From this page you can:
Home |
Search results
14 result(s) search for keyword(s) 'การดูแลตนเอง.เด็กวัยเรียน.โรคธาลัสซีเมีย.ความสามารถในการดูแลตนเอง.การดูแลเด็ก.ผู้ดูแลต่อ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ผลของโปรแกรมการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย / ภูษณิศา มาพิสูน in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 ([05/21/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย : และความสามารถในการดูแลเด็กของผู้ดูแลต่อพฤติกรรมการตดูแลตนเองของเด็ก Original title : Impact of a self care development programme for school age thalassaemic children and their caregiver's ability on the children's self care behavior Material Type: printed text Authors: ภูษณิศา มาพิสูน, Author ; ปรีย์กมล รัชนกุล, Author ; วาริยา หมื่นสา, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.52-68 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 [05/21/2016] . - p.52-68Keywords: การดูแลตนเอง.เด็กวัยเรียน.โรคธาลัสซีเมีย.ความสามารถในการดูแลตนเอง.การดูแลเด็ก.ผู้ดูแลต่อ. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25639 [article] ผลของโปรแกรมการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย = Impact of a self care development programme for school age thalassaemic children and their caregiver's ability on the children's self care behavior : และความสามารถในการดูแลเด็กของผู้ดูแลต่อพฤติกรรมการตดูแลตนเองของเด็ก [printed text] / ภูษณิศา มาพิสูน, Author ; ปรีย์กมล รัชนกุล, Author ; วาริยา หมื่นสา, Author . - 2016 . - p.52-68.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 [05/21/2016] . - p.52-68Keywords: การดูแลตนเอง.เด็กวัยเรียน.โรคธาลัสซีเมีย.ความสามารถในการดูแลตนเอง.การดูแลเด็ก.ผู้ดูแลต่อ. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25639 คู่มือ : รายการข้อวินิจฉัยการพยาบาลตามกรอบแนวคิดของโอเร็ม / มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ / ขอนแก่น : คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - 2541
Title : คู่มือ : รายการข้อวินิจฉัยการพยาบาลตามกรอบแนวคิดของโอเร็ม Material Type: printed text Authors: มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2. Publisher: ขอนแก่น : คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Publication Date: 2541 Pagination: (ก-ฎ), 146 หน้า. Size: 29 ซม. ISBN (or other code): 978-974-675-282-6 Price: 90.00 (ถ่ายสำเนา) Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]การพยาบาล, การวินิจฉัย
[LCSH]การพยาบาล, ทฤษฎีKeywords: การดูแลตนเอง.
การพยาบาล.
การวินิจฉัย.
ทฤษฎี.Class number: WY86 ค695 2541 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23823 คู่มือ : รายการข้อวินิจฉัยการพยาบาลตามกรอบแนวคิดของโอเร็ม [printed text] / มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2. . - ขอนแก่น : คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2541 . - (ก-ฎ), 146 หน้า. ; 29 ซม.
ISSN : 978-974-675-282-6 : 90.00 (ถ่ายสำเนา)
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]การพยาบาล, การวินิจฉัย
[LCSH]การพยาบาล, ทฤษฎีKeywords: การดูแลตนเอง.
การพยาบาล.
การวินิจฉัย.
ทฤษฎี.Class number: WY86 ค695 2541 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23823 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000397271 WY86 ค695 2541 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. หมอประจำบ้าน เล่ม 2 (หมวด ผ-อ) / 2555
Collection Title: Old book collection Title : หมอประจำบ้าน เล่ม 2 (หมวด ผ-อ) : ตำราเรียนรู้เรื่องสุขภาพ Original title : The doctors book of home remedies Material Type: printed text Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publication Date: 2555 Pagination: 379 หน้า. Size: 25 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-507078-2 Price: 350.00 General note: คู่มือหมอประจำบ้าน 2 (หมวด ผ-อ) ประกอบด้วย 79 ภาวะ Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง
[LCSH]การรักษาโรค
[LCSH]การใช้ยารักษาตนเอง
[LCSH]ปฐมพยาบาล -- คู่มือKeywords: การรักษาโรค.
การดูแลตนเอง.Class number: WB327 ค695 2555 Contents note: หมวด ผ.-- หมวด ฝ.-- หมวด พ.-- หมวด ภ.-- หมวด ม.-- หมวด ร.-- หมวด ล.-- หมวด ว.-- หมวด ส.-- หมวด ส.-- หมวด อ.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23721 Old book collection. หมอประจำบ้าน เล่ม 2 (หมวด ผ-อ) = The doctors book of home remedies : ตำราเรียนรู้เรื่องสุขภาพ [printed text] . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - 2555 . - 379 หน้า. ; 25 ซม.
ISBN : 978-6-16-507078-2 : 350.00
คู่มือหมอประจำบ้าน 2 (หมวด ผ-อ) ประกอบด้วย 79 ภาวะ
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง
[LCSH]การรักษาโรค
[LCSH]การใช้ยารักษาตนเอง
[LCSH]ปฐมพยาบาล -- คู่มือKeywords: การรักษาโรค.
