From this page you can:
Home |
Search results
19 result(s) search for keyword(s) 'พฤติกรรมการดูแล.เด็กสมองพิการ.ผู้ดูแล.โปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการดูแล / ดวงใจ สนิท in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 ([10/21/2015])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการดูแล : ของผู้ดูแลเด็กสมองพิการ Original title : Effect of a supportive-educative nursing program on caring behaviors among caregivers of children with Cerebral Pasly Material Type: printed text Authors: ดวงใจ สนิท, Author ; อาภาวรรณ หนูคง, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.60-81 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 [10/21/2015] . - p.60-81Keywords: พฤติกรรมการดูแล.เด็กสมองพิการ.ผู้ดูแล.โปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้. Abstract: การศึกษานี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบหนึ่งกลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการศึกษา เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฏีทางการพยาบาลของโอเร็ม เป็นกรอบแนวคิดในการดำเนินการวิจัย กิจกรรมประกอบด้วย การสอน การชี่แนะ การสนับสนุน และการจัดสิ่งแวดล้อม ในการดูแลเพื่อป้องกันโรคปอดอักเสบ ร่วมกันกับการนำบางส่วนของการเคลื่อนไหวแบบโดสะโฮมาใช้ในการส่งเสริมความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และการป้องกันข้อติดแข็ง โปรแกรมดำเนินการโดยการสอนเป็นรายบุคคล การสธิต และการสาธิตย้อนกลับ การติดตามเยี่ยมบ้าน และการโทรศัพท์ติดตามเยี่ยม ระยะเวลารวม 3 สัปดาห์ กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการเลือกแบบสะดวก เป็นผู้ดูแลเด็กสมองพิการที่มีอายุตั้งแต่ 6 เดือน - 14 ปี ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลแบบผู้ป่วยในโรงพยาบาลระยอง จังหวัดระยอง มีประสบการณ์ในการดูแลเด็กสมองพิการอย่างน้อย. Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25015 [article] ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการดูแล = Effect of a supportive-educative nursing program on caring behaviors among caregivers of children with Cerebral Pasly : ของผู้ดูแลเด็กสมองพิการ [printed text] / ดวงใจ สนิท, Author ; อาภาวรรณ หนูคง, Author . - 2015 . - p.60-81.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 [10/21/2015] . - p.60-81Keywords: พฤติกรรมการดูแล.เด็กสมองพิการ.ผู้ดูแล.โปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้. Abstract: การศึกษานี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบหนึ่งกลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการศึกษา เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฏีทางการพยาบาลของโอเร็ม เป็นกรอบแนวคิดในการดำเนินการวิจัย กิจกรรมประกอบด้วย การสอน การชี่แนะ การสนับสนุน และการจัดสิ่งแวดล้อม ในการดูแลเพื่อป้องกันโรคปอดอักเสบ ร่วมกันกับการนำบางส่วนของการเคลื่อนไหวแบบโดสะโฮมาใช้ในการส่งเสริมความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และการป้องกันข้อติดแข็ง โปรแกรมดำเนินการโดยการสอนเป็นรายบุคคล การสธิต และการสาธิตย้อนกลับ การติดตามเยี่ยมบ้าน และการโทรศัพท์ติดตามเยี่ยม ระยะเวลารวม 3 สัปดาห์ กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการเลือกแบบสะดวก เป็นผู้ดูแลเด็กสมองพิการที่มีอายุตั้งแต่ 6 เดือน - 14 ปี ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลแบบผู้ป่วยในโรงพยาบาลระยอง จังหวัดระยอง มีประสบการณ์ในการดูแลเด็กสมองพิการอย่างน้อย. Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25015 การประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านต่อพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย / สุมาลา สว่างจิต in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : การประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านต่อพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย : และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแล Original title : Evaluation of read to live program on language development during early childhood period and caregiver reading related behaviors Material Type: printed text Authors: สุมาลา สว่างจิต, Author ; ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.229-242 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.229-242Keywords: โครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่าน.พัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย.พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อวกับการอ่าน ผู้ดูแล. Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาประสิทธิผลของโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านโดยเปรียบเทียบความแต่กต่างของการพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัยกลุุ่มที่เข้าร่วมและกลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการ และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการ และศึกษาความคิดเห็นเก่ยวกับความเหมาะสมของโครงการในกลุ่มผู้ดูแลเด็กทีี่เข้าร่วมโครงการ กลุ่มตัวอย่างงเป็นเด็กอายุ 1 ปี 6 เดือน ถึง 2 ปี จำนวน 64 ราย และผู้ดูแลของเด็กจำนวน 64 ราย ที่มารับบริการที่หน่วนตรวจผู้ป่วยนอกกุมารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี เป็นกลุ่มทดลอง 32 คู่ กลุ่มควบคุม 32 คู่ ผลการศึกษา พบว่า เด็กกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการมีคะแนนเฉลี่ยพัฒนาการด้านภาษาสูงกว่า เด็กกลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้ารน่วมโครงการมีความคิดเห็นว่าเนื้อหาของโครงการ หนังสือที่แจกในโครงการ กิจกรรม ระยะเวลาในการทำกิจกรรมมีความเหมาะสมในระดับมากถึงมากที่สด และโครงการนี้ทำให้มีความรู้เกี่ยวกับการอ่านหนังสือให้เด็กฟังเพิ่มมากขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติในระดับมากถึงมากที่สุด ส่วนคำแนะนำที่ได้รับจากโครงการมีความเข้าใจง่ายในระดับปานกลางถึงมาก และมีความพึงพอใจโครงการในภาพรวมในระดับมากที่สุด ดังนั้นจึงควรส่งเสริมให้มีโครงการส่งเสริมการพัฒนาการผ่านการอ่านในโรงพยาบาลหรือสถานบริการสุขภาพอื่น Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24991 [article] การประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านต่อพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย = Evaluation of read to live program on language development during early childhood period and caregiver reading related behaviors : และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแล [printed text] / สุมาลา สว่างจิต, Author ; ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล, Author . - 2015 . - pp.229-242.