From this page you can:
Home |
Search results
77 result(s) search for keyword(s) 'การศึกษาต่อเนื่อง. โรงพยาบาลธัญญารักษ์. ผู้ป่วย.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสำเร็จในการศึกษาต่อเนื่องของผู้ป่วยติดยาเสพติดในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ / ศิริรัตน์ ชูชีพ / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : ความสำเร็จในการศึกษาต่อเนื่องของผู้ป่วยติดยาเสพติดในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ : รายงานการวิจัย Material Type: printed text Authors: ศิริรัตน์ ชูชีพ, Author ; บุปผา เที่ยงพุก, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: จ, 40 แผ่น Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-035-4 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การศึกษาต่อเนื่อง
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัดKeywords: การศึกษาต่อเนื่อง.
โรงพยาบาลธัญญารักษ์.
ผู้ป่วย.Class number: WM100 ศ837 2544 Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเหตุผลในการศึกษาต่อของผู้ป่วยที่ติดสาเสพติด และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการศึกษาต่อของผู้ป่วยยาเสพติดที่ได้เข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23262 ความสำเร็จในการศึกษาต่อเนื่องของผู้ป่วยติดยาเสพติดในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ : รายงานการวิจัย [printed text] / ศิริรัตน์ ชูชีพ, Author ; บุปผา เที่ยงพุก, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - จ, 40 แผ่น ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-035-4 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การศึกษาต่อเนื่อง
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัดKeywords: การศึกษาต่อเนื่อง.
โรงพยาบาลธัญญารักษ์.
ผู้ป่วย.Class number: WM100 ศ837 2544 Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเหตุผลในการศึกษาต่อของผู้ป่วยที่ติดสาเสพติด และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการศึกษาต่อของผู้ป่วยยาเสพติดที่ได้เข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23262 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355212 WM100 ศ837 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available การจัดการข้อมูลในการบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง / รสสคุนธ์ วาริทสกุล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : การจัดการข้อมูลในการบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง Original title : Data management in healtcare delivery for chronic kidney disease patients Material Type: printed text Authors: รสสคุนธ์ วาริทสกุล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.6-14 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.6-14Keywords: การจัดการข้อมูล.การบริการสุขภาพ.โรคไตเรื้อรัง.ผู้ป่วยโรตไตเรื้อรัง.Chronic kidney disease patients. Abstract: ปัจจุบัน พยาบาลมักเผชิญปัญหาในการจัดการกับข้อมูลที่เกิดจากการให้บริการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง หากพยาบาลสามารถจัดการกับข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้พยาบาลสามารถให้บริการสุขภาพที่รวดเร็ว ลดความซ้ำซ้อนทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยได้มากยิ่งขึ้น บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการอธิบายกระบวนการจัดการกับข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการให้บริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังให้เป็นสารสนเทศทางสุขภาพที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการต่อไป กระบวนการจัดการข้อมูลประกอบด้วย การกำหนดชุดข้อมูลจำเป็น การเก็บรวบรวมข้อมูลสุขภาพเพื่อการจัดการข้อมูล การสร้างฐานข้อมูลสุขภาพขนาดเล็ก การประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศไปใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพการบริการ ดังนั้น เพื่อให้การจัดการข้อมูลสุขภาพมีความหมายและใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น พยาบาลจะต้องให้ความสำคัญกับการเตรียมรวบรวมข้อมูล ตลอดจนขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูลให้สอดคล้องกับวิธีที่จะวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26735 [article] การจัดการข้อมูลในการบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง = Data management in healtcare delivery for chronic kidney disease patients [printed text] / รสสคุนธ์ วาริทสกุล, Author . - 2017 . - p.6-14.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.6-14Keywords: การจัดการข้อมูล.