การดูแลตนเอง.Class number: WB327 ค695 2555 Contents note: หมวด ผ.-- หมวด ฝ.-- หมวด พ.-- หมวด ภ.-- หมวด ม.-- หมวด ร.-- หมวด ล.-- หมวด ว.-- หมวด ส.-- หมวด ส.-- หมวด อ.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23721 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000393288 WB327 ค695 2555 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000393304 WB327 ค695 2555 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000393262 WB327 ค695 2555 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000393270 WB327 ค695 2555 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000393296 WB327 ค695 2555 c.5 Book Main Library Library Counter Available การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง / กันยารัตน์ มาเกตุ / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2552
Title : การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง : ที่มีการฟื้นความสามารถ Original title : Self management on illness among the recovery stroke patients Material Type: printed text Authors: กันยารัตน์ มาเกตุ, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2552 Pagination: 126 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความเจ็บปวด -- การบำบัด
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]หลอดเลือดสมอง -- โรคKeywords: โรคหลอดเลือดสมอง.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WL355 ก156 2552 Abstract: ศึกษาความหมายและวิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยตามมุมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดทีี่มีการฟื้นความสามารถ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลวัดโบสถ์จังหวัดพิษณุโลก และมีการฟื้นความสามารถโดยการผ่านการประเมินระดับความสามารถในการปฎิบัติกิจวัตรประจำวันอยู่ในเกณฑ์ 75-100 คะแนน จำนวน 13 คน ใช้วิธีการสัมภาษณ์ระดับลึก เครื่องมือที่ใช้คือ แนวคำถามปลายเปิด เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2551 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content anlysis) ตามแนวคิดของ Burnard ผลการศึกษาพบว่า
1. ผู้ให้ข้อมูลได้ให้ความหมายต่อภาวะเจ็บป่วย 3 ความหมาย คือ เป็นโรคที่ตายทั้งเป็น หรือเหมือนคนที่ตายแล้ว โรคเวรโรคกรรมและโรคที่ต้องพึ่งพาเป็นภาระให้กับผู้อื่น 2. ความรู้สึกต่อการเจ็บป่วยนั้นผู้ให้ข้อมูลมีความรู้สึกว่า เป็นชั่วคราวมีความหวังจะหาย เครียด อารมณ์หงุดหงิดที่ดูแลตัวเองไม่ได้และไม่อยากให้เป็นภาระกับผู้อื่น อยากเอาชนะคำสบประมาท 3. วิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยนั้นพบว่า ได้จัีดการกับความทุกข์ทั้งทางร่างกายและจิตใจด้วยการทำใจให้ยอมรับ คิดให้ชีวิตมีความหวัง หาวิธีผ่อนคลายความเครียด คิดเชิงบวกต่อความเจ็บป่วย พยายามช่วยเหลือตนเอง และออกกำลังกายฟื้นฟูร่างกายอย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้สอดคล้องกัีบสภาพร่างกายอันได้แก่ การเลือกและจำกัดอาหาร นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ ใช้การแพทย์แผยไทย แสวงหาวิธีการรักษาต่าง ๆ มาทดลองใช้ รับการรักษษกับแพทย์แผนปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง และเมื่อฟื้นหาย ได้คงวิถีชีวิตที่ดี การปฎิบัติงานช่วยเหลือชุมชนด้วยจิตอาสาCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23201 การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง = Self management on illness among the recovery stroke patients : ที่มีการฟื้นความสามารถ [printed text] / กันยารัตน์ มาเกตุ, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552 . - 126 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความเจ็บปวด -- การบำบัด
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]หลอดเลือดสมอง -- โรคKeywords: โรคหลอดเลือดสมอง.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WL355 ก156 2552 Abstract: ศึกษาความหมายและวิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยตามมุมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดทีี่มีการฟื้นความสามารถ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลวัดโบสถ์จังหวัดพิษณุโลก และมีการฟื้นความสามารถโดยการผ่านการประเมินระดับความสามารถในการปฎิบัติกิจวัตรประจำวันอยู่ในเกณฑ์ 75-100 คะแนน จำนวน 13 คน ใช้วิธีการสัมภาษณ์ระดับลึก เครื่องมือที่ใช้คือ แนวคำถามปลายเปิด เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2551 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content anlysis) ตามแนวคิดของ Burnard ผลการศึกษาพบว่า
1. ผู้ให้ข้อมูลได้ให้ความหมายต่อภาวะเจ็บป่วย 3 ความหมาย คือ เป็นโรคที่ตายทั้งเป็น หรือเหมือนคนที่ตายแล้ว โรคเวรโรคกรรมและโรคที่ต้องพึ่งพาเป็นภาระให้กับผู้อื่น 2. ความรู้สึกต่อการเจ็บป่วยนั้นผู้ให้ข้อมูลมีความรู้สึกว่า เป็นชั่วคราวมีความหวังจะหาย เครียด อารมณ์หงุดหงิดที่ดูแลตัวเองไม่ได้และไม่อยากให้เป็นภาระกับผู้อื่น อยากเอาชนะคำสบประมาท 3. วิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยนั้นพบว่า ได้จัีดการกับความทุกข์ทั้งทางร่างกายและจิตใจด้วยการทำใจให้ยอมรับ คิดให้ชีวิตมีความหวัง หาวิธีผ่อนคลายความเครียด คิดเชิงบวกต่อความเจ็บป่วย พยายามช่วยเหลือตนเอง และออกกำลังกายฟื้นฟูร่างกายอย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้สอดคล้องกัีบสภาพร่างกายอันได้แก่ การเลือกและจำกัดอาหาร นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ ใช้การแพทย์แผยไทย แสวงหาวิธีการรักษาต่าง ๆ มาทดลองใช้ รับการรักษษกับแพทย์แผนปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง และเมื่อฟื้นหาย ได้คงวิถีชีวิตที่ดี การปฎิบัติงานช่วยเหลือชุมชนด้วยจิตอาสาCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23201 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354785 WL355 ก156 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available การดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประักอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออก / เยาวลักษณ์ บรรจงปรุ / คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา - 2535
Title : การดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประักอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออก Original title : Self care related to health of industrial workers in the Eastern region of Thailand Material Type: printed text Authors: เยาวลักษณ์ บรรจงปรุ, ; บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร, Author ; วนิดา โอฬารกิจอนันต์, Author Publisher: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา Publication Date: 2535 Pagination: 104 หน้า. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-596-809-9 Price: บริจาค. General note: สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2535. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]แรงงาน -- โรงงานอุตสาหกรรม -- ภาคตะวันออก -- วิจัยKeywords: การดูแลตนเอง.
แรงงาน.