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.229-242Keywords: โครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่าน.พัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย.พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อวกับการอ่าน ผู้ดูแล. Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาประสิทธิผลของโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านโดยเปรียบเทียบความแต่กต่างของการพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัยกลุุ่มที่เข้าร่วมและกลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการ และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการ และศึกษาความคิดเห็นเก่ยวกับความเหมาะสมของโครงการในกลุ่มผู้ดูแลเด็กทีี่เข้าร่วมโครงการ กลุ่มตัวอย่างงเป็นเด็กอายุ 1 ปี 6 เดือน ถึง 2 ปี จำนวน 64 ราย และผู้ดูแลของเด็กจำนวน 64 ราย ที่มารับบริการที่หน่วนตรวจผู้ป่วยนอกกุมารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี เป็นกลุ่มทดลอง 32 คู่ กลุ่มควบคุม 32 คู่ ผลการศึกษา พบว่า เด็กกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการมีคะแนนเฉลี่ยพัฒนาการด้านภาษาสูงกว่า เด็กกลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้ารน่วมโครงการมีความคิดเห็นว่าเนื้อหาของโครงการ หนังสือที่แจกในโครงการ กิจกรรม ระยะเวลาในการทำกิจกรรมมีความเหมาะสมในระดับมากถึงมากที่สด และโครงการนี้ทำให้มีความรู้เกี่ยวกับการอ่านหนังสือให้เด็กฟังเพิ่มมากขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติในระดับมากถึงมากที่สุด ส่วนคำแนะนำที่ได้รับจากโครงการมีความเข้าใจง่ายในระดับปานกลางถึงมาก และมีความพึงพอใจโครงการในภาพรวมในระดับมากที่สุด ดังนั้นจึงควรส่งเสริมให้มีโครงการส่งเสริมการพัฒนาการผ่านการอ่านในโรงพยาบาลหรือสถานบริการสุขภาพอื่น Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24991 การรับรู้ของผู้นำศาสนาอิสลามเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตามหลักปฏิบัติทางศาสนาของชาวไทยมุสลิมที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 / ฮารินี มาซอ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.2 (May-Aug) 2017/2560 ([10/18/2017])
[article]
Title : การรับรู้ของผู้นำศาสนาอิสลามเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตามหลักปฏิบัติทางศาสนาของชาวไทยมุสลิมที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 : ระหว่างการถือศีลอดในเดือนรอมฎอน Original title : Perception of Islamic religions leaders toward religion-related health behavior of Thai Muslims with type 2 diabetes melitus during the fasting month of Ramadan Material Type: printed text Authors: ฮารินี มาซอ, Author ; พรทิพย์ มาลาธรรม, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.208-223 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.2 (May-Aug) 2017/2560 [10/18/2017] . - p.208-223Keywords: ผู้นำศาสนาอิสลาม.พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ.ชาวไทยมุสลิม.เบาหวานชนิดที่ 2.การดถือศีลอด.เดือนรอมฎอน. Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27388 [article] การรับรู้ของผู้นำศาสนาอิสลามเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตามหลักปฏิบัติทางศาสนาของชาวไทยมุสลิมที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 = Perception of Islamic religions leaders toward religion-related health behavior of Thai Muslims with type 2 diabetes melitus during the fasting month of Ramadan : ระหว่างการถือศีลอดในเดือนรอมฎอน [printed text] / ฮารินี มาซอ, Author ; พรทิพย์ มาลาธรรม, Author . - 2017 . - p.208-223.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคอง / ศุภศิริิ เชียงตา in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : การศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคอง : ระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล Material Type: printed text Authors: ศุภศิริิ เชียงตา, Author ; วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ภาวิน เกษกุล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.31-48 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.31-48Keywords: วามต้องการ. การดูแลแบบประคับประคอง. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. ผู้ดูแล. Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย: ศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคองระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแลก่อนและหลังได้รับการรักษาการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล กลุ่มละ 45 รายที่รักษาตัวในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและประวัติการเจ็บป่วย แบบสอบถามปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองสำหรับผู้ป่วยและญาติ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมนผลการวิจัย: ผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินมากเป็นอันดับแรก (22.2%) ในช่วงก่อนรักษา และต้องการการดูแลด้านข้อมูลมากเป็นอันดับแรก (20%) ในช่วงหลังได้รับการรักษาสำาหรับผู้ดูแลพบว่ามีความต้องการความช่วยเหลือด้านการดูแลผู้ป่วยมากเป็นอันดับแรกทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (15.6% และ 11.1%) ความต้องการการดูแลโดยรวมของผู้ป่วยและผู้ดูแลสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (rs= .47, rs= .46, p < .01)ส่วนความสัมพันธ์รายด้านพบว่าก่อนได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแลต้องการการดูแลด้านสังคมและด้านการเงินสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .36, p < .05, rs= .52, p < .01) และภายหลังได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความต้องการความช่วยเหลือทางด้านจิตวิญญาณและด้านการเงินสัมพันธ์กันมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .34, p < .05, rs= .39, p < .01 ตามลำาดับ)ข้อเสนอแนะ: พยาบาลมีบทบาทสำาคัญในการประเมินปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองของผู้ป่วยและผู้ดูแลทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการให้คำาปรึกษาตลอดจนแก้ไขปัญหา นำาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการดูแลแบบประคับประคองสำาหรับผู้ป่วยและผู้ดูแลกลุ่มนี้คำสำคัญ: ความต้องการ การดูแลแบบประคับประคอง ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผู้ดูแล
Objective: To examine head & neck cancer patients’ pre- and post-treatment needs for palliative care and their relationship with their caregivers. Design: Correlational descriptive research.
Methodology: The participants were 45 head & neck cancer patients and their caregivers. The patients were hospitalised at a tertiary hospital in Bangkok. The research instruments consisted of (i) a general information and illness history form; and (ii) a
palliative care problem-and-need questionnaire for the patients and their caregivers. The data were analysed using descriptive statistics and Spearman Correlation Analysis.
Results: The study showed that the patients’ primary pre-treatment need was fnancial support (22.2%), whilst their primary post-treatment need was disease-related information (20%). Their caregivers, on the other hand, identifed palliative care assistance for the patients as their primary need, both before and after treatment (15.6% and 11.1%, respectively).
A statically signifcant relationship was found between the patients’ and their caregivers’
overall pre- and post-treatment palliative care needs (rs = .47, rs = .46, p < .01). Category-based analysis showed that both the patients’ and their caregivers’ primary
pre-treatment needs were signifcantly related, and they mainly concerned social and fnancial support (rs = .36, p < .05, rs = .52, p < .01, respectively). After treatment, a statistically signifcant
relationship was also found between the patients’ and their caregivers’ needs, which mainly concerned spiritual and fnancial support (rs = .34, p < .05, rs = .39, p < .01, respectively).
Recommendations: It is suggested that nurses play an active role in assessing patients’ pre- and post-treatment problems and palliative care needs. This practice could lead to more effective counselling and problem-solving approaches, which ultimately could improve palliative care methods for head & neck cancer patients.
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27296 [article] การศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคอง : ระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล [printed text] / ศุภศิริิ เชียงตา, Author ; วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ภาวิน เกษกุล, Author . - 2017 . - p.31-48.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.31-48Keywords: วามต้องการ. การดูแลแบบประคับประคอง. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. ผู้ดูแล. Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย: ศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคองระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแลก่อนและหลังได้รับการรักษาการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล กลุ่มละ 45 รายที่รักษาตัวในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและประวัติการเจ็บป่วย แบบสอบถามปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองสำหรับผู้ป่วยและญาติ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมนผลการวิจัย: ผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินมากเป็นอันดับแรก (22.2%) ในช่วงก่อนรักษา และต้องการการดูแลด้านข้อมูลมากเป็นอันดับแรก (20%) ในช่วงหลังได้รับการรักษาสำาหรับผู้ดูแลพบว่ามีความต้องการความช่วยเหลือด้านการดูแลผู้ป่วยมากเป็นอันดับแรกทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (15.6% และ 11.1%) ความต้องการการดูแลโดยรวมของผู้ป่วยและผู้ดูแลสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (rs= .47, rs= .46, p < .01)ส่วนความสัมพันธ์รายด้านพบว่าก่อนได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแลต้องการการดูแลด้านสังคมและด้านการเงินสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .36, p < .05, rs= .52, p < .01) และภายหลังได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความต้องการความช่วยเหลือทางด้านจิตวิญญาณและด้านการเงินสัมพันธ์กันมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .34, p < .05, rs= .39, p < .01 ตามลำาดับ)ข้อเสนอแนะ: พยาบาลมีบทบาทสำาคัญในการประเมินปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองของผู้ป่วยและผู้ดูแลทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการให้คำาปรึกษาตลอดจนแก้ไขปัญหา นำาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการดูแลแบบประคับประคองสำาหรับผู้ป่วยและผู้ดูแลกลุ่มนี้คำสำคัญ: ความต้องการ การดูแลแบบประคับประคอง ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผู้ดูแล
Objective: To examine head & neck cancer patients’ pre- and post-treatment needs for palliative care and their relationship with their caregivers. Design: Correlational descriptive research.