การบริการสุขภาพ.โรคไตเรื้อรัง.ผู้ป่วยโรตไตเรื้อรัง.Chronic kidney disease patients. Abstract: ปัจจุบัน พยาบาลมักเผชิญปัญหาในการจัดการกับข้อมูลที่เกิดจากการให้บริการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง หากพยาบาลสามารถจัดการกับข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้พยาบาลสามารถให้บริการสุขภาพที่รวดเร็ว ลดความซ้ำซ้อนทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยได้มากยิ่งขึ้น บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการอธิบายกระบวนการจัดการกับข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการให้บริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังให้เป็นสารสนเทศทางสุขภาพที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการต่อไป กระบวนการจัดการข้อมูลประกอบด้วย การกำหนดชุดข้อมูลจำเป็น การเก็บรวบรวมข้อมูลสุขภาพเพื่อการจัดการข้อมูล การสร้างฐานข้อมูลสุขภาพขนาดเล็ก การประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศไปใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพการบริการ ดังนั้น เพื่อให้การจัดการข้อมูลสุขภาพมีความหมายและใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น พยาบาลจะต้องให้ความสำคัญกับการเตรียมรวบรวมข้อมูล ตลอดจนขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูลให้สอดคล้องกับวิธีที่จะวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26735 การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง / กันยารัตน์ มาเกตุ / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2552
Title : การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง : ที่มีการฟื้นความสามารถ Original title : Self management on illness among the recovery stroke patients Material Type: printed text Authors: กันยารัตน์ มาเกตุ, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2552 Pagination: 126 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความเจ็บปวด -- การบำบัด
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]หลอดเลือดสมอง -- โรคKeywords: โรคหลอดเลือดสมอง.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WL355 ก156 2552 Abstract: ศึกษาความหมายและวิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยตามมุมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดทีี่มีการฟื้นความสามารถ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลวัดโบสถ์จังหวัดพิษณุโลก และมีการฟื้นความสามารถโดยการผ่านการประเมินระดับความสามารถในการปฎิบัติกิจวัตรประจำวันอยู่ในเกณฑ์ 75-100 คะแนน จำนวน 13 คน ใช้วิธีการสัมภาษณ์ระดับลึก เครื่องมือที่ใช้คือ แนวคำถามปลายเปิด เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2551 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content anlysis) ตามแนวคิดของ Burnard ผลการศึกษาพบว่า
1. ผู้ให้ข้อมูลได้ให้ความหมายต่อภาวะเจ็บป่วย 3 ความหมาย คือ เป็นโรคที่ตายทั้งเป็น หรือเหมือนคนที่ตายแล้ว โรคเวรโรคกรรมและโรคที่ต้องพึ่งพาเป็นภาระให้กับผู้อื่น 2. ความรู้สึกต่อการเจ็บป่วยนั้นผู้ให้ข้อมูลมีความรู้สึกว่า เป็นชั่วคราวมีความหวังจะหาย เครียด อารมณ์หงุดหงิดที่ดูแลตัวเองไม่ได้และไม่อยากให้เป็นภาระกับผู้อื่น อยากเอาชนะคำสบประมาท 3. วิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยนั้นพบว่า ได้จัีดการกับความทุกข์ทั้งทางร่างกายและจิตใจด้วยการทำใจให้ยอมรับ คิดให้ชีวิตมีความหวัง หาวิธีผ่อนคลายความเครียด คิดเชิงบวกต่อความเจ็บป่วย พยายามช่วยเหลือตนเอง และออกกำลังกายฟื้นฟูร่างกายอย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้สอดคล้องกัีบสภาพร่างกายอันได้แก่ การเลือกและจำกัดอาหาร นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ ใช้การแพทย์แผยไทย แสวงหาวิธีการรักษาต่าง ๆ มาทดลองใช้ รับการรักษษกับแพทย์แผนปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง และเมื่อฟื้นหาย ได้คงวิถีชีวิตที่ดี การปฎิบัติงานช่วยเหลือชุมชนด้วยจิตอาสาCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23201 การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง = Self management on illness among the recovery stroke patients : ที่มีการฟื้นความสามารถ [printed text] / กันยารัตน์ มาเกตุ, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552 . - 126 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความเจ็บปวด -- การบำบัด