แรงงานอุตสหกรรม.Class number: WY100 ย166 2535 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรม การดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออก ตลอดจนศึกษาปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์ต่อการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพ ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ และคุณภาพ ด้วยการใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ฝ่้ายบุคคล ซึ่งเป็นผู้ประสานงานฝึกอบรมและนิเทศ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้รับแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ฉบับสมบรูณ์ จำนวน 300 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100.00 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าเอฟ วิเคราะห์ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์ต่อการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพ โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณชนิดลด หรือเพิ่มตัวแปรเป็นขั้น ๆ
ผลการศึกษาพบว่า
1. ผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออกโดยส่วนรวม มีความรู้ และเจตคติในการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ 73.12 และร้อยละ 86.60 ตามลำดับ) ส่วนพฤติกรรมในการดูแลตนเองพบว่า อยู่ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 54.24)
2 เมื่อเปรียบเทียบ ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมทั้ง 3 จังหวัด ในภาพรวมพบว่าแตกต่างกัน P<.05 เมื่อทดสอบรายคู่พบว่า ผู้ประกอบอาชีพโรงงานอุตสาหกรรมเขตพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา มีการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพดีกว่าจังหวัีดชลบุรี และจังหวัดระยอง แต่การดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมของจังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยองไม่แตกต่างกัน P>.05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านความรู้ และด้านเจตคติในการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพ ของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมเขตพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ดีกว่าจังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยอง แต่ไม่พบความแตกต่างกันของจังหวัดชลบุรี และจังหวัีดระยอง สำหรับด้านพฤติกรรมการดูแลตนเองทั้ง 3 จังหวัด นั้นไม่พบความแตกต่างกัน P>.05
3. การศึกษาปัจจัยคัดสรร พบว่าตัวแปรที่มีความสีมพันธ์กับการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออก มีเพียงตัวแปรเดียวคือ จำนวนปีที่ศึกษาอธิบายได้ว่าจำนวนปีที่ศึกษาเพิ่มขึ้น 1 ปี จะทำให้การดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 0.61 คะแนนCurricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23336 การดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประักอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออก = Self care related to health of industrial workers in the Eastern region of Thailand [printed text] / เยาวลักษณ์ บรรจงปรุ, ; บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร, Author ; วนิดา โอฬารกิจอนันต์, Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2535 . - 104 หน้า. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-596-809-9 : บริจาค.
สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2535.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]แรงงาน -- โรงงานอุตสาหกรรม -- ภาคตะวันออก -- วิจัยKeywords: การดูแลตนเอง.
แรงงาน.
แรงงานอุตสหกรรม.Class number: WY100 ย166 2535 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรม การดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออก ตลอดจนศึกษาปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์ต่อการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพ ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ และคุณภาพ ด้วยการใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ฝ่้ายบุคคล ซึ่งเป็นผู้ประสานงานฝึกอบรมและนิเทศ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้รับแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ฉบับสมบรูณ์ จำนวน 300 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100.00 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าเอฟ วิเคราะห์ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์ต่อการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพ โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณชนิดลด หรือเพิ่มตัวแปรเป็นขั้น ๆ
ผลการศึกษาพบว่า
1. ผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออกโดยส่วนรวม มีความรู้ และเจตคติในการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ 73.12 และร้อยละ 86.60 ตามลำดับ) ส่วนพฤติกรรมในการดูแลตนเองพบว่า อยู่ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 54.24)
2 เมื่อเปรียบเทียบ ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมทั้ง 3 จังหวัด ในภาพรวมพบว่าแตกต่างกัน P<.05 เมื่อทดสอบรายคู่พบว่า ผู้ประกอบอาชีพโรงงานอุตสาหกรรมเขตพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา มีการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพดีกว่าจังหวัีดชลบุรี และจังหวัดระยอง แต่การดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมของจังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยองไม่แตกต่างกัน P>.05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านความรู้ และด้านเจตคติในการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพ ของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมเขตพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ดีกว่าจังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยอง แต่ไม่พบความแตกต่างกันของจังหวัดชลบุรี และจังหวัีดระยอง สำหรับด้านพฤติกรรมการดูแลตนเองทั้ง 3 จังหวัด นั้นไม่พบความแตกต่างกัน P>.05
