัดการข้อมูลในการบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง Original title : Data management in healtcare delivery for chronic kidney disease patients Material Type: printed text Authors: รสสคุนธ์ วาริทสกุล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.6-14 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.6-14Keywords: การจัดการข้อมูล.การบริการสุขภาพ.โรคไตเรื้อรัง.ผู้ป่วยโรตไตเรื้อรัง.Chronic kidney disease patients. Abstract: ปัจจุบัน พยาบาลมักเผชิญปัญหาในการจัดการกับข้อมูลที่เกิดจากการให้บริการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง หากพยาบาลสามารถจัดการกับข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้พยาบาลสามารถให้บริการสุขภาพที่รวดเร็ว ลดความซ้ำซ้อนทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยได้มากยิ่งขึ้น บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการอธิบายกระบวนการจัดการกับข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการให้บริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังให้เป็นสารสนเทศทางสุขภาพที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการต่อไป กระบวนการจัดการข้อมูลประกอบด้วย การกำหนดชุดข้อมูลจำเป็น การเก็บรวบรวมข้อมูลสุขภาพเพื่อการจัดการข้อมูล การสร้างฐานข้อมูลสุขภาพขนาดเล็ก การประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศไปใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพการบริการ ดังนั้น เพื่อให้การจัดการข้อมูลสุขภาพมีความหมายและใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น พยาบาลจะต้องให้ความสำคัญกับการเตรียมรวบรวมข้อมูล ตลอดจนขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูลให้สอดคล้องกับวิธีที่จะวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26735 [article] การจัดการข้อมูลในการบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง = Data management in healtcare delivery for chronic kidney disease patients [printed text] / รสสคุนธ์ วาริทสกุล, Author . - 2017 . - p.6-14.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.6-14Keywords: การจัดการข้อมูล.การบริการสุขภาพ.โรคไตเรื้อรัง.ผู้ป่วยโรตไตเรื้อรัง.Chronic kidney disease patients. Abstract: ปัจจุบัน พยาบาลมักเผชิญปัญหาในการจัดการกับข้อมูลที่เกิดจากการให้บริการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง หากพยาบาลสามารถจัดการกับข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้พยาบาลสามารถให้บริการสุขภาพที่รวดเร็ว ลดความซ้ำซ้อนทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยได้มากยิ่งขึ้น บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการอธิบายกระบวนการจัดการกับข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการให้บริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังให้เป็นสารสนเทศทางสุขภาพที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการต่อไป กระบวนการจัดการข้อมูลประกอบด้วย การกำหนดชุดข้อมูลจำเป็น การเก็บรวบรวมข้อมูลสุขภาพเพื่อการจัดการข้อมูล การสร้างฐานข้อมูลสุขภาพขนาดเล็ก การประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศไปใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพการบริการ ดังนั้น เพื่อให้การจัดการข้อมูลสุขภาพมีความหมายและใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น พยาบาลจะต้องให้ความสำคัญกับการเตรียมรวบรวมข้อมูล ตลอดจนขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูลให้สอดคล้องกับวิธีที่จะวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26735 การจัดการงานส่วนหน้าของโรงแรม / ธารีทิพย์ ทากิ / กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น - 2549
Title : การจัดการงานส่วนหน้าของโรงแรม Original title : Hotel front office operations Material Type: printed text Authors: ธารีทิพย์ ทากิ, Author Publisher: กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น Publication Date: 2549 Pagination: 176 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 24 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-080216-6 Price: 160.00 บ. General note: หนังสือเล่มนี้ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการจัดการและการปฏิบัติงานในขอบข่ายของงานการบริการส่วนหน้า และครอบคลุมเนื้อหาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตหกรรมการบริการและการโรงแรม จึงเหมาะสมอย่างยิ่งกับนักศึกษา บุคลากร และผู้ที่สนใจทั่วไปเรื่องเกี่ยวกับการโรงแรม Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการโรงแรม Keywords: โรงแรม, การบริการ Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27550 การจัดการงานส่วนหน้าของโรงแรม = Hotel front office operations [printed text] / ธารีทิพย์ ทากิ, Author . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2549 . - 176 น. : ภาพประกอบ ; 24 ซม.
ISBN : 978-6-16-080216-6 : 160.00 บ.