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]หลอดเลือดสมอง -- โรคKeywords: โรคหลอดเลือดสมอง.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WL355 ก156 2552 Abstract: ศึกษาความหมายและวิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยตามมุมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดทีี่มีการฟื้นความสามารถ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลวัดโบสถ์จังหวัดพิษณุโลก และมีการฟื้นความสามารถโดยการผ่านการประเมินระดับความสามารถในการปฎิบัติกิจวัตรประจำวันอยู่ในเกณฑ์ 75-100 คะแนน จำนวน 13 คน ใช้วิธีการสัมภาษณ์ระดับลึก เครื่องมือที่ใช้คือ แนวคำถามปลายเปิด เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2551 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content anlysis) ตามแนวคิดของ Burnard ผลการศึกษาพบว่า
1. ผู้ให้ข้อมูลได้ให้ความหมายต่อภาวะเจ็บป่วย 3 ความหมาย คือ เป็นโรคที่ตายทั้งเป็น หรือเหมือนคนที่ตายแล้ว โรคเวรโรคกรรมและโรคที่ต้องพึ่งพาเป็นภาระให้กับผู้อื่น 2. ความรู้สึกต่อการเจ็บป่วยนั้นผู้ให้ข้อมูลมีความรู้สึกว่า เป็นชั่วคราวมีความหวังจะหาย เครียด อารมณ์หงุดหงิดที่ดูแลตัวเองไม่ได้และไม่อยากให้เป็นภาระกับผู้อื่น อยากเอาชนะคำสบประมาท 3. วิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยนั้นพบว่า ได้จัีดการกับความทุกข์ทั้งทางร่างกายและจิตใจด้วยการทำใจให้ยอมรับ คิดให้ชีวิตมีความหวัง หาวิธีผ่อนคลายความเครียด คิดเชิงบวกต่อความเจ็บป่วย พยายามช่วยเหลือตนเอง และออกกำลังกายฟื้นฟูร่างกายอย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้สอดคล้องกัีบสภาพร่างกายอันได้แก่ การเลือกและจำกัดอาหาร นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ ใช้การแพทย์แผยไทย แสวงหาวิธีการรักษาต่าง ๆ มาทดลองใช้ รับการรักษษกับแพทย์แผนปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง และเมื่อฟื้นหาย ได้คงวิถีชีวิตที่ดี การปฎิบัติงานช่วยเหลือชุมชนด้วยจิตอาสาCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23201 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354785 WL355 ก156 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available การจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม / สุชาวดี รุ่งแจ้ง in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 ([11/16/2017])
[article]
Title : การจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม Original title : สุชาวดี รุ่งแจ้ง, รัชนี นามจันทรา Material Type: printed text Authors: สุชาวดี รุ่งแจ้ง, Author ; รัชนี นามจันทรา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.43-57 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.43-57Keywords: ผู้ป่วยมะเร็งปอด.มะเร็งปอดระยะลุกลาม.อาการ.วิธีการจัดการอาการ. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) อาการ และความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม และ 2) วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
กลุ่มตัวอย่างเลือกอย่างเฉพาะเจาะจงจากผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามที่มารับบริการ ณ หน่วยผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ จำนวน 83 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย และแบบสัมภาษณ์อาการ ความรุนแรงของอาการ วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า อาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก ได้แก่ ปวด ไอ เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และเบื่ออาหาร เรียงลำดับตามความรุนแรงในอาการที่พบบ่อยได้เป็น เบื่ออาหาร ปวด เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และไอ ตามลำดับ โดยอาการปวดเป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด ในขณะที่อาการเบื่ออาหารมีค่าเฉลี่ยความรุนแรงสูงที่สุด ผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามใช้วิธีการหลายๆ วิธีในการจัดการอาการแต่ละอาการ วิธีการจัดการอาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก มีดังนี้ 1) อาการปวด ใช้วิธีการรับประทานยาแก้ปวดทุกครั้งที่มีอาการ 2) อาการไอ ใช้วิธีจิบน้ำอุ่น/ดื่มน้ำ และรับประทานยาละลายเสมหะ 3) อาการเหนื่อยล้า ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพักช่วงกลางวัน 4) อาการหายใจลำบาก ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพัก และ 5) อาการเบื่ออาหาร ใช้วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น รับประทานอาหารหรือผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว หรือดื่มเครื่องดื่มอาหารเสริมระหว่างมื้ออาหาร ผลลัพธ์ของการจัดการอาการของผู้ป่วยโดยรวมเป็นไปในทางที่ดี คือ มีอาการทุเลา
ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลในการวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม เพื่อลดความรุนแรงและบรรเทาอาการจากโรค ในการให้ข้อมูล ให้คำปรึกษา รวมทั้งสนับสนุนให้ผู้ป่วยและญาติมีการจัดการอาการด้วยตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการในการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27488 [article] การจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม = สุชาวดี รุ่งแจ้ง, รัชนี นามจันทรา [printed text] / สุชาวดี รุ่งแจ้ง, Author ; รัชนี นามจันทรา, Author . - 2017 . - p.43-57.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.43-57Keywords: ผู้ป่วยมะเร็งปอด.มะเร็งปอดระยะลุกลาม.อาการ.วิธีการจัดการอาการ. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) อาการ และความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม และ 2) วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
กลุ่มตัวอย่างเลือกอย่างเฉพาะเจาะจงจากผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามที่มารับบริการ ณ หน่วยผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ จำนวน 83 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย และแบบสัมภาษณ์อาการ ความรุนแรงของอาการ วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า อาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก ได้แก่ ปวด ไอ เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และเบื่ออาหาร เรียงลำดับตามความรุนแรงในอาการที่พบบ่อยได้เป็น เบื่ออาหาร ปวด เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และไอ ตามลำดับ โดยอาการปวดเป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด ในขณะที่อาการเบื่ออาหารมีค่าเฉลี่ยความรุนแรงสูงที่สุด ผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามใช้วิธีการหลายๆ วิธีในการจัดการอาการแต่ละอาการ วิธีการจัดการอาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก มีดังนี้ 1) อาการปวด ใช้วิธีการรับประทานยาแก้ปวดทุกครั้งที่มีอาการ 2) อาการไอ ใช้วิธีจิบน้ำอุ่น/ดื่มน้ำ และรับประทานยาละลายเสมหะ 3) อาการเหนื่อยล้า ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพักช่วงกลางวัน 4) อาการหายใจลำบาก ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพัก และ 5) อาการเบื่ออาหาร ใช้วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น รับประทานอาหารหรือผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว หรือดื่มเครื่องดื่มอาหารเสริมระหว่างมื้ออาหาร ผลลัพธ์ของการจัดการอาการของผู้ป่วยโดยรวมเป็นไปในทางที่ดี คือ มีอาการทุเลา
ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลในการวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม เพื่อลดความรุนแรงและบรรเทาอาการจากโรค ในการให้ข้อมูล ให้คำปรึกษา รวมทั้งสนับสนุนให้ผู้ป่วยและญาติมีการจัดการอาการด้วยตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการในการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27488 การประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช / บุญทิวา สุวิทย์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Material Type: printed text Authors: บุญทิวา สุวิทย์, Author ; ขจี พงศธรวิบูลย์, Author ; ชูจิต หวังขจรเกียรติ, Author ; สุณี พนาสกุลการ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.194-202 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.194-202Keywords: การประเมินความต้องการจำเป็น. ความผาสุกทางจิตวิญญาณ. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. Needs assessment. spiritual well-being. Head and neck cancer patients. Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบพรรณนาเชิงประเมิน ศึกษาในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่เข้ามารับการรักษาในหอผู้ป่วยโสต ศอ นาสิก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชจำนวน 86 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบ ประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) มีค่า IOC = 1 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Cronbach’s Alpha Coefficient) = 0.763 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และ กำหนดความต้องการจำเป็นโดยใช้สูตร Prioritization Needs Index (PNIModified) ผลการวิจัยพบว่าความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.86, SD = 0.52) และทุกองค์ประกอบของความผาสุกทางจิตวิญญาณอยู่ในระดับมาก อย่างไรก็ตามผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอมีความ ต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ 3 อันดับแรกคือ 1) รู้สึกว้าวุ่นใจ กระวนกระวายใจ และไม่มีความสุข ตั้งแต่รับรู้ว่า ตนเองเจ็บป่วย (PNIModified = 0.86) 2) แม้จะได้รับการรักษาแล้วแต่เมื่อโรคมีอาการรุนแรงขึ้น ก็ยังคงรู้สึกทุกข์ทรมานใจมากขึ้น (PNIModified = 0.77) และ 3) รู้สึกกลัวทุกครั้งเมื่อนึกถึงความเจ็บป่วยที่รุนแรง (PNIModified = 0.70) Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27243 [article] การประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / บุญทิวา สุวิทย์, Author ; ขจี พงศธรวิบูลย์, Author ; ชูจิต หวังขจรเกียรติ, Author ; สุณี พนาสกุลการ, Author . - 2017 . - p.194-202.