From this page you can:
Home |
Search results
3 result(s) search for keyword(s) 'ผู้นำศาสนาอิสลาม.พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ.ชาวไทยมุสลิม.เบาหวานชนิดที่ 2.การดถือศีลอด.เดือนรอมฎอน.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
การรับรู้ของผู้นำศาสนาอิสลามเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตามหลักปฏิบัติทางศาสนาของชาวไทยมุสลิมที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 / ฮารินี มาซอ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.2 (May-Aug) 2017/2560 ([10/18/2017])
[article]
Title : การรับรู้ของผู้นำศาสนาอิสลามเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตามหลักปฏิบัติทางศาสนาของชาวไทยมุสลิมที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 : ระหว่างการถือศีลอดในเดือนรอมฎอน Original title : Perception of Islamic religions leaders toward religion-related health behavior of Thai Muslims with type 2 diabetes melitus during the fasting month of Ramadan Material Type: printed text Authors: ฮารินี มาซอ, Author ; พรทิพย์ มาลาธรรม, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.208-223 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.2 (May-Aug) 2017/2560 [10/18/2017] . - p.208-223Keywords: ผู้นำศาสนาอิสลาม.พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ.ชาวไทยมุสลิม.เบาหวานชนิดที่ 2.การดถือศีลอด.เดือนรอมฎอน. Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27388 [article] การรับรู้ของผู้นำศาสนาอิสลามเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตามหลักปฏิบัติทางศาสนาของชาวไทยมุสลิมที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 = Perception of Islamic religions leaders toward religion-related health behavior of Thai Muslims with type 2 diabetes melitus during the fasting month of Ramadan : ระหว่างการถือศีลอดในเดือนรอมฎอน [printed text] / ฮารินี มาซอ, Author ; พรทิพย์ มาลาธรรม, Author . - 2017 . - p.208-223.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้ เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคมกับผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วย / นภาพร วาณิชย์กุล in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้ เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคมกับผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วย : โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และ/หรือความดันโลหิตสูง Original title : Health Literacy, Health Education Outcomes and Social Influence, and Their Relationships with Type-2 Diabetes and/or Hypertension Patients’ Clinical Outcomes* Material Type: printed text Authors: นภาพร วาณิชย์กุล, Author ; สุขมาพร พึ่งผาสุก, Author ; ทิพา ต่อสกุลแก้ว, Author ; เกศรินทร์ อุทริยะประสิทธิ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.111-115 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.111-115Keywords: ความแตกฉานทางสุขภาพ. ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ. อิทธิพลทางสังคมผลลัพธ์ทางคลินิก. เบาหวานชนิดที่ 2. ความดันโลหิตสูง. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจาก
การได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม กับผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูงการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์
วิธีการดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำนวน 205 ราย เป็นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูง ของแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ 3 แห่ง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและผลลัพธ์ทางคลินิก แบบสอบถามความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมนผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 60.8 ปี (SD =12.3)57.1% เป็นเพศหญิง และมีโรคประจำตัวอย่างน้อย 2 โรค (67.8%) สามารถควบคุมโรคได้ดี 38.6% มีความแตกฉานทางสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง (mean ± SD = 2.25 ± 0.65 คะแนน) ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอยู่ในระดับสูง (mean ± SD = 3.57 ± 0.43 คะแนน) อิทธิพลทางสังคมมีระดับปานกลาง(mean ± SD = 2.53 + 0.4 คะแนน) และผลลัพธ์ทางคลินิกอยู่ในระดับต่ำ (mean ± SD = 1.36 ± 1.5)ความแตกฉานทางสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม และผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ มีความสัมพันธ์ทางลบกับผลลัพธ์ทางคลินิกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติข้อเสนอแนะ: บุคลากรทางการแพทย์ควรประเมินความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม ของผู้ป่วยเพื่อใช้ในการวางแผนการพยาบาลในการพัฒนาผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27359 [article] ความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้ เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคมกับผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วย = Health Literacy, Health Education Outcomes and Social Influence, and Their Relationships with Type-2 Diabetes and/or Hypertension Patients’ Clinical Outcomes* : โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และ/หรือความดันโลหิตสูง [printed text] / นภาพร วาณิชย์กุล, Author ; สุขมาพร พึ่งผาสุก, Author ; ทิพา ต่อสกุลแก้ว, Author ; เกศรินทร์ อุทริยะประสิทธิ์, Author . - 2017 . - p.111-115.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.111-115Keywords: ความแตกฉานทางสุขภาพ. ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ. อิทธิพลทางสังคมผลลัพธ์ทางคลินิก. เบาหวานชนิดที่ 2. ความดันโลหิตสูง. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจาก
การได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม กับผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูงการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์
วิธีการดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำนวน 205 ราย เป็นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูง ของแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ 3 แห่ง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและผลลัพธ์ทางคลินิก แบบสอบถามความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมนผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 60.8 ปี (SD =12.3)57.1% เป็นเพศหญิง และมีโรคประจำตัวอย่างน้อย 2 โรค (67.8%) สามารถควบคุมโรคได้ดี 38.6% มีความแตกฉานทางสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง (mean ± SD = 2.25 ± 0.65 คะแนน) ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอยู่ในระดับสูง (mean ± SD = 3.57 ± 0.43 คะแนน) อิทธิพลทางสังคมมีระดับปานกลาง(mean ± SD = 2.53 + 0.4 คะแนน) และผลลัพธ์ทางคลินิกอยู่ในระดับต่ำ (mean ± SD = 1.36 ± 1.5)ความแตกฉานทางสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม และผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ มีความสัมพันธ์ทางลบกับผลลัพธ์ทางคลินิกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติข้อเสนอแนะ: บุคลากรทางการแพทย์ควรประเมินความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม ของผู้ป่วยเพื่อใช้ในการวางแผนการพยาบาลในการพัฒนาผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27359 พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 / หนึ่งฤทัย จันทร์อินทร์ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 Original title : Foot care behavior of older persons with types 2 Diabets Material Type: printed text Authors: หนึ่งฤทัย จันทร์อินทร์, Author Publication Date: 2015 Article on page: 199-212 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - 199-212Keywords: เบาหวานชนิดที่ 2.พฤตจิกรรมการดูแลเท้า.การดูแลตนเอง.ผู้สูงอายุ. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 โดยใช้กรอบแนวคิดการดูแลตนเองของโอเร็ม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับการตรวจรักษาที่ศูนย์เบาหวาน โรงพยาบาลตากสิน เลิือกแบบเจาะจง จำนวน 78 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ตามแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างที่ผุ้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างจำนวน 78 ราย เป็นพศชาย และเพศหญิงจำนวนเท่ากัน อายุเฉลี่ย 68.64 ปี กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่แตกต่างจากเดิมหลังรู้ว่าเป็นเบาหวาน คือ ให้ความสำคัญกับการดูลเท้ามากขึ้น มีการตรวจเท้าด้วยตนเอง เพื่อหาความผิดปกติของเท้า เนื่องจากความกลัวการถูกตัดนิ้ว ตัดขา มีการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าโดยการทาครีมทาผิวที่เท้า ตัดเล็บแนวตรงไม่งัดแงะซอกเล็บ แต่มีบางรายที่มีการแช่เท้าในน่้ำอุ่น โดยไม่ทราบถึงผลเสีน นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างมีปัญหาตามัว มองไม่ชัด และมีภาวะอ้สนลงพุง ทำให้ก้มดูแลเท้าไม่สะดวก แต่มีความคิดริเริ่มใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเพื่อช่วยในการมองเห็นให้ชัดขึ้น หรือขอให้ญาติเป็นผู้ตรวจดูเท้าให้ จากข้อมูลเหล่านี้ แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างกระทำการดูแลตนเองอย่างมีเป้าหมาย มีการไตร่ตรอง และมีทักษะในการปรับการปฏิบัติการดูแลตนเองด้วยวิธีต่าง ๆ รวมทั้งสอดแทรดการดูแลตนเองเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในแบบแผนการดำเนินชีวิต ผลการวิจัยครั้งนี้ทำให้เข้าใจพฤติกรรมและปัญหาในการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 และสามารถนำไปวางแผนการดูแลให้สอดคล้่องกับพฤติกรรม และแบบแผนกาาดำเนินชีวิตตามบริบททางสังคมของผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ดียิ่งขึ้น Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24988 [article] พฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 = Foot care behavior of older persons with types 2 Diabets [printed text] / หนึ่งฤทัย จันทร์อินทร์, Author . - 2015 . - 199-212.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - 199-212Keywords: เบาหวานชนิดที่ 2.พฤตจิกรรมการดูแลเท้า.การดูแลตนเอง.ผู้สูงอายุ. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 โดยใช้กรอบแนวคิดการดูแลตนเองของโอเร็ม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับการตรวจรักษาที่ศูนย์เบาหวาน โรงพยาบาลตากสิน เลิือกแบบเจาะจง จำนวน 78 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ตามแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างที่ผุ้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างจำนวน 78 ราย เป็นพศชาย และเพศหญิงจำนวนเท่ากัน อายุเฉลี่ย 68.64 ปี กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่แตกต่างจากเดิมหลังรู้ว่าเป็นเบาหวาน คือ ให้ความสำคัญกับการดูลเท้ามากขึ้น มีการตรวจเท้าด้วยตนเอง เพื่อหาความผิดปกติของเท้า เนื่องจากความกลัวการถูกตัดนิ้ว ตัดขา มีการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าโดยการทาครีมทาผิวที่เท้า ตัดเล็บแนวตรงไม่งัดแงะซอกเล็บ แต่มีบางรายที่มีการแช่เท้าในน่้ำอุ่น โดยไม่ทราบถึงผลเสีน นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างมีปัญหาตามัว มองไม่ชัด และมีภาวะอ้สนลงพุง ทำให้ก้มดูแลเท้าไม่สะดวก แต่มีความคิดริเริ่มใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเพื่อช่วยในการมองเห็นให้ชัดขึ้น หรือขอให้ญาติเป็นผู้ตรวจดูเท้าให้ จากข้อมูลเหล่านี้ แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างกระทำการดูแลตนเองอย่างมีเป้าหมาย มีการไตร่ตรอง และมีทักษะในการปรับการปฏิบัติการดูแลตนเองด้วยวิธีต่าง ๆ รวมทั้งสอดแทรดการดูแลตนเองเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในแบบแผนการดำเนินชีวิต ผลการวิจัยครั้งนี้ทำให้เข้าใจพฤติกรรมและปัญหาในการดูแลเท้าของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 และสามารถนำไปวางแผนการดูแลให้สอดคล้่องกับพฤติกรรม และแบบแผนกาาดำเนินชีวิตตามบริบททางสังคมของผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ดียิ่งขึ้น Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24988