From this page you can:
Home |
Search results
1 result(s) search for keyword(s) 'การฟื้นตัว. หลังผ่าตัด. พฤติกรรมการดูแลตนเอง. การผ่าตัดโดยผ่านทาง. สายสวนหลอดเลือดแดง.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน : ภายหลังการผ่าตัด โดยผ่านทางสานสวนหลอดเลือดแดง Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: p.79-94 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.79-94Keywords: การฟื้นตัว. หลังผ่าตัด. พฤติกรรมการดูแลตนเอง. การผ่าตัดโดยผ่านทาง. สายสวนหลอดเลือดแดง. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาอำานาจในการทำนายของพฤติกรรมการดูแลตนเอง
ข้อมูลที่ได้รับก่อนจำาหน่ายและระยะเวลาหลังผ่าตัดต่อการฟื้นตัวของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดง
บริเวณขาตีบตันภายหลังผ่าตัดโดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง
การออกแบบการวิจัย: เป็นการวิจัยเชิงทำานาย
การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน ภายหลัง
ผ่าตัดโดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง จำนวน 77 คน มารับการติดตามรักษาที่หน่วยตรวจโรค
แผนกศัลยศาสตร์หลอดเลือดและหน่วยตรวจรักษาด้วยเครื่องมือพิเศษและติดตามผลโรงพยาบาล
ศิริราช ระหว่างเดือนมิถุนายน 2556 ถึงมิถุนายน 2557 เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มอย่างง่าย
เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลสุขภาพ แบบสอบถามพฤติกรรมการ
ดูแลตนเอง แบบสอบถามข้อมูลที่ได้รับก่อนจำาหน่ายและแบบสอบถามการฟื้นตัวหลังผ่าตัดโดย
ประเมินจากความสามารถในการเดิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และสถิติการถดถอยพหุคูณแบบเข้าพร้อมกัน
ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 47.4 มีการฟื้นตัวระยะหลังผ่าตัดอยู่ในระดับดี ร้อยละ
46.7 มีพฤติกรรมการดูแลตนเองดี ร้อยละ 53.2 ได้รับข้อมูลก่อนจำาหน่ายมาก การวิเคราะห์ถดถอย
พหุคูณพบว่าพฤติกรรมการดูแลตนเองเป็นปัจจัยเพียงตัวเดียวที่สามารถทำานายการฟื้นตัวของ
ผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดได้ร้อยละ 20.4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (R2 = .204, F(3,73)= 6.253, p < 0.05)
ข้อเสนอแนะ: การมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ดีจะส่งผลดีต่อการฟื้นตัวภายหลังผ่าตัด
ดังนั้นพยาบาลจึงควรพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27357 [article] ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน : ภายหลังการผ่าตัด โดยผ่านทางสานสวนหลอดเลือดแดง [printed text] . - 2017 . - p.79-94.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.79-94Keywords: การฟื้นตัว. หลังผ่าตัด. พฤติกรรมการดูแลตนเอง. การผ่าตัดโดยผ่านทาง. สายสวนหลอดเลือดแดง. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาอำานาจในการทำนายของพฤติกรรมการดูแลตนเอง
ข้อมูลที่ได้รับก่อนจำาหน่ายและระยะเวลาหลังผ่าตัดต่อการฟื้นตัวของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดง
บริเวณขาตีบตันภายหลังผ่าตัดโดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง
การออกแบบการวิจัย: เป็นการวิจัยเชิงทำานาย
การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน ภายหลัง
ผ่าตัดโดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง จำนวน 77 คน มารับการติดตามรักษาที่หน่วยตรวจโรค
แผนกศัลยศาสตร์หลอดเลือดและหน่วยตรวจรักษาด้วยเครื่องมือพิเศษและติดตามผลโรงพยาบาล
ศิริราช ระหว่างเดือนมิถุนายน 2556 ถึงมิถุนายน 2557 เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มอย่างง่าย
เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลสุขภาพ แบบสอบถามพฤติกรรมการ
ดูแลตนเอง แบบสอบถามข้อมูลที่ได้รับก่อนจำาหน่ายและแบบสอบถามการฟื้นตัวหลังผ่าตัดโดย
ประเมินจากความสามารถในการเดิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และสถิติการถดถอยพหุคูณแบบเข้าพร้อมกัน
ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 47.4 มีการฟื้นตัวระยะหลังผ่าตัดอยู่ในระดับดี ร้อยละ
46.7 มีพฤติกรรมการดูแลตนเองดี ร้อยละ 53.2 ได้รับข้อมูลก่อนจำาหน่ายมาก การวิเคราะห์ถดถอย
พหุคูณพบว่าพฤติกรรมการดูแลตนเองเป็นปัจจัยเพียงตัวเดียวที่สามารถทำานายการฟื้นตัวของ
ผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดได้ร้อยละ 20.4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (R2 = .204, F(3,73)= 6.253, p < 0.05)
ข้อเสนอแนะ: การมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ดีจะส่งผลดีต่อการฟื้นตัวภายหลังผ่าตัด
ดังนั้นพยาบาลจึงควรพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27357