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.194-202Keywords: การประเมินความต้องการจำเป็น. ความผาสุกทางจิตวิญญาณ. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. Needs assessment. spiritual well-being. Head and neck cancer patients. Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบพรรณนาเชิงประเมิน ศึกษาในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่เข้ามารับการรักษาในหอผู้ป่วยโสต ศอ นาสิก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชจำนวน 86 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบ ประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) มีค่า IOC = 1 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Cronbach’s Alpha Coefficient) = 0.763 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และ กำหนดความต้องการจำเป็นโดยใช้สูตร Prioritization Needs Index (PNIModified) ผลการวิจัยพบว่าความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.86, SD = 0.52) และทุกองค์ประกอบของความผาสุกทางจิตวิญญาณอยู่ในระดับมาก อย่างไรก็ตามผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอมีความ ต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ 3 อันดับแรกคือ 1) รู้สึกว้าวุ่นใจ กระวนกระวายใจ และไม่มีความสุข ตั้งแต่รับรู้ว่า ตนเองเจ็บป่วย (PNIModified = 0.86) 2) แม้จะได้รับการรักษาแล้วแต่เมื่อโรคมีอาการรุนแรงขึ้น ก็ยังคงรู้สึกทุกข์ทรมานใจมากขึ้น (PNIModified = 0.77) และ 3) รู้สึกกลัวทุกครั้งเมื่อนึกถึงความเจ็บป่วยที่รุนแรง (PNIModified = 0.70) Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27243 การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน / รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน : บทบาทพยาบาล Original title : Assessment of foot ulcer risk and nursing management in patients with diabetess the role of nurses Material Type: printed text Authors: รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย, Author ; พิมผกา ปัญโญใหญ่, Author ; สรัญญา พิจารณ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.145-155 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.145-155Keywords: ผู้ป่วยเบาหวาน.การจัดการแผลที่เท้า.การประเมินความเสี่ยง.บทบาทพยาบาล. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26876 [article] การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน = Assessment of foot ulcer risk and nursing management in patients with diabetess the role of nurses : บทบาทพยาบาล [printed text] / รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย, Author ; พิมผกา ปัญโญใหญ่, Author ; สรัญญา พิจารณ์, Author . - 2017 . - p.145-155.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง / สุปรีดา มั่นคง in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน Material Type: printed text Authors: สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.84-101 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 [article] การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน [printed text] / สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author . - 2017 . - p.84-101.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะช็อก / วิลาวัลย์ อุดมการเกษตร / กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรังสิต - 2557
Title : การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะช็อก Material Type: printed text Authors: วิลาวัลย์ อุดมการเกษตร, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรังสิต Publication Date: 2557 Pagination: 107 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-768735-3 Price: 85.00 General note: School of Nursing Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ช็อค
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]ผู้ป่วย -- การพยาบาลKeywords: ผู้ป่วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24544 การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะช็อก [printed text] / วิลาวัลย์ อุดมการเกษตร, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557 . - 107 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม.