หนังสือเล่มนี้ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการจัดการและการปฏิบัติงานในขอบข่ายของงานการบริการส่วนหน้า และครอบคลุมเนื้อหาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตหกรรมการบริการและการโรงแรม จึงเหมาะสมอย่างยิ่งกับนักศึกษา บุคลากร และผู้ที่สนใจทั่วไปเรื่องเกี่ยวกับการโรงแรม
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการโรงแรม Keywords: โรงแรม, การบริการ Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27550 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596716 TX991.3 .M27 .ธ271 2549 Book Main Library General Shelf Available การบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ / สมบูณ ขัตติยะสุวงศ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2543
Title : การบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ : ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลรัฐและเอกชน กรุงเทพมหานคร Original title : Hospital services based on service marketing mix strategies as perceived by clients governmental and private hospitals Banglok metropolis Material Type: printed text Authors: สมบูณ ขัตติยะสุวงศ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2543 Pagination: ก-ฎ,134 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-130-979-1 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย.ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตลาด
[LCSH]อุตสาหกรรมบริการ -- การตลาด
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การบริหารโรงพยาบาล.
การตลาด.
การบริการ.Class number: WX150 ส865 2543 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เปรียบเทียบการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการระหว่างโรงพยาบาลรัฐบาล โรงพยาบาลเอกชนที่ดำเนินการในรูปบริษัท และโรงพยาบาลเอกชนที่เป็นขององค์กรศาสนา หรือมูลนิธิ 2. เปรียบเทียบการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลุยทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการระหว่างโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองคุณภาพ (HA) กับโรงพยาบาลที่ยังไม่ได้รับการรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ใช้บริการจำนวน 368 คน สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบการบริการตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและทดสอบความเที่ยว .90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และสถิติทดสอบความแปรปรวนทางเดียวและสถิติทดสอบ เชพเฟ
ผลการวิจัยพบว่า
1. ค่าเฉลี่ยบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านผลิตภัณฑ์บริการ บุคลากร ลักษณะทางกายภาพ และกระบวนการ อยู่ในระดับมากส่วนด้านราคา ช่องทางการให้บริการ และการส่งเสริมการตลาดอยู่ในระดับปานกลาง
2. ค่าเฉลี่ยการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ จำแนกตามประเภทโรงพยาบาล ระหว่างโรงพยาบาลรัฐบาล และโรงพยาบาลเอกชนที่ดำเนินการในรูปบริษัท และโรงพยาบาลเอกชนที่เป็นขององค์กรศาสนา มูลนิธิ พบว่าค่าเฉลี่ยโรงพยาบาลรัฐกับเอกชนที่เป็นขององค์กรศาสนาหรือมูลนิธิมีค่าเฉลี่ยด้านผลิตภัณฑ์บริการ การส่งเสริมการตลาด บุคลากร และโดยรวมแตกต่างกัน โรงพยาบาลของรัฐกับเอกชนที่ดำเนินการในรูปบริษัทมีค่าเฉลี่ยด้านผลิตภัณฑ์บริการ ราคา ลักษณะทางกายภาพ กระบวนการ และโดยรวมแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05
3. ค่าเฉลี่ยการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ จำแนกตามประเภทของโรงพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) กับโรงพยาบาลที่ยังไม่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Non HA) พบว่าโดยรวมไม่แตกต่างกัน ด้านราคา ช่องทางการให้บริการ และการส่งเสริมการตลาดแตกต่างกันที่ระัดับนัยสำคัญ .05 ด้านการผลิดภัณฑ์บริการ บุคลากร ลักษณะทางกายภาพ และกระบวนการให้บริการไม่แตกต่างกันCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23325 การบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ = Hospital services based on service marketing mix strategies as perceived by clients governmental and private hospitals Banglok metropolis : ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลรัฐและเอกชน กรุงเทพมหานคร [printed text] / สมบูณ ขัตติยะสุวงศ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 . - ก-ฎ,134 แผ่น. : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-130-979-1 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย.ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตลาด
[LCSH]อุตสาหกรรมบริการ -- การตลาด
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การบริหารโรงพยาบาล.
การตลาด.