Methodology: The participants were 45 head & neck cancer patients and their caregivers. The patients were hospitalised at a tertiary hospital in Bangkok. The research instruments consisted of (i) a general information and illness history form; and (ii) a
palliative care problem-and-need questionnaire for the patients and their caregivers. The data were analysed using descriptive statistics and Spearman Correlation Analysis.
Results: The study showed that the patients’ primary pre-treatment need was fnancial support (22.2%), whilst their primary post-treatment need was disease-related information (20%). Their caregivers, on the other hand, identifed palliative care assistance for the patients as their primary need, both before and after treatment (15.6% and 11.1%, respectively).
A statically signifcant relationship was found between the patients’ and their caregivers’
overall pre- and post-treatment palliative care needs (rs = .47, rs = .46, p < .01). Category-based analysis showed that both the patients’ and their caregivers’ primary
pre-treatment needs were signifcantly related, and they mainly concerned social and fnancial support (rs = .36, p < .05, rs = .52, p < .01, respectively). After treatment, a statistically signifcant
relationship was also found between the patients’ and their caregivers’ needs, which mainly concerned spiritual and fnancial support (rs = .34, p < .05, rs = .39, p < .01, respectively).
Recommendations: It is suggested that nurses play an active role in assessing patients’ pre- and post-treatment problems and palliative care needs. This practice could lead to more effective counselling and problem-solving approaches, which ultimately could improve palliative care methods for head & neck cancer patients.
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27296 การศึกษาพฤติกรรมแสวงหาการดูแลสุขภาพ แหล่งสนับสนุนและการสนับสนุนทางสังคม / ภรณี อนุสนธิ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : การศึกษาพฤติกรรมแสวงหาการดูแลสุขภาพ แหล่งสนับสนุนและการสนับสนุนทางสังคม : ของผู้ดูแลที่มีเด็กเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อเฉียบพลันในระบบทางเดินหายใจวัย 1-5 ปี Material Type: printed text Authors: ภรณี อนุสนธิ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.132-140 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.132-140Keywords: พฤติกรรมแสวงหา.การดูแลสุขภาพ.แหล่งสนับสนุน.การสนับสนุนทางสังคม.ผู้ดูแลเด็กเจ็บป่วย.โรคติดเชื้อเฉียบพลัน Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25570 [article] การศึกษาพฤติกรรมแสวงหาการดูแลสุขภาพ แหล่งสนับสนุนและการสนับสนุนทางสังคม : ของผู้ดูแลที่มีเด็กเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อเฉียบพลันในระบบทางเดินหายใจวัย 1-5 ปี [printed text] / ภรณี อนุสนธิ, Author . - 2016 . - p.132-140.
Languages : Thai (tha)ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลและพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแล / รัชดา ยิ้มซ้าย in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 ([12/27/2016])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลและพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแล : ผู้ป่วยสมองเสือมที่มีปัญหาพฤติกรรมและจิตใจ Original title : The relationship between perceived caring self efficacy and caring behavior among caregivers of persons with behaviors and psychological of symtoms of dementia Material Type: printed text Authors: รัชดา ยิ้มซ้าย, Author ; ถนอมศรี อินทนนท์, Author ; วินีกาญจน์ คงสุวรรณ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.104--117 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.104--117Keywords: การรับรู้สมรรถนะแห่งตนการดูแล.พฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแลผู้ป่วย.ผู้ป่วยสมองเสื่อม.ปัญหาพฤติกรรมและจิตใจ. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25914 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลและพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแล = The relationship between perceived caring self efficacy and caring behavior among caregivers of persons with behaviors and psychological of symtoms of dementia : ผู้ป่วยสมองเสือมที่มีปัญหาพฤติกรรมและจิตใจ [printed text] / รัชดา ยิ้มซ้าย, Author ; ถนอมศรี อินทนนท์, Author ; วินีกาญจน์ คงสุวรรณ, Author . - 2016 . - p.104--117.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ความสัมพันธ์ระหว่างการเตรียมความพร้อมกับพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทร / เตชทัต อัครธนารักษ์ in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 ([05/24/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างการเตรียมความพร้อมกับพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทร : แก่ผู้ป่วยระยะสุดท้ายของพยาบาลจบใหม่ Original title : Relationship between preparedness and caring behavior for patients at the end of life among novice nures Material Type: printed text Authors: เตชทัต อัครธนารักษ์, Author ; วราภรณ์ คงสุวรรณ, Author ; เยาวรัตน์ มัชฌิม, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.160-173 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 [05/24/2017] . - p.160-173Keywords: พฤติกรรมการดูแลแบบเื้ออาทร.ผู้ป่วยระยะสุดท้าย.พยาบาลจบใหม่. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26771 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างการเตรียมความพร้อมกับพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทร = Relationship between preparedness and caring behavior for patients at the end of life among novice nures : แก่ผู้ป่วยระยะสุดท้ายของพยาบาลจบใหม่ [printed text] / เตชทัต อัครธนารักษ์, Author ; วราภรณ์ คงสุวรรณ, Author ; เยาวรัตน์ มัชฌิม, Author . - 2017 . - p.160-173.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน : ภายหลังการผ่าตัด โดยผ่านทางสานสวนหลอดเลือดแดง Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: p.79-94 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.79-94Keywords: การฟื้นตัว. หลังผ่าตัด. พฤติกรรมการดูแลตนเอง. การผ่าตัดโดยผ่านทาง. สายสวนหลอดเลือดแดง. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาอำานาจในการทำนายของพฤติกรรมการดูแลตนเอง
ข้อมูลที่ได้รับก่อนจำาหน่ายและระยะเวลาหลังผ่าตัดต่อการฟื้นตัวของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดง
บริเวณขาตีบตันภายหลังผ่าตัดโดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง
การออกแบบการวิจัย: เป็นการวิจัยเชิงทำานาย
การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน ภายหลัง
ผ่าตัดโดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง จำนวน 77 คน มารับการติดตามรักษาที่หน่วยตรวจโรค
แผนกศัลยศาสตร์หลอดเลือดและหน่วยตรวจรักษาด้วยเครื่องมือพิเศษและติดตามผลโรงพยาบาล
ศิริราช ระหว่างเดือนมิถุนายน 2556 ถึงมิถุนายน 2557 เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มอย่างง่าย
เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลสุขภาพ แบบสอบถามพฤติกรรมการ
ดูแลตนเอง แบบสอบถามข้อมูลที่ได้รับก่อนจำาหน่ายและแบบสอบถามการฟื้นตัวหลังผ่าตัดโดย
ประเมินจากความสามารถในการเดิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และสถิติการถดถอยพหุคูณแบบเข้าพร้อมกัน
ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 47.4 มีการฟื้นตัวระยะหลังผ่าตัดอยู่ในระดับดี ร้อยละ
46.7 มีพฤติกรรมการดูแลตนเองดี ร้อยละ 53.2 ได้รับข้อมูลก่อนจำาหน่ายมาก การวิเคราะห์ถดถอย
พหุคูณพบว่าพฤติกรรมการดูแลตนเองเป็นปัจจัยเพียงตัวเดียวที่สามารถทำานายการฟื้นตัวของ
ผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดได้ร้อยละ 20.4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (R2 = .204, F(3,73)= 6.253, p < 0.05)
ข้อเสนอแนะ: การมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ดีจะส่งผลดีต่อการฟื้นตัวภายหลังผ่าตัด
ดังนั้นพยาบาลจึงควรพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27357 [article] ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน : ภายหลังการผ่าตัด โดยผ่านทางสานสวนหลอดเลือดแดง [printed text] . - 2017 . - p.79-94.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.79-94Keywords: การฟื้นตัว. หลังผ่าตัด. พฤติกรรมการดูแลตนเอง. การผ่าตัดโดยผ่านทาง. สายสวนหลอดเลือดแดง. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาอำานาจในการทำนายของพฤติกรรมการดูแลตนเอง
ข้อมูลที่ได้รับก่อนจำาหน่ายและระยะเวลาหลังผ่าตัดต่อการฟื้นตัวของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดง
บริเวณขาตีบตันภายหลังผ่าตัดโดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง
การออกแบบการวิจัย: เป็นการวิจัยเชิงทำานาย
การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน ภายหลัง
ผ่าตัดโดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง จำนวน 77 คน มารับการติดตามรักษาที่หน่วยตรวจโรค
แผนกศัลยศาสตร์หลอดเลือดและหน่วยตรวจรักษาด้วยเครื่องมือพิเศษและติดตามผลโรงพยาบาล
ศิริราช ระหว่างเดือนมิถุนายน 2556 ถึงมิถุนายน 2557 เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มอย่างง่าย
เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลสุขภาพ แบบสอบถามพฤติกรรมการ
ดูแลตนเอง แบบสอบถามข้อมูลที่ได้รับก่อนจำาหน่ายและแบบสอบถามการฟื้นตัวหลังผ่าตัดโดย
ประเมินจากความสามารถในการเดิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และสถิติการถดถอยพหุคูณแบบเข้าพร้อมกัน
ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 47.4 มีการฟื้นตัวระยะหลังผ่าตัดอยู่ในระดับดี ร้อยละ
46.7 มีพฤติกรรมการดูแลตนเองดี ร้อยละ 53.2 ได้รับข้อมูลก่อนจำาหน่ายมาก การวิเคราะห์ถดถอย
พหุคูณพบว่าพฤติกรรมการดูแลตนเองเป็นปัจจัยเพียงตัวเดียวที่สามารถทำานายการฟื้นตัวของ
ผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดได้ร้อยละ 20.4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (R2 = .204, F(3,73)= 6.253, p < 0.05)
ข้อเสนอแนะ: การมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ดีจะส่งผลดีต่อการฟื้นตัวภายหลังผ่าตัด
ดังนั้นพยาบาลจึงควรพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27357 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชัก / ชุติมาภรณ์ กังวาฬ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชัก Original title : Factors Related to Medication Adherence among Children with Epilepsy Material Type: printed text Authors: ชุติมาภรณ์ กังวาฬ, Author ; ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล, Author ; วันทนา มณีศรีวงศ์กูล, Author ; อนันต์นิตย์ วิสุทธิพันธ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.44-59 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.44-59Keywords: การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ. เด็กโรคลมชัก. ผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก. Abstract: การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับประทานยากันชักอย่างสม่ำเสมอและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยากันชักอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชักกลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กและผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก จำนวน 109 คู่ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ตามเกณฑ์ที่กำหนด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของเด็กและผู้ดูแลแบบประเมินความสม่ำเสมอในการรับประทานยา แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้ยาบำบัดโรค และแบบสอบถามความรู้โรคลมชักของผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก ผลการศึกษา พบว่า เด็กโรคลมชักร้อยละ 92.70 มีการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ ความรู้เกี่ยวกับโรคลมชักของผู้ดูแล ชนิดของ
