From this page you can:
Home |
Search results
4 result(s) search for keyword(s) 'การฝึกอานาปานสติ.การดูแลเด็ก.มะเร็งเม็ดเลือดขาว.ความเครียดในการดูแลเด็ก.ผู้ดูแลในครอบครัว.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ ต่อความเครียดในการดูแลเด็ก / ธิดารัตน์ ทองหนุน in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ ต่อความเครียดในการดูแลเด็ก : โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัว Material Type: printed text Authors: ธิดารัตน์ ทองหนุน, Author ; ว๊ณา จีระแพทย์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.86-103 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.86-103Keywords: การฝึกอานาปานสติ.การดูแลเด็ก.มะเร็งเม็ดเลือดขาว.ความเครียดในการดูแลเด็ก.ผู้ดูแลในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลงองแบบ 2 กลุ่ม คือ วัดก่อน และหวังการทดลอง เพื่อศึกษารูปแบบการให่ข้มูลทางสุขภาพกับการฝึกอานาปานสติต่อความเครียดในการ...กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลในครอบครัวของเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี ที่แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาและได้รับเคมีบำบัดระยะเข้มขันในโรงพยาบาลตติยภูมิ จำนวน 50 คน โดยจับคู่ให้มีระดับการศึกษาและรายได้ที่ระดับใกล้เคียงกัน เป็นกลุ่มละ 25 คน วิจัยโดยกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ตามด้วยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ เครื่องมือวิจัย คือ แผนกิจกรรมการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ แบบบันทึกรายงานตนเองหลังการฝึกอานาปานสติ และแบบสอบถามความเครียด... ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเครียดในการดูแลเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัวได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2) ความเครียดในการดูแลเด็กโรค ฯ กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยในครั้งรี้ คือ พยาบาลผู้ให้การดูแลผู้ป่วยเด็กและผู้ดูแลในครอบครัว ควรมีบทบาทสำคัญในการประเมินปัญหาให้ความช่วยเหลือดูแลอย่างครอบคลุมเป็นองค์รวม โดยเฉพาะจิตใจและอารมณ์ ทั้งนี้ในการนำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้ ผู้ใช้ควรมีพื้นฐานในการฝึกสมาธิแบบอานาปานสติ เพื่อให้เกิดทักษะและสามารถให้คำแนะนำแก่ผู้ดูแลในครอบครัวได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26732 [article] ผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ ต่อความเครียดในการดูแลเด็ก : โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัว [printed text] / ธิดารัตน์ ทองหนุน, Author ; ว๊ณา จีระแพทย์, Author . - 2017 . - p.86-103.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.86-103Keywords: การฝึกอานาปานสติ.การดูแลเด็ก.มะเร็งเม็ดเลือดขาว.ความเครียดในการดูแลเด็ก.ผู้ดูแลในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลงองแบบ 2 กลุ่ม คือ วัดก่อน และหวังการทดลอง เพื่อศึกษารูปแบบการให่ข้มูลทางสุขภาพกับการฝึกอานาปานสติต่อความเครียดในการ...กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลในครอบครัวของเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี ที่แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาและได้รับเคมีบำบัดระยะเข้มขันในโรงพยาบาลตติยภูมิ จำนวน 50 คน โดยจับคู่ให้มีระดับการศึกษาและรายได้ที่ระดับใกล้เคียงกัน เป็นกลุ่มละ 25 คน วิจัยโดยกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ตามด้วยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ เครื่องมือวิจัย คือ แผนกิจกรรมการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ แบบบันทึกรายงานตนเองหลังการฝึกอานาปานสติ และแบบสอบถามความเครียด... ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเครียดในการดูแลเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัวได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2) ความเครียดในการดูแลเด็กโรค ฯ กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยในครั้งรี้ คือ พยาบาลผู้ให้การดูแลผู้ป่วยเด็กและผู้ดูแลในครอบครัว ควรมีบทบาทสำคัญในการประเมินปัญหาให้ความช่วยเหลือดูแลอย่างครอบคลุมเป็นองค์รวม โดยเฉพาะจิตใจและอารมณ์ ทั้งนี้ในการนำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้ ผู้ใช้ควรมีพื้นฐานในการฝึกสมาธิแบบอานาปานสติ เพื่อให้เกิดทักษะและสามารถให้คำแนะนำแก่ผู้ดูแลในครอบครัวได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26732 การดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : การดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ : ของโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร Original title : Early childchood caring in the child care centers in the hospitals of Bangkok metropolitana administration Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: p.51-68 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.51-68Keywords: การดูแลเด็ก.เด็กปฐมวัย.ศูนย์เด็กเล็ก.โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาการดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 26 คน โดยเป็นพยาบาลวิชาชีพ และพี่เลี้ยงเด็กประจำศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่...ทีปฎิบัติงานประจำอย่่างน้อย 6 เดือน หรือตั้งแต่ศูนย์ ฯ เปิดดำเนินกาารและยังคงปฏิบัติงานระหว่างที่ทำการศึกษา จำนวน 9 คน และ 17 คน เก็บรวบรวมข้อมูลเดือนธันวาคม 2558 ถึง มิถุนายน 2559 ใช้วิธีการสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกต การศึกษาจากเอกสาร การบันทีึกข้อมูลภาคสนาม การบันทึกเทป การบันทึกภาพ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การดูแลเด็กปฐมใัยวนศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่... มี 6 ลักษณะ คือ 1)การดูแลเด็กที่มีิิอายุแรกเกิด - 3 ปี 2)เป็นสวัสดิดการให้บุคลากรในสังกัดกรุงเทพมหานครให้สามารถทำงานได้อย่างสบายใจ และเกิดความรักผูกพันในครอบครัว 3) เน้นการเลี้ยงลูด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน และหลังอายุ 6 เดือน 4) เป็นการเตรียมความพร้อมให้เด็กทั้งร่างกาย จิตใจและสังคม ก่อนเข้าเรียน 5) เป็นการดูแลเหมือนครอบครัว รักเหมือนลูกแต่ทำยิ่งกว่าลูก และ6) ดูแลตามมาตรฐานของศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ของสำนักการแพทย์ 6 ด้าน คือ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ส่งเสริมการพัฒนาเด็ก ด้านการบริการอาหารสะอาดปลอดภัย สิ่งแวดล้อมสะอาดปลอดภัย บุคลากรและด้านการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน มี 3 ประเด็น คือ ด้านนโยบายระเบียบก่ารและเอกสารที่มีความแตกต่างกัน ด้านโครงสร้างทางกายภาพของศูนย์เด็กเล็ก ที่บาดอุปกรณ์ที่จำเป็น การแบ่งพื้นที่ยังไม่เป็นสัดส่วน และบุลากรมีไม่เพียงพอ
Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26731 [article] การดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ = Early childchood caring in the child care centers in the hospitals of Bangkok metropolitana administration : ของโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร [printed text] . - 2017 . - p.51-68.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.51-68Keywords: การดูแลเด็ก.เด็กปฐมวัย.ศูนย์เด็กเล็ก.โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาการดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 26 คน โดยเป็นพยาบาลวิชาชีพ และพี่เลี้ยงเด็กประจำศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่...ทีปฎิบัติงานประจำอย่่างน้อย 6 เดือน หรือตั้งแต่ศูนย์ ฯ เปิดดำเนินกาารและยังคงปฏิบัติงานระหว่างที่ทำการศึกษา จำนวน 9 คน และ 17 คน เก็บรวบรวมข้อมูลเดือนธันวาคม 2558 ถึง มิถุนายน 2559 ใช้วิธีการสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกต การศึกษาจากเอกสาร การบันทีึกข้อมูลภาคสนาม การบันทึกเทป การบันทึกภาพ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การดูแลเด็กปฐมใัยวนศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่... มี 6 ลักษณะ คือ 1)การดูแลเด็กที่มีิิอายุแรกเกิด - 3 ปี 2)เป็นสวัสดิดการให้บุคลากรในสังกัดกรุงเทพมหานครให้สามารถทำงานได้อย่างสบายใจ และเกิดความรักผูกพันในครอบครัว 3) เน้นการเลี้ยงลูด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน และหลังอายุ 6 เดือน 4) เป็นการเตรียมความพร้อมให้เด็กทั้งร่างกาย จิตใจและสังคม ก่อนเข้าเรียน 5) เป็นการดูแลเหมือนครอบครัว รักเหมือนลูกแต่ทำยิ่งกว่าลูก และ6) ดูแลตามมาตรฐานของศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ของสำนักการแพทย์ 6 ด้าน คือ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ส่งเสริมการพัฒนาเด็ก ด้านการบริการอาหารสะอาดปลอดภัย สิ่งแวดล้อมสะอาดปลอดภัย บุคลากรและด้านการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน มี 3 ประเด็น คือ ด้านนโยบายระเบียบก่ารและเอกสารที่มีความแตกต่างกัน ด้านโครงสร้างทางกายภาพของศูนย์เด็กเล็ก ที่บาดอุปกรณ์ที่จำเป็น การแบ่งพื้นที่ยังไม่เป็นสัดส่วน และบุลากรมีไม่เพียงพอ
Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26731 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน / อลิษา ทรัพย์สังข์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน : วัยหัดเดินที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล Original title : Factors related to caregiver practice in caring for hospitalized toddler with acute illness Material Type: printed text Authors: อลิษา ทรัพย์สังข์, Author ; อุษณีย์ จินตะเวช, Author ; สุธิศา ล่ามช้าง, Author Publication Date: 2017 Article on page: 140-148 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - 140-148Keywords: การปฏิบัติของผู้ดูแล.การดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน.เด็กวัยหัดเดิน.ความวิตกกังวล.การสื่อสาร.พยาบาลผู้ดูแล Abstract: เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ เพื่อศึกษาการปฏิบัติของผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันวัยเดิน ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล และความสัมพันธ์ระหว่างชนิดการรักษาที่เด็กป่วยได้รับประสบการณ์การดูแลเด็กป่วย ความวิตกกังวล และการสื่อสารระหว่างพยาบาล และผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันวัยหัดเดินที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลตติยภูมิสองแห่งในภาคเหนือ จำนวน 85 ราย รวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินการวิตกกังวลต่อสถานการณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และสหสัมพันธ์อันดับสเปียร์แมน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พอยท์ไบซีเรียล