ISBN : 978-6-16-768735-3 : 85.00
School of Nursing
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ช็อค
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]ผู้ป่วย -- การพยาบาลKeywords: ผู้ป่วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24544 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000461911 RC685 ว719ก 2557 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000461945 RC685 ว719ก 2557 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000461937 RC685 ว719ก 2557 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000461960 RC685 ว719ก 2557 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000461952 RC685 ว719ก 2557 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available การพัฒนาคู่มือการกินยาด้วยตนเอง สำหรับผู้สูงอายุมุสลิมที่เป็นเบาหวาน / พัชณี สะแม in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 ([12/27/2016])
[article]
Title : การพัฒนาคู่มือการกินยาด้วยตนเอง สำหรับผู้สูงอายุมุสลิมที่เป็นเบาหวาน Original title : Development of an oral medications self-management handbook for elderly muslim patients diabetes Material Type: printed text Authors: พัชณี สะแม, Author ; พัชรี คมจักรพันธุ์, Author ; ศิริวรรณ พิริยคุณธร, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.171-180. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.171-180.Keywords: การพัฒนาคู้มือ.การกินยาด่วยตนเอง.ผู้สูงอายุมุสลิม.ผู้ป่วยเบาหวาน. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25919 [article] การพัฒนาคู่มือการกินยาด้วยตนเอง สำหรับผู้สูงอายุมุสลิมที่เป็นเบาหวาน = Development of an oral medications self-management handbook for elderly muslim patients diabetes [printed text] / พัชณี สะแม, Author ; พัชรี คมจักรพันธุ์, Author ; ศิริวรรณ พิริยคุณธร, Author . - 2016 . - p.171-180.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.171-180.Keywords: การพัฒนาคู้มือ.การกินยาด่วยตนเอง.ผู้สูงอายุมุสลิม.ผู้ป่วยเบาหวาน. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25919 การพัฒนารุปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ / จลี เจริญสรรค์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([06/20/2016])
[article]
Title : การพัฒนารุปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ Original title : The development of schizophrenia care model in saunsaranrom psychiatric hospital Material Type: printed text Authors: จลี เจริญสรรค์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.85-98 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 [06/20/2016] . - p.85-98Keywords: การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วย.โรคจิตเภท.ผู้ป่วยโรคจิตเภท.โรงพยาบาลสวนสราญรมย์. Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25554 [article] การพัฒนารุปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ = The development of schizophrenia care model in saunsaranrom psychiatric hospital [printed text] / จลี เจริญสรรค์, Author . - 2016 . - p.85-98.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ต้องเข้ารับการผ่าตัด ช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : การพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ต้องเข้ารับการผ่าตัด ช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย : โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ Material Type: printed text Authors: นฐธิกานตร์ จริญรัตนเดชะกูล, Author ; พนิตตา พลาศรี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.76-90 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.76-90Keywords: รูปแบบการพยาบาล.ผู้ป่วยอุบัติเหตุ.การผ่าตัดชอ่งท้องแบบฉุกเฉิน.การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ต้องเข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย
การออกแบบวิจัย: การวิจัยและพัฒนา
การดำเนินการวิจัย: แบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ค้นหาและวิเคราะห์ปัญหา ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการพยาบาล โดยใช้กระบวนกำรปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องด้วยแนวคิดของเดมมิ่ง กลุ่มตัวอย่ำง ได้มาจากการคัดเลือกแบบเจาะจงจำนวน 32 คน ได้แก่ พยาบาลวิสัญญีทีมพัฒนา 6 คน และพยาบาลวิสัญญีทีมผู้ทดลองใช้รูปแบบการพยาบาล 26 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) แนวคำถามปัญหาและอุปสรรคการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่เข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉิน 2) รูปแบบการพยาบาล และ3) แบบประเมินความคิดเห็นของทีมผู้ทดลองใช้ต่อการนำไปใช้จริง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: รูปแบบกำรพยาบาลที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย ลำดับขั้นตอนกระบวนการพยาบาลตั้งแต่แรกรับจนถึงการติดตามตรวจเยี่ยมหลังผ่าตัด บทบาทวิชาชีพพยาบาลวิสัญญี และกิจกรรม การพยาบาล และผลความคิดเห็นภาพรวมต่อการนำไปใช้จริง พบว่า 1) รูปแบบการพยาบาลใช้ได้ผลดี ในการดูแลผู้ป่วย 2) มีความเป็นไปได้ในการนำไปสู่กำรปฏิบัติ และ 3) พึงพอใจในการนำไปใช้อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 88.46, 61.54 และ 69.23 ตำมลำดับ นอกจากนี้ผู้ป่วย 5 รายที่ใช้รูปแบบการพยาบาล ไม่พบอุบัติการณ์ภาวะหัวใจหยุดเต้นแบบเฉียบพลันและเสียชีวิตระหว่างการให้ยาระงับความรู้สึก