การรักษาด้วยยา และความถี่ในการรับประทานยาต่อวัน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอในเด็กโรคลมชักอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนระยะเวลาในการเจ็บป่วย ความพึงพอใจในการใช้ยาของผ้ดูแล ไม่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่่ำเสมอในเด็กโรคลมชัก ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือควรมีการประเมินและส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีความรู้เกี่ยวกับโรคลมชัก และควรหาวิธีส่งเสริมการรับประทานยาอย่างสมLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26993 [article] ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชัก = Factors Related to Medication Adherence among Children with Epilepsy [printed text] / ชุติมาภรณ์ กังวาฬ, Author ; ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล, Author ; วันทนา มณีศรีวงศ์กูล, Author ; อนันต์นิตย์ วิสุทธิพันธ์, Author . - 2017 . - p.44-59.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.44-59Keywords: การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ. เด็กโรคลมชัก. ผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก. Abstract: การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับประทานยากันชักอย่างสม่ำเสมอและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยากันชักอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชักกลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กและผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก จำนวน 109 คู่ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ตามเกณฑ์ที่กำหนด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของเด็กและผู้ดูแลแบบประเมินความสม่ำเสมอในการรับประทานยา แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้ยาบำบัดโรค และแบบสอบถามความรู้โรคลมชักของผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก ผลการศึกษา พบว่า เด็กโรคลมชักร้อยละ 92.70 มีการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ ความรู้เกี่ยวกับโรคลมชักของผู้ดูแล ชนิดของ
การรักษาด้วยยา และความถี่ในการรับประทานยาต่อวัน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอในเด็กโรคลมชักอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนระยะเวลาในการเจ็บป่วย ความพึงพอใจในการใช้ยาของผ้ดูแล ไม่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่่ำเสมอในเด็กโรคลมชัก ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือควรมีการประเมินและส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีความรู้เกี่ยวกับโรคลมชัก และควรหาวิธีส่งเสริมการรับประทานยาอย่างสมLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26993 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของสามเณร โรงเรียนสาธิตวิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช / ทรัพยทวี ทรัพย์มาก in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.11 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2560 ([03/20/2018])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของสามเณร โรงเรียนสาธิตวิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช Original title : Factors Influencing Self-Care Behavior of Buddhist Novices in SatidwittayalaisongBuddchinnaraj School Material Type: printed text Authors: ทรัพยทวี ทรัพย์มาก, Author ; ชมนาด วรรณพรศิริ, Author ; สุภาพร แนวบุตร, Author Publication Date: 2018 Article on page: p.42-53 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.11 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2560 [03/20/2018] . - p.42-53Keywords: พฤติกรรมการดูแลตนเอง.สามเณร.โรงเรียนสาธิตวิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช. Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27571 [article] ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของสามเณร โรงเรียนสาธิตวิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช = Factors Influencing Self-Care Behavior of Buddhist Novices in SatidwittayalaisongBuddchinnaraj School [printed text] / ทรัพยทวี ทรัพย์มาก, Author ; ชมนาด วรรณพรศิริ, Author ; สุภาพร แนวบุตร, Author . - 2018 . - p.42-53.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและ / พรพรรณ เทอดสุทธิรณภูมิ in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและ : คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวโรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ Material Type: printed text Authors: พรพรรณ เทอดสุทธิรณภูมิ, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.2-14 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.2-14Keywords: ภาวะหัวใจล้มเหลว.พฤติกรรมการดูและตนเอง.คุณภาพชีวิต.ระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ที่เข้ารับบริการที่หน่วยงานผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ เลือกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงโดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่ กำหนดจำนวน 60 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 30 ราย และกลุ่มควบคุมจำนวน 30 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีระบบการพยาบาลของโอเร็ม โดยใช้ระบบสนับสนุนและให้ความรู้ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลอง และในกลุ่มควบคุมโดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเอง และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตโรคหัวใจล้มเหลว วิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยใชเสถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวภายหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองมีคุณภาพชีวิตดีกว่า และมีพฤติกรรมการดูแลตนเองดีกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ผลการวิจัยนี้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนารูปแบบของการพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว รวมทั้งผู้ป่วยโรคเรื้อรังอื่น ๆ ให้สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองและเพิ่มคุณภาพชีวิต Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24995 [article] ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและ : คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวโรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ [printed text] / พรพรรณ เทอดสุทธิรณภูมิ, Author . - 2015 . - pp.2-14.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.2-14Keywords: ภาวะหัวใจล้มเหลว.พฤติกรรมการดูและตนเอง.คุณภาพชีวิต.ระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ที่เข้ารับบริการที่หน่วยงานผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ เลือกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงโดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่ กำหนดจำนวน 60 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 30 ราย และกลุ่มควบคุมจำนวน 30 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีระบบการพยาบาลของโอเร็ม โดยใช้ระบบสนับสนุนและให้ความรู้ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลอง และในกลุ่มควบคุมโดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเอง และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตโรคหัวใจล้มเหลว วิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยใชเสถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวภายหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองมีคุณภาพชีวิตดีกว่า และมีพฤติกรรมการดูแลตนเองดีกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ผลการวิจัยนี้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนารูปแบบของการพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว รวมทั้งผู้ป่วยโรคเรื้อรังอื่น ๆ ให้สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองและเพิ่มคุณภาพชีวิต Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24995 ผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ ต่อความเครียดในการดูแลเด็ก / ธิดารัตน์ ทองหนุน in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ ต่อความเครียดในการดูแลเด็ก : โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัว Material Type: printed text Authors: ธิดารัตน์ ทองหนุน, Author ; ว๊ณา จีระแพทย์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.86-103 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.86-103Keywords: การฝึกอานาปานสติ.การดูแลเด็ก.มะเร็งเม็ดเลือดขาว.ความเครียดในการดูแลเด็ก.ผู้ดูแลในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลงองแบบ 2 กลุ่ม คือ วัดก่อน และหวังการทดลอง เพื่อศึกษารูปแบบการให่ข้มูลทางสุขภาพกับการฝึกอานาปานสติต่อความเครียดในการ...กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลในครอบครัวของเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี ที่แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาและได้รับเคมีบำบัดระยะเข้มขันในโรงพยาบาลตติยภูมิ จำนวน 50 คน โดยจับคู่ให้มีระดับการศึกษาและรายได้ที่ระดับใกล้เคียงกัน เป็นกลุ่มละ 25 คน วิจัยโดยกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ตามด้วยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ เครื่องมือวิจัย คือ แผนกิจกรรมการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ แบบบันทึกรายงานตนเองหลังการฝึกอานาปานสติ และแบบสอบถามความเครียด... ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเครียดในการดูแลเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัวได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2) ความเครียดในการดูแลเด็กโรค ฯ กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยในครั้งรี้ คือ พยาบาลผู้ให้การดูแลผู้ป่วยเด็กและผู้ดูแลในครอบครัว ควรมีบทบาทสำคัญในการประเมินปัญหาให้ความช่วยเหลือดูแลอย่างครอบคลุมเป็นองค์รวม โดยเฉพาะจิตใจและอารมณ์ ทั้งนี้ในการนำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้ ผู้ใช้ควรมีพื้นฐานในการฝึกสมาธิแบบอานาปานสติ เพื่อให้เกิดทักษะและสามารถให้คำแนะนำแก่ผู้ดูแลในครอบครัวได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26732 [article] ผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ ต่อความเครียดในการดูแลเด็ก : โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัว [printed text] / ธิดารัตน์ ทองหนุน, Author ; ว๊ณา จีระแพทย์, Author . - 2017 . - p.86-103.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.86-103Keywords: การฝึกอานาปานสติ.การดูแลเด็ก.มะเร็งเม็ดเลือดขาว.ความเครียดในการดูแลเด็ก.ผู้ดูแลในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลงองแบบ 2 กลุ่ม คือ วัดก่อน และหวังการทดลอง เพื่อศึกษารูปแบบการให่ข้มูลทางสุขภาพกับการฝึกอานาปานสติต่อความเครียดในการ...กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลในครอบครัวของเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี ที่แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาและได้รับเคมีบำบัดระยะเข้มขันในโรงพยาบาลตติยภูมิ จำนวน 50 คน โดยจับคู่ให้มีระดับการศึกษาและรายได้ที่ระดับใกล้เคียงกัน เป็นกลุ่มละ 25 คน วิจัยโดยกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ตามด้วยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ เครื่องมือวิจัย คือ แผนกิจกรรมการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ แบบบันทึกรายงานตนเองหลังการฝึกอานาปานสติ และแบบสอบถามความเครียด... ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเครียดในการดูแลเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัวได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2) ความเครียดในการดูแลเด็กโรค ฯ กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยในครั้งรี้ คือ พยาบาลผู้ให้การดูแลผู้ป่วยเด็กและผู้ดูแลในครอบครัว ควรมีบทบาทสำคัญในการประเมินปัญหาให้ความช่วยเหลือดูแลอย่างครอบคลุมเป็นองค์รวม โดยเฉพาะจิตใจและอารมณ์ ทั้งนี้ในการนำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้ ผู้ใช้ควรมีพื้นฐานในการฝึกสมาธิแบบอานาปานสติ เพื่อให้เกิดทักษะและสามารถให้คำแนะนำแก่ผู้ดูแลในครอบครัวได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26732 ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความพร้อมในการดูแล / นันทกาญจน์ ปักษี in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.22 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/14/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความพร้อมในการดูแล : ความเครียด การปรับตัว และความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับของญาติผู้ดูแล Material Type: printed text Authors: นันทกาญจน์ ปักษี, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.65-79 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.22 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/14/2016] . - p.65-79Keywords: การดูแลผู้ป่วย.โรคหลอดเลือดสมอง.ความเครียด.การปรับตัว.ความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับ.ญาติผู้ป่วย.ผู้ดูแล. Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25545 [article] ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความพร้อมในการดูแล : ความเครียด การปรับตัว และความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับของญาติผู้ดูแล [printed text] / นันทกาญจน์ ปักษี, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author . - 2016 . - p.65-79.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ในผู้ป่วย / เพ็ญพร ทวีบุตร in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 ([05/24/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ในผู้ป่วย : โรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น Original title : The effect of a supportive educative nursing program for chronic disease patients with early stage kidney disease Material Type: printed text Authors: เพ็ญพร ทวีบุตร, Author ; พัชราพร เกิดมงคล, Author ; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.129-145 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 [05/24/2017] . - p.129-145Keywords: ผู้ป่วยไตวายเรืื้อรังระยะเริ่มต้น.ผู้ป่วยโรคเรื้่อรัง.พฤติกรรมการดูแลตนเอง.การพยาบาล.ระบบสนับสนุนสุขภาพ. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26766 [article] ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ในผู้ป่วย = The effect of a supportive educative nursing program for chronic disease patients with early stage kidney disease : โรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น [printed text] / เพ็ญพร ทวีบุตร, Author ; พัชราพร เกิดมงคล, Author ; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ, Author . - 2017 . - p.129-145.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย / ภูษณิศา มาพิสูน in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 ([05/21/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย : และความสามารถในการดูแลเด็กของผู้ดูแลต่อพฤติกรรมการตดูแลตนเองของเด็ก Original title : Impact of a self care development programme for school age thalassaemic children and their caregiver's ability on the children's self care behavior Material Type: printed text Authors: ภูษณิศา มาพิสูน, Author ; ปรีย์กมล รัชนกุล, Author ; วาริยา หมื่นสา, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.52-68 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 [05/21/2016] . - p.52-68Keywords: การดูแลตนเอง.เด็กวัยเรียน.โรคธาลัสซีเมีย.ความสามารถในการดูแลตนเอง.การดูแลเด็ก.ผู้ดูแลต่อ. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25639 [article] ผลของโปรแกรมการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย = Impact of a self care development programme for school age thalassaemic children and their caregiver's ability on the children's self care behavior : และความสามารถในการดูแลเด็กของผู้ดูแลต่อพฤติกรรมการตดูแลตนเองของเด็ก [printed text] / ภูษณิศา มาพิสูน, Author ; ปรีย์กมล รัชนกุล, Author ; วาริยา หมื่นสา, Author . - 2016 . - p.52-68.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 [05/21/2016] . - p.52-68Keywords: การดูแลตนเอง.เด็กวัยเรียน.โรคธาลัสซีเมีย.ความสามารถในการดูแลตนเอง.การดูแลเด็ก.ผู้ดูแลต่อ. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25639