3. การศึกษาปัจจัยคัดสรร พบว่าตัวแปรที่มีความสีมพันธ์กับการดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออก มีเพียงตัวแปรเดียวคือ จำนวนปีที่ศึกษาอธิบายได้ว่าจำนวนปีที่ศึกษาเพิ่มขึ้น 1 ปี จะทำให้การดูแลตนเองทางด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 0.61 คะแนนCurricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23336 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000468940 WY100 ย166 2535 Book Main Library General Shelf Available การดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : การดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ : ของโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร Original title : Early childchood caring in the child care centers in the hospitals of Bangkok metropolitana administration Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: p.51-68 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.51-68Keywords: การดูแลเด็ก.เด็กปฐมวัย.ศูนย์เด็กเล็ก.โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาการดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 26 คน โดยเป็นพยาบาลวิชาชีพ และพี่เลี้ยงเด็กประจำศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่...ทีปฎิบัติงานประจำอย่่างน้อย 6 เดือน หรือตั้งแต่ศูนย์ ฯ เปิดดำเนินกาารและยังคงปฏิบัติงานระหว่างที่ทำการศึกษา จำนวน 9 คน และ 17 คน เก็บรวบรวมข้อมูลเดือนธันวาคม 2558 ถึง มิถุนายน 2559 ใช้วิธีการสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกต การศึกษาจากเอกสาร การบันทีึกข้อมูลภาคสนาม การบันทึกเทป การบันทึกภาพ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การดูแลเด็กปฐมใัยวนศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่... มี 6 ลักษณะ คือ 1)การดูแลเด็กที่มีิิอายุแรกเกิด - 3 ปี 2)เป็นสวัสดิดการให้บุคลากรในสังกัดกรุงเทพมหานครให้สามารถทำงานได้อย่างสบายใจ และเกิดความรักผูกพันในครอบครัว 3) เน้นการเลี้ยงลูด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน และหลังอายุ 6 เดือน 4) เป็นการเตรียมความพร้อมให้เด็กทั้งร่างกาย จิตใจและสังคม ก่อนเข้าเรียน 5) เป็นการดูแลเหมือนครอบครัว รักเหมือนลูกแต่ทำยิ่งกว่าลูก และ6) ดูแลตามมาตรฐานของศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ของสำนักการแพทย์ 6 ด้าน คือ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ส่งเสริมการพัฒนาเด็ก ด้านการบริการอาหารสะอาดปลอดภัย สิ่งแวดล้อมสะอาดปลอดภัย บุคลากรและด้านการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน มี 3 ประเด็น คือ ด้านนโยบายระเบียบก่ารและเอกสารที่มีความแตกต่างกัน ด้านโครงสร้างทางกายภาพของศูนย์เด็กเล็ก ที่บาดอุปกรณ์ที่จำเป็น การแบ่งพื้นที่ยังไม่เป็นสัดส่วน และบุลากรมีไม่เพียงพอ
Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26731 [article] การดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ = Early childchood caring in the child care centers in the hospitals of Bangkok metropolitana administration : ของโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร [printed text] . - 2017 . - p.51-68.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.51-68Keywords: การดูแลเด็ก.เด็กปฐมวัย.ศูนย์เด็กเล็ก.โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาการดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 26 คน โดยเป็นพยาบาลวิชาชีพ และพี่เลี้ยงเด็กประจำศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่...ทีปฎิบัติงานประจำอย่่างน้อย 6 เดือน หรือตั้งแต่ศูนย์ ฯ เปิดดำเนินกาารและยังคงปฏิบัติงานระหว่างที่ทำการศึกษา จำนวน 9 คน และ 17 คน เก็บรวบรวมข้อมูลเดือนธันวาคม 2558 ถึง มิถุนายน 2559 ใช้วิธีการสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกต การศึกษาจากเอกสาร การบันทีึกข้อมูลภาคสนาม การบันทึกเทป การบันทึกภาพ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การดูแลเด็กปฐมใัยวนศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่... มี 6 ลักษณะ คือ 1)การดูแลเด็กที่มีิิอายุแรกเกิด - 3 ปี 2)เป็นสวัสดิดการให้บุคลากรในสังกัดกรุงเทพมหานครให้สามารถทำงานได้อย่างสบายใจ และเกิดความรักผูกพันในครอบครัว 3) เน้นการเลี้ยงลูด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน และหลังอายุ 6 เดือน 4) เป็นการเตรียมความพร้อมให้เด็กทั้งร่างกาย จิตใจและสังคม ก่อนเข้าเรียน 5) เป็นการดูแลเหมือนครอบครัว รักเหมือนลูกแต่ทำยิ่งกว่าลูก และ6) ดูแลตามมาตรฐานของศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ของสำนักการแพทย์ 6 ด้าน คือ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ส่งเสริมการพัฒนาเด็ก ด้านการบริการอาหารสะอาดปลอดภัย สิ่งแวดล้อมสะอาดปลอดภัย บุคลากรและด้านการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน มี 3 ประเด็น คือ ด้านนโยบายระเบียบก่ารและเอกสารที่มีความแตกต่างกัน ด้านโครงสร้างทางกายภาพของศูนย์เด็กเล็ก ที่บาดอุปกรณ์ที่จำเป็น การแบ่งพื้นที่ยังไม่เป็นสัดส่วน และบุลากรมีไม่เพียงพอ
Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26731 การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการดูแลตนเอง / สุชาดา เจะดอเลาะ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 ([03/29/2016])
[article]
Title : การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการดูแลตนเอง : สำหรับชาวไทยมุสลิมที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง Original title : A computer assisted self care programme for Thai muslims with Hypertension Material Type: printed text Authors: สุชาดา เจะดอเลาะ, Author ; จุฬารักษ์ กวีวิวิธชัย, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; นรีมาลย์ นีละไพจิตร, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.83-94 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.83-94Keywords: บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.การดูแลตนเอง.ชาวไทยมุสลิม.โรคความดันโลหิตสูง. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25653 [article] การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการดูแลตนเอง = A computer assisted self care programme for Thai muslims with Hypertension : สำหรับชาวไทยมุสลิมที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง [printed text] / สุชาดา เจะดอเลาะ, Author ; จุฬารักษ์ กวีวิวิธชัย, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; นรีมาลย์ นีละไพจิตร, Author . - 2016 . - p.83-94.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.83-94Keywords: บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.การดูแลตนเอง.ชาวไทยมุสลิม.โรคความดันโลหิตสูง. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25653 ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ / อารีย์ รัตนพันธ์ / บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2552
Title : ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ Original title : Sale-care experiecne on glycemic controlled in diabetes mellitus patients Material Type: printed text Authors: อารีย์ รัตนพันธ์, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2552 Pagination: 155 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Diabetics -- Care
[LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]ผู้ป่วย -- เบาหวานKeywords: เบาหวาน.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WK815 อ927 2552 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพชนิดปรากฎการณ์วิทยา เพื่อศึกษาประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ราย ซึ่งเป็นผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหารอยู่ระหว่าง 80-120 mg/dl เป็นเวลาติดต่อกันอย่างน้อย 1 ปี และมีรดับ A1C น้อยกว่าร้อยละ 7 จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ระดับลึกร่วมกับการสังเกต การจดบันทึกภาคสนามและการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการของโคไลซี่
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ให้ความหมายของการดูแลตนเองใน 3 ลักษณะ คือ การทำให้ร่างกายดีและแข็งแรง การควบคุมตนเองไม่ให้น่ำตาลในเลือดสูง และการป้องกันตนเองไม่ให้เกิดความเจ็บป่วย ความรู้ที่มีต่อการเป็นโรเบาหวาน แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือ การยอมรับกับการเป็นโรคเบาหวาน และการใส่ใจดูแลตนเอง โดยมีวิธีการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด 5 วิธี คือ
1. การปฎิบัติตามคำแนะนำของทีมสุขภาพ 2. การรู้จักควบคุมตนเอง 3 การจัดการกับความเครียด 4. การทำกิจกรรมสม่ำเสมอ 5 การใช้สมุนไพรมารักษาเสริมCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23212 ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ = Sale-care experiecne on glycemic controlled in diabetes mellitus patients [printed text] / อารีย์ รัตนพันธ์, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552 . - 155 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Diabetics -- Care
[LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]ผู้ป่วย -- เบาหวานKeywords: เบาหวาน.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WK815 อ927 2552 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพชนิดปรากฎการณ์วิทยา เพื่อศึกษาประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ราย ซึ่งเป็นผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหารอยู่ระหว่าง 80-120 mg/dl เป็นเวลาติดต่อกันอย่างน้อย 1 ปี และมีรดับ A1C น้อยกว่าร้อยละ 7 จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ระดับลึกร่วมกับการสังเกต การจดบันทึกภาคสนามและการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการของโคไลซี่
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ให้ความหมายของการดูแลตนเองใน 3 ลักษณะ คือ การทำให้ร่างกายดีและแข็งแรง การควบคุมตนเองไม่ให้น่ำตาลในเลือดสูง และการป้องกันตนเองไม่ให้เกิดความเจ็บป่วย ความรู้ที่มีต่อการเป็นโรเบาหวาน แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือ การยอมรับกับการเป็นโรคเบาหวาน และการใส่ใจดูแลตนเอง โดยมีวิธีการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด 5 วิธี คือ
1. การปฎิบัติตามคำแนะนำของทีมสุขภาพ 2. การรู้จักควบคุมตนเอง 3 การจัดการกับความเครียด 4. การทำกิจกรรมสม่ำเสมอ 5 การใช้สมุนไพรมารักษาเสริมCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23212 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354983 WK815 อ927 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available ประสบการณ์อาการ กลวิธ๊ดูแลตนเอง และผลของการจัดการอาการในผู้ติดเชื้อเอชไอวี / ฐิติอาภา ตั้งค้าวานิช in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 ([03/24/2017])
[article]
Title : ประสบการณ์อาการ กลวิธ๊ดูแลตนเอง และผลของการจัดการอาการในผู้ติดเชื้อเอชไอวี Original title : Symtoms experience self-care strategies and symptom management outcomes in person living with HIV Material Type: printed text Authors: ฐิติอาภา ตั้งค้าวานิช, Author ; ธภัคนันท์ อินทราวุฒิ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.65-73 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 [03/24/2017] . - p.65-73Keywords: ประสบการอาการผู้ติดเชื้อเอชไอวี.ผู้ติดเชื้อเอชไอวี.การจัดการอาการผู้ติดเชื้อเอชไอวี.การดูแลตนเอง. Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26883 [article] ประสบการณ์อาการ กลวิธ๊ดูแลตนเอง และผลของการจัดการอาการในผู้ติดเชื้อเอชไอวี = Symtoms experience self-care strategies and symptom management outcomes in person living with HIV [printed text] / ฐิติอาภา ตั้งค้าวานิช, Author ; ธภัคนันท์ อินทราวุฒิ, Author . - 2017 . - p.65-73.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปัจจัยที่มีอิทธพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิต in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิต : ของผู้ป่วยโรคหลอดเลิือดหัวใจ Original title : The factor inuencing the self-care agency and quality of life of patients with coronary artery disease Material Type: printed text Publication Date: 2015 Article on page: pp.104-118 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.104-118Keywords: ความสามารถในการดูแลตนเอง. คุณภาพชีวิต.ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ. Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ คัดเลิือกกลุ่มตัวอย่างโรคหลอดเลือดหัวใจแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 99 คน ที่มาใช้บริการ คลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ 1.แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2.แบบวัดความสามรถในการดูแลตนเอง 3.แบบสอบถามคุณภาพชีวิตวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงบรรยาย และ Multiple regression ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 70.4 มีีคะแนน ความสามารถในการด฿ูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโรคหลอดเลือดหัวใจแบบเฺฉพาะเ้จาะจง จำนวน 99 คน ที่มาใช้บริการคลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ 1. แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2.แบบวัดความสามารถในการดูแลตนเอง และ 3. แบบสอบถามคุณภาพชีวิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงบรรยาย และ Multiple Regression ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 70.4 มีคะแนนความสามารถในการดูแลตนเองอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ (Mean=20.05 SD=9.84) คะแนนคุณภาพชีวิต รายด้านทีมีคะแนนในระดับดี คือด้านครอบครัว และพบว่า ระดับการศึกษา การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และ คะแนนความสามารถในการดูแลตนเอง เป็นปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลิือดหัวใจที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ .039 และอำนาจในการทำนายร้อยละ 56. ผลการศึกษาครั้งนี้ ช่วยให้ผู้บริการทางสุขภาพเข้าใจและเห็นความสำคัญของกิจกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เพื่อนำไปสู่การจัดการระบบการดูแล และพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งจะช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดต่อไป Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25002 [article] ปัจจัยที่มีอิทธพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิต = The factor inuencing the self-care agency and quality of life of patients with coronary artery disease : ของผู้ป่วยโรคหลอดเลิือดหัวใจ [printed text] . - 2015 . - pp.104-118.