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ดูแลปฏิบัติในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันหัดเดินโดยรรวม และรายด้านในระดับมาก ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบิัติ คือ ความวิตกกังวล (r=-.214, p.05) และการสื่อสารระหว่างพยาบาลผู้ดูแล (r=.430, p<.01)
ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐาน ในการวางแผนการดูแลเด็กป้วยเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ครอบครัว โดยการพัฒนาการสื่อสารระหว่างพยาบาลและผู้ดูแล การลดความวิตกกังวลของผู้ดูแล เพื่อให้ผู้ดูแลปฏิบัติในการดูแลเด็กป่วยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27238 [article] ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน = Factors related to caregiver practice in caring for hospitalized toddler with acute illness : วัยหัดเดินที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล [printed text] / อลิษา ทรัพย์สังข์, Author ; อุษณีย์ จินตะเวช, Author ; สุธิศา ล่ามช้าง, Author . - 2017 . - 140-148.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - 140-148Keywords: การปฏิบัติของผู้ดูแล.การดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน.เด็กวัยหัดเดิน.ความวิตกกังวล.การสื่อสาร.พยาบาลผู้ดูแล Abstract: เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ เพื่อศึกษาการปฏิบัติของผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันวัยเดิน ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล และความสัมพันธ์ระหว่างชนิดการรักษาที่เด็กป่วยได้รับประสบการณ์การดูแลเด็กป่วย ความวิตกกังวล และการสื่อสารระหว่างพยาบาล และผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันวัยหัดเดินที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลตติยภูมิสองแห่งในภาคเหนือ จำนวน 85 ราย รวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินการวิตกกังวลต่อสถานการณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และสหสัมพันธ์อันดับสเปียร์แมน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พอยท์ไบซีเรียล
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ดูแลปฏิบัติในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันหัดเดินโดยรรวม และรายด้านในระดับมาก ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบิัติ คือ ความวิตกกังวล (r=-.214, p.05) และการสื่อสารระหว่างพยาบาลผู้ดูแล (r=.430, p<.01)
ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐาน ในการวางแผนการดูแลเด็กป้วยเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ครอบครัว โดยการพัฒนาการสื่อสารระหว่างพยาบาลและผู้ดูแล การลดความวิตกกังวลของผู้ดูแล เพื่อให้ผู้ดูแลปฏิบัติในการดูแลเด็กป่วยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27238 ผลของโปรแกรมการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย / ภูษณิศา มาพิสูน in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 ([05/21/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย : และความสามารถในการดูแลเด็กของผู้ดูแลต่อพฤติกรรมการตดูแลตนเองของเด็ก Original title : Impact of a self care development programme for school age thalassaemic children and their caregiver's ability on the children's self care behavior Material Type: printed text Authors: ภูษณิศา มาพิสูน, Author ; ปรีย์กมล รัชนกุล, Author ; วาริยา หมื่นสา, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.52-68 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 [05/21/2016] . - p.52-68Keywords: การดูแลตนเอง.เด็กวัยเรียน.โรคธาลัสซีเมีย.ความสามารถในการดูแลตนเอง.การดูแลเด็ก.ผู้ดูแลต่อ. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25639 [article] ผลของโปรแกรมการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย = Impact of a self care development programme for school age thalassaemic children and their caregiver's ability on the children's self care behavior : และความสามารถในการดูแลเด็กของผู้ดูแลต่อพฤติกรรมการตดูแลตนเองของเด็ก [printed text] / ภูษณิศา มาพิสูน, Author ; ปรีย์กมล รัชนกุล, Author ; วาริยา หมื่นสา, Author . - 2016 . - p.52-68.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 [05/21/2016] . - p.52-68Keywords: การดูแลตนเอง.เด็กวัยเรียน.โรคธาลัสซีเมีย.ความสามารถในการดูแลตนเอง.การดูแลเด็ก.ผู้ดูแลต่อ. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25639