ข้อเสนอแนะ: รูปแบบการพยาบาลสามารถนำมาใช้ดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่เข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย อย่างไรก็ตามยังต้องการการประเมินประสิทธิผลก่อนกำการนำไปใช้ต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27051 [article] การพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ต้องเข้ารับการผ่าตัด ช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย : โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ [printed text] / นฐธิกานตร์ จริญรัตนเดชะกูล, Author ; พนิตตา พลาศรี, Author . - 2017 . - p.76-90.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.76-90Keywords: รูปแบบการพยาบาล.ผู้ป่วยอุบัติเหตุ.การผ่าตัดชอ่งท้องแบบฉุกเฉิน.การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ต้องเข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย
การออกแบบวิจัย: การวิจัยและพัฒนา
การดำเนินการวิจัย: แบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ค้นหาและวิเคราะห์ปัญหา ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการพยาบาล โดยใช้กระบวนกำรปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องด้วยแนวคิดของเดมมิ่ง กลุ่มตัวอย่ำง ได้มาจากการคัดเลือกแบบเจาะจงจำนวน 32 คน ได้แก่ พยาบาลวิสัญญีทีมพัฒนา 6 คน และพยาบาลวิสัญญีทีมผู้ทดลองใช้รูปแบบการพยาบาล 26 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) แนวคำถามปัญหาและอุปสรรคการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่เข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉิน 2) รูปแบบการพยาบาล และ3) แบบประเมินความคิดเห็นของทีมผู้ทดลองใช้ต่อการนำไปใช้จริง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: รูปแบบกำรพยาบาลที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย ลำดับขั้นตอนกระบวนการพยาบาลตั้งแต่แรกรับจนถึงการติดตามตรวจเยี่ยมหลังผ่าตัด บทบาทวิชาชีพพยาบาลวิสัญญี และกิจกรรม การพยาบาล และผลความคิดเห็นภาพรวมต่อการนำไปใช้จริง พบว่า 1) รูปแบบการพยาบาลใช้ได้ผลดี ในการดูแลผู้ป่วย 2) มีความเป็นไปได้ในการนำไปสู่กำรปฏิบัติ และ 3) พึงพอใจในการนำไปใช้อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 88.46, 61.54 และ 69.23 ตำมลำดับ นอกจากนี้ผู้ป่วย 5 รายที่ใช้รูปแบบการพยาบาล ไม่พบอุบัติการณ์ภาวะหัวใจหยุดเต้นแบบเฉียบพลันและเสียชีวิตระหว่างการให้ยาระงับความรู้สึก
ข้อเสนอแนะ: รูปแบบการพยาบาลสามารถนำมาใช้ดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่เข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย อย่างไรก็ตามยังต้องการการประเมินประสิทธิผลก่อนกำการนำไปใช้ต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27051 การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ การดูแลบในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน / ดวงกมล วัตราดุลย์ in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ การดูแลบในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน Material Type: printed text Authors: ดวงกมล วัตราดุลย์, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.89-103 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.89-103Keywords: ทฤษฎีเปลี่ยนผ่าน.การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ.ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด. Abstract: ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดควรได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ระยะเฉียบพลันในโรงพยาบาลจนกระทั่งจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจเป็นการดูแลที่ครอบคลุมไปถึงการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยและครอบครัวให้สามารถเผชิญหน้ากับความเจ็บป่วยและเปลี่ยนผ่านการดูแลจากโรงพยาบาลไปสู่่บ้านอย่างปลอดภัย. การวิจัยนี้เพื่อ สังเคราะห์การพยาบาลในระยะเปลี่ยนผ่านโดยการบูรณาะการทฤษฎีเปลี่ยนผ่านกับโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ซึ่งพยาบาลผู้จัดการรายกรณีมีบทบาทสำคัญในการดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน ที่ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การประเมินความพร้อมของผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดในการเปลี่ยนผ่าน ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจให้แก่ผู้ป่วยเพื่อเปลี่ยนผ่านการดูแลจากโรงพยาบาสสู่บ้านโดยการวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพร่วมกับการบูรณาการองค์ประกอบาำคัญของการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจระยะที่ 