การบริการ.Class number: WX150 ส865 2543 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เปรียบเทียบการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการระหว่างโรงพยาบาลรัฐบาล โรงพยาบาลเอกชนที่ดำเนินการในรูปบริษัท และโรงพยาบาลเอกชนที่เป็นขององค์กรศาสนา หรือมูลนิธิ 2. เปรียบเทียบการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลุยทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการระหว่างโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองคุณภาพ (HA) กับโรงพยาบาลที่ยังไม่ได้รับการรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ใช้บริการจำนวน 368 คน สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบการบริการตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและทดสอบความเที่ยว .90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และสถิติทดสอบความแปรปรวนทางเดียวและสถิติทดสอบ เชพเฟ
ผลการวิจัยพบว่า
1. ค่าเฉลี่ยบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านผลิตภัณฑ์บริการ บุคลากร ลักษณะทางกายภาพ และกระบวนการ อยู่ในระดับมากส่วนด้านราคา ช่องทางการให้บริการ และการส่งเสริมการตลาดอยู่ในระดับปานกลาง
2. ค่าเฉลี่ยการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ จำแนกตามประเภทโรงพยาบาล ระหว่างโรงพยาบาลรัฐบาล และโรงพยาบาลเอกชนที่ดำเนินการในรูปบริษัท และโรงพยาบาลเอกชนที่เป็นขององค์กรศาสนา มูลนิธิ พบว่าค่าเฉลี่ยโรงพยาบาลรัฐกับเอกชนที่เป็นขององค์กรศาสนาหรือมูลนิธิมีค่าเฉลี่ยด้านผลิตภัณฑ์บริการ การส่งเสริมการตลาด บุคลากร และโดยรวมแตกต่างกัน โรงพยาบาลของรัฐกับเอกชนที่ดำเนินการในรูปบริษัทมีค่าเฉลี่ยด้านผลิตภัณฑ์บริการ ราคา ลักษณะทางกายภาพ กระบวนการ และโดยรวมแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05
3. ค่าเฉลี่ยการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ จำแนกตามประเภทของโรงพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) กับโรงพยาบาลที่ยังไม่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Non HA) พบว่าโดยรวมไม่แตกต่างกัน ด้านราคา ช่องทางการให้บริการ และการส่งเสริมการตลาดแตกต่างกันที่ระัดับนัยสำคัญ .05 ด้านการผลิดภัณฑ์บริการ บุคลากร ลักษณะทางกายภาพ และกระบวนการให้บริการไม่แตกต่างกันCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23325 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357317 THE WX150 ส865 2543 Thesis Main Library Thesis Corner Available การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการสร้างเสริมสุขภาพในเขตพื้นที่ภาคกลาง / วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการสร้างเสริมสุขภาพในเขตพื้นที่ภาคกลาง Original title : Role performance of professional nurse in health promotion in central region Material Type: printed text Authors: วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, Author ; ศรีสุดา คล้ายคล่องจิตร, Author ; ณัฐา วงศ์วุฒิสาโรช, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.54-62 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.54-62Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.การปฏิบัติบทบาท.การสร้างเสริมสุขภาพ.เขตพื้นที่ภาคกลาง. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25561 [article] การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการสร้างเสริมสุขภาพในเขตพื้นที่ภาคกลาง = Role performance of professional nurse in health promotion in central region [printed text] / วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, Author ; ศรีสุดา คล้ายคล่องจิตร, Author ; ณัฐา วงศ์วุฒิสาโรช, Author . - 2016 . - p.54-62.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.54-62Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.การปฏิบัติบทบาท.การสร้างเสริมสุขภาพ.เขตพื้นที่ภาคกลาง. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25561 การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน / อุษนันท์ อินทมาศน์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน Original title : Role performance of professional nurse in community hospital Material Type: printed text Authors: อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฌ, 117 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-780-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน = Role performance of professional nurse in community hospital [printed text] / อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฌ, 117 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-780-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355493 WY100 อ948 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available การประยุกต์ใช้นวตกรรมการดูแลโรคเรื้อร้งขององค์การอนามัยโลก / นงนุช โอบะ in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.13 No.2 (Apr-Jun) 2019 ([11/14/2019])
การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2558
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Title : การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย : สมรรถนะพยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: ปรับปรุงครั้งที่ 1 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2558 Pagination: 182 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-974-383-227-7 Price: บริจาค (250.00) Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Thoracic -- assessment
[NLM]Cardiovascular -- assessment
[NLM]Thoracic -- assessment
[NLM]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[NLM]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ก181 2558 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27644
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย : สมรรถนะพยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - ปรับปรุงครั้งที่ 1 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2558 . - 182 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-383-227-7 : บริจาค (250.00)
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Thoracic -- assessment
[NLM]Cardiovascular -- assessment
[NLM]Thoracic -- assessment
[NLM]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[NLM]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ก181 2558 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27644 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000520526 WY105 ก181 2558 Book Main Library General Shelf Not for loan