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.104-118Keywords: ความสามารถในการดูแลตนเอง. คุณภาพชีวิต.ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ. Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ คัดเลิือกกลุ่มตัวอย่างโรคหลอดเลือดหัวใจแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 99 คน ที่มาใช้บริการ คลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ 1.แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2.แบบวัดความสามรถในการดูแลตนเอง 3.แบบสอบถามคุณภาพชีวิตวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงบรรยาย และ Multiple regression ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 70.4 มีีคะแนน ความสามารถในการด฿ูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโรคหลอดเลือดหัวใจแบบเฺฉพาะเ้จาะจง จำนวน 99 คน ที่มาใช้บริการคลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ 1. แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2.แบบวัดความสามารถในการดูแลตนเอง และ 3. แบบสอบถามคุณภาพชีวิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงบรรยาย และ Multiple Regression ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 70.4 มีคะแนนความสามารถในการดูแลตนเองอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ (Mean=20.05 SD=9.84) คะแนนคุณภาพชีวิต รายด้านทีมีคะแนนในระดับดี คือด้านครอบครัว และพบว่า ระดับการศึกษา การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และ คะแนนความสามารถในการดูแลตนเอง เป็นปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลิือดหัวใจที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ .039 และอำนาจในการทำนายร้อยละ 56. ผลการศึกษาครั้งนี้ ช่วยให้ผู้บริการทางสุขภาพเข้าใจและเห็นความสำคัญของกิจกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เพื่อนำไปสู่การจัดการระบบการดูแล และพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งจะช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดต่อไป Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25002 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน / อลิษา ทรัพย์สังข์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน : วัยหัดเดินที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล Original title : Factors related to caregiver practice in caring for hospitalized toddler with acute illness Material Type: printed text Authors: อลิษา ทรัพย์สังข์, Author ; อุษณีย์ จินตะเวช, Author ; สุธิศา ล่ามช้าง, Author Publication Date: 2017 Article on page: 140-148 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - 140-148Keywords: การปฏิบัติของผู้ดูแล.การดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน.เด็กวัยหัดเดิน.ความวิตกกังวล.การสื่อสาร.พยาบาลผู้ดูแล Abstract: เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ เพื่อศึกษาการปฏิบัติของผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันวัยเดิน ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล และความสัมพันธ์ระหว่างชนิดการรักษาที่เด็กป่วยได้รับประสบการณ์การดูแลเด็กป่วย ความวิตกกังวล และการสื่อสารระหว่างพยาบาล และผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันวัยหัดเดินที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลตติยภูมิสองแห่งในภาคเหนือ จำนวน 85 ราย รวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินการวิตกกังวลต่อสถานการณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และสหสัมพันธ์อันดับสเปียร์แมน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พอยท์ไบซีเรียล
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ดูแลปฏิบัติในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันหัดเดินโดยรรวม และรายด้านในระดับมาก ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบิัติ คือ ความวิตกกังวล (r=-.214, p.05) และการสื่อสารระหว่างพยาบาลผู้ดูแล (r=.430, p<.01)
ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐาน ในการวางแผนการดูแลเด็กป้วยเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ครอบครัว โดยการพัฒนาการสื่อสารระหว่างพยาบาลและผู้ดูแล การลดความวิตกกังวลของผู้ดูแล เพื่อให้ผู้ดูแลปฏิบัติในการดูแลเด็กป่วยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27238 [article] ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน = Factors related to caregiver practice in caring for hospitalized toddler with acute illness : วัยหัดเดินที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล [printed text] / อลิษา ทรัพย์สังข์, Author ; อุษณีย์ จินตะเวช, Author ; สุธิศา ล่ามช้าง, Author . - 2017 . - 140-148.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - 140-148Keywords: การปฏิบัติของผู้ดูแล.การดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน.เด็กวัยหัดเดิน.ความวิตกกังวล.การสื่อสาร.พยาบาลผู้ดูแล Abstract: เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ เพื่อศึกษาการปฏิบัติของผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันวัยเดิน ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล และความสัมพันธ์ระหว่างชนิดการรักษาที่เด็กป่วยได้รับประสบการณ์การดูแลเด็กป่วย ความวิตกกังวล และการสื่อสารระหว่างพยาบาล และผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันวัยหัดเดินที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลตติยภูมิสองแห่งในภาคเหนือ จำนวน 85 ราย รวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินการวิตกกังวลต่อสถานการณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และสหสัมพันธ์อันดับสเปียร์แมน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พอยท์ไบซีเรียล
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ดูแลปฏิบัติในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันหัดเดินโดยรรวม และรายด้านในระดับมาก ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบิัติ คือ ความวิตกกังวล (r=-.214, p.05) และการสื่อสารระหว่างพยาบาลผู้ดูแล (r=.430, p<.01)
ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐาน ในการวางแผนการดูแลเด็กป้วยเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ครอบครัว โดยการพัฒนาการสื่อสารระหว่างพยาบาลและผู้ดูแล การลดความวิตกกังวลของผู้ดูแล เพื่อให้ผู้ดูแลปฏิบัติในการดูแลเด็กป่วยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27238 ผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ ต่อความเครียดในการดูแลเด็ก / ธิดารัตน์ ทองหนุน in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ ต่อความเครียดในการดูแลเด็ก : โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัว Material Type: printed text Authors: ธิดารัตน์ ทองหนุน, Author ; ว๊ณา จีระแพทย์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.86-103 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.86-103Keywords: การฝึกอานาปานสติ.การดูแลเด็ก.มะเร็งเม็ดเลือดขาว.ความเครียดในการดูแลเด็ก.ผู้ดูแลในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลงองแบบ 2 กลุ่ม คือ วัดก่อน และหวังการทดลอง เพื่อศึกษารูปแบบการให่ข้มูลทางสุขภาพกับการฝึกอานาปานสติต่อความเครียดในการ...กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลในครอบครัวของเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี ที่แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาและได้รับเคมีบำบัดระยะเข้มขันในโรงพยาบาลตติยภูมิ จำนวน 50 คน โดยจับคู่ให้มีระดับการศึกษาและรายได้ที่ระดับใกล้เคียงกัน เป็นกลุ่มละ 25 คน วิจัยโดยกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ตามด้วยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ เครื่องมือวิจัย คือ แผนกิจกรรมการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ แบบบันทึกรายงานตนเองหลังการฝึกอานาปานสติ และแบบสอบถามความเครียด... ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเครียดในการดูแลเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัวได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2) ความเครียดในการดูแลเด็กโรค ฯ กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยในครั้งรี้ คือ พยาบาลผู้ให้การดูแลผู้ป่วยเด็กและผู้ดูแลในครอบครัว ควรมีบทบาทสำคัญในการประเมินปัญหาให้ความช่วยเหลือดูแลอย่างครอบคลุมเป็นองค์รวม โดยเฉพาะจิตใจและอารมณ์ ทั้งนี้ในการนำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้ ผู้ใช้ควรมีพื้นฐานในการฝึกสมาธิแบบอานาปานสติ เพื่อให้เกิดทักษะและสามารถให้คำแนะนำแก่ผู้ดูแลในครอบครัวได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26732 [article] ผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ ต่อความเครียดในการดูแลเด็ก : โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัว [printed text] / ธิดารัตน์ ทองหนุน, Author ; ว๊ณา จีระแพทย์, Author . - 2017 . - p.86-103.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.86-103Keywords: การฝึกอานาปานสติ.การดูแลเด็ก.มะเร็งเม็ดเลือดขาว.ความเครียดในการดูแลเด็ก.ผู้ดูแลในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลงองแบบ 2 กลุ่ม คือ วัดก่อน และหวังการทดลอง เพื่อศึกษารูปแบบการให่ข้มูลทางสุขภาพกับการฝึกอานาปานสติต่อความเครียดในการ...กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลในครอบครัวของเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี ที่แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาและได้รับเคมีบำบัดระยะเข้มขันในโรงพยาบาลตติยภูมิ จำนวน 50 คน โดยจับคู่ให้มีระดับการศึกษาและรายได้ที่ระดับใกล้เคียงกัน เป็นกลุ่มละ 25 คน วิจัยโดยกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ตามด้วยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ เครื่องมือวิจัย คือ แผนกิจกรรมการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ แบบบันทึกรายงานตนเองหลังการฝึกอานาปานสติ และแบบสอบถามความเครียด... ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเครียดในการดูแลเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัวได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2) ความเครียดในการดูแลเด็กโรค ฯ กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยในครั้งรี้ คือ พยาบาลผู้ให้การดูแลผู้ป่วยเด็กและผู้ดูแลในครอบครัว ควรมีบทบาทสำคัญในการประเมินปัญหาให้ความช่วยเหลือดูแลอย่างครอบคลุมเป็นองค์รวม โดยเฉพาะจิตใจและอารมณ์ ทั้งนี้ในการนำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้ ผู้ใช้ควรมีพื้นฐานในการฝึกสมาธิแบบอานาปานสติ เพื่อให้เกิดทักษะและสามารถให้คำแนะนำแก่ผู้ดูแลในครอบครัวได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26732 พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 / หนึ่งฤทัย จันทร์อินทร์ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 Original title : Foot care behavior of older persons with types 2 Diabets Material Type: printed text Authors: หนึ่งฤทัย จันทร์อินทร์, Author Publication Date: 2015 Article on page: 199-212 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - 199-212Keywords: เบาหวานชนิดที่ 2.พฤตจิกรรมการดูแลเท้า.การดูแลตนเอง.ผู้สูงอายุ. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 โดยใช้กรอบแนวคิดการดูแลตนเองของโอเร็ม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับการตรวจรักษาที่ศูนย์เบาหวาน โรงพยาบาลตากสิน เลิือกแบบเจาะจง จำนวน 78 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ตามแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างที่ผุ้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างจำนวน 78 ราย เป็นพศชาย และเพศหญิงจำนวนเท่ากัน อายุเฉลี่ย 68.64 ปี กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่แตกต่างจากเดิมหลังรู้ว่าเป็นเบาหวาน คือ ให้ความสำคัญกับการดูลเท้ามากขึ้น มีการตรวจเท้าด้วยตนเอง เพื่อหาความผิดปกติของเท้า เนื่องจากความกลัวการถูกตัดนิ้ว ตัดขา มีการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าโดยการทาครีมทาผิวที่เท้า ตัดเล็บแนวตรงไม่งัดแงะซอกเล็บ แต่มีบางรายที่มีการแช่เท้าในน่้ำอุ่น โดยไม่ทราบถึงผลเสีน นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างมีปัญหาตามัว มองไม่ชัด และมีภาวะอ้สนลงพุง ทำให้ก้มดูแลเท้าไม่สะดวก แต่มีความคิดริเริ่มใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเพื่อช่วยในการมองเห็นให้ชัดขึ้น หรือขอให้ญาติเป็นผู้ตรวจดูเท้าให้ จากข้อมูลเหล่านี้ แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างกระทำการดูแลตนเองอย่างมีเป้าหมาย มีการไตร่ตรอง และมีทักษะในการปรับการปฏิบัติการดูแลตนเองด้วยวิธีต่าง ๆ รวมทั้งสอดแทรดการดูแลตนเองเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในแบบแผนการดำเนินชีวิต ผลการวิจัยครั้งนี้ทำให้เข้าใจพฤติกรรมและปัญหาในการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 และสามารถนำไปวางแผนการดูแลให้สอดคล้่องกับพฤติกรรม และแบบแผนกาาดำเนินชีวิตตามบริบททางสังคมของผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ดียิ่งขึ้น Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24988 [article] พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 = Foot care behavior of older persons with types 2 Diabets [printed text] / หนึ่งฤทัย จันทร์อินทร์, Author . - 2015 . - 199-212.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - 199-212Keywords: เบาหวานชนิดที่ 2.พฤตจิกรรมการดูแลเท้า.การดูแลตนเอง.ผู้สูงอายุ. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 โดยใช้กรอบแนวคิดการดูแลตนเองของโอเร็ม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับการตรวจรักษาที่ศูนย์เบาหวาน โรงพยาบาลตากสิน เลิือกแบบเจาะจง จำนวน 78 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ตามแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างที่ผุ้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างจำนวน 78 ราย เป็นพศชาย และเพศหญิงจำนวนเท่ากัน อายุเฉลี่ย 68.64 ปี กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่แตกต่างจากเดิมหลังรู้ว่าเป็นเบาหวาน คือ ให้ความสำคัญกับการดูลเท้ามากขึ้น มีการตรวจเท้าด้วยตนเอง เพื่อหาความผิดปกติของเท้า เนื่องจากความกลัวการถูกตัดนิ้ว ตัดขา มีการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าโดยการทาครีมทาผิวที่เท้า ตัดเล็บแนวตรงไม่งัดแงะซอกเล็บ แต่มีบางรายที่มีการแช่เท้าในน่้ำอุ่น โดยไม่ทราบถึงผลเสีน นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างมีปัญหาตามัว มองไม่ชัด และมีภาวะอ้สนลงพุง ทำให้ก้มดูแลเท้าไม่สะดวก แต่มีความคิดริเริ่มใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเพื่อช่วยในการมองเห็นให้ชัดขึ้น หรือขอให้ญาติเป็นผู้ตรวจดูเท้าให้ จากข้อมูลเหล่านี้ แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างกระทำการดูแลตนเองอย่างมีเป้าหมาย มีการไตร่ตรอง และมีทักษะในการปรับการปฏิบัติการดูแลตนเองด้วยวิธีต่าง ๆ รวมทั้งสอดแทรดการดูแลตนเองเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในแบบแผนการดำเนินชีวิต ผลการวิจัยครั้งนี้ทำให้เข้าใจพฤติกรรมและปัญหาในการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 และสามารถนำไปวางแผนการดูแลให้สอดคล้่องกับพฤติกรรม และแบบแผนกาาดำเนินชีวิตตามบริบททางสังคมของผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ดียิ่งขึ้น Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24988 สัมพันธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด / ธีรนันท์ วรรณศิริ in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : สัมพันธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด : ของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้ Original title : Families relationship in self-care promotipn for uncontrolling blood sugar in type 2 diabetes Material Type: printed text Authors: ธีรนันท์ วรรณศิริ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.31-50 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.31-50Keywords: โรคเบาหวาน.การควบคุมโรคเบาหวาน.การดูแลตนเอง.การส่งเสริมการดูแลตนเอง.สัมพันธภาพในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาสัมพนธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมสุขภาพการดูแลตนเอง เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างการวิจัย คือ ครอบครัวผู้ป่วยเบาหวาน ได้แก่ ผู้ป่วยที่ไม่สามารถคบคุมโรคได้โดยมีระดับ HbA1c มากกว่า 7% และสมาชิกในครอบครัว รวมทั้งหมด 19 ครอบครัว เลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล แบบสัมภาษณ์ครอบครัวผู้ป่วยเบาหวาน ผลการวิจัย พบว่า สัมพันธภาพในครอบครัวมีผลค่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน ดังนี้ 1) ผู้ป่วยเบาหวานที่ช่วยเหลือตัวเองได้ ผู้ดูแลจะสนับสนุนผู้ป่วยด้านสิ่งของเหมือนก่อนป่วย โดย ผู้ดูแลไม่ได้เข้มงวดในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยเบาหวาน. ช่วยเหลือสิ่งที่ผู้ป่วยทำไม่ได้. คู่สมรสเป็นแหล่งสนับสนุนให้กำลังใจที่สำคัญ 2) การสนับสนุนด้านอารมณ์โดยสมาชิกในครอบครัวมีความรักใคร่ผูกพันกันโดยมีความเป็นห่วงใยกัน ทำกิจกรรมด้วยกัน 3) ผู้ป่วยเบาหวารนที่ดูแลตนเองได้น้อยยากจน จะได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวน้อย โดยบุตรจะแยกครอบครัวอยู่ต่างหาก เพราะสะดวกในการประกอบอาชีพ และผู้ป่วยเบาหวารทีไม่มีอำนาจการตัดสินใจ สมาชิกในครอบครัวจะต่างคนต่างอยู่
ข้อเสนอแนะ ให้บุคลากรทางสุขภาพจัดการฝึกอบรมให้ความรู้ผู้ป่วยเบาหวารและสมาชิกในครอบครัวเกี่ยวกับการควบคุมโรคเบาหวาน เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติกับผู้ป่วยเบาหวานในครอบครัวได้อย่างถูกต้อง ช่วยลดภาวะแทรกซ้อนได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26730 [article] สัมพันธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด = Families relationship in self-care promotipn for uncontrolling blood sugar in type 2 diabetes : ของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้ [printed text] / ธีรนันท์ วรรณศิริ, Author . - 2017 . - p.31-50.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.31-50Keywords: โรคเบาหวาน.การควบคุมโรคเบาหวาน.การดูแลตนเอง.การส่งเสริมการดูแลตนเอง.สัมพันธภาพในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาสัมพนธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมสุขภาพการดูแลตนเอง เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างการวิจัย คือ ครอบครัวผู้ป่วยเบาหวาน ได้แก่ ผู้ป่วยที่ไม่สามารถคบคุมโรคได้โดยมีระดับ HbA1c มากกว่า 7% และสมาชิกในครอบครัว รวมทั้งหมด 19 ครอบครัว เลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล แบบสัมภาษณ์ครอบครัวผู้ป่วยเบาหวาน ผลการวิจัย พบว่า สัมพันธภาพในครอบครัวมีผลค่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน ดังนี้ 1) ผู้ป่วยเบาหวานที่ช่วยเหลือตัวเองได้ ผู้ดูแลจะสนับสนุนผู้ป่วยด้านสิ่งของเหมือนก่อนป่วย โดย ผู้ดูแลไม่ได้เข้มงวดในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยเบาหวาน. ช่วยเหลือสิ่งที่ผู้ป่วยทำไม่ได้. คู่สมรสเป็นแหล่งสนับสนุนให้กำลังใจที่สำคัญ 2) การสนับสนุนด้านอารมณ์โดยสมาชิกในครอบครัวมีความรักใคร่ผูกพันกันโดยมีความเป็นห่วงใยกัน ทำกิจกรรมด้วยกัน 3) ผู้ป่วยเบาหวารนที่ดูแลตนเองได้น้อยยากจน จะได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวน้อย โดยบุตรจะแยกครอบครัวอยู่ต่างหาก เพราะสะดวกในการประกอบอาชีพ และผู้ป่วยเบาหวารทีไม่มีอำนาจการตัดสินใจ สมาชิกในครอบครัวจะต่างคนต่างอยู่
ข้อเสนอแนะ ให้บุคลากรทางสุขภาพจัดการฝึกอบรมให้ความรู้ผู้ป่วยเบาหวารและสมาชิกในครอบครัวเกี่ยวกับการควบคุมโรคเบาหวาน เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติกับผู้ป่วยเบาหวานในครอบครัวได้อย่างถูกต้อง ช่วยลดภาวะแทรกซ้อนได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26730