1 และขั้นตอนที่ 3 การพยาบาลในบทบาทเสริมเพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงบทบาทใหม่และคงไว้ซึ่งผลลัพธ์สุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจและคุณภาพชีวิตที่ดี ด้วยการบูรณาการการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจระยะที่ 2 3 และ 4 ให้คงไว้พฤติกรรมการจัดการตนเองเพื่อสุขภาพหัวใจที่ดีและอย่างยั่งยืนในระยะยาว ได้แก่ การประเมินผู้ป่วย การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ การจัดการกับปัจจัยเสี่ยง การฝึกการออกกำลังกาย การจัดการดูแลด้านจิตสังคม การให้คำปรึกษาการออกกำลังกาย และการฝึกออกกำลังกาย ในแต่ละองค์ประกอบจะต้องมีัการประเมินผล การดำเนินการ กำหนดผลลัพธ์ที่คาดหวัง. พยาบาลผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจและหลอดเลือดควรได้รับการอบรมในหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางเพื่อเพิ่มสมรรถนะด้านการฟื้นฟู
สมรรถภาพหัวใจในสถานบริการทุกระดับ มีการประเมินผลลัพธ์และตรวจสอบการประกันคถุณภาพเพื่อให้ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดเข้าถึงบริการอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่องLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25001 [article] การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ การดูแลบในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน [printed text] / ดวงกมล วัตราดุลย์, Author . - 2015 . - pp.89-103.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.89-103Keywords: ทฤษฎีเปลี่ยนผ่าน.การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ.ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด. Abstract: ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดควรได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ระยะเฉียบพลันในโรงพยาบาลจนกระทั่งจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจเป็นการดูแลที่ครอบคลุมไปถึงการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยและครอบครัวให้สามารถเผชิญหน้ากับความเจ็บป่วยและเปลี่ยนผ่านการดูแลจากโรงพยาบาลไปสู่่บ้านอย่างปลอดภัย. การวิจัยนี้เพื่อ สังเคราะห์การพยาบาลในระยะเปลี่ยนผ่านโดยการบูรณาะการทฤษฎีเปลี่ยนผ่านกับโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ซึ่งพยาบาลผู้จัดการรายกรณีมีบทบาทสำคัญในการดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน ที่ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การประเมินความพร้อมของผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดในการเปลี่ยนผ่าน ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจให้แก่ผู้ป่วยเพื่อเปลี่ยนผ่านการดูแลจากโรงพยาบาสสู่บ้านโดยการวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพร่วมกับการบูรณาการองค์ประกอบาำคัญของการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจระยะที่ 1 และขั้นตอนที่ 3 การพยาบาลในบทบาทเสริมเพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงบทบาทใหม่และคงไว้ซึ่งผลลัพธ์สุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจและคุณภาพชีวิตที่ดี ด้วยการบูรณาการการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจระยะที่ 2 3 และ 4 ให้คงไว้พฤติกรรมการจัดการตนเองเพื่อสุขภาพหัวใจที่ดีและอย่างยั่งยืนในระยะยาว ได้แก่ การประเมินผู้ป่วย การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ การจัดการกับปัจจัยเสี่ยง การฝึกการออกกำลังกาย การจัดการดูแลด้านจิตสังคม การให้คำปรึกษาการออกกำลังกาย และการฝึกออกกำลังกาย ในแต่ละองค์ประกอบจะต้องมีัการประเมินผล การดำเนินการ กำหนดผลลัพธ์ที่คาดหวัง. พยาบาลผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจและหลอดเลือดควรได้รับการอบรมในหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางเพื่อเพิ่มสมรรถนะด้านการฟื้นฟู
สมรรถภาพหัวใจในสถานบริการทุกระดับ มีการประเมินผลลัพธ์และตรวจสอบการประกันคถุณภาพเพื่อให้ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดเข้าถึงบริการอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่องLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25001 การรับรู้ภาระจากอาการ ภาระค่าใช้จ่ายกับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรัง / จุฑามาศ เทียนสอาด in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : การรับรู้ภาระจากอาการ ภาระค่าใช้จ่ายกับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรัง : ระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม Original title : Perception of symptom burden financial burden and quality of life in patients with stage renal disease undergoing hemodialysis Material Type: printed text Authors: จุฑามาศ เทียนสอาด, Author ; สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม, Author ; นพวรรณ พินิจขจรเดช, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.60-77 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.60-77Keywords: ภาระค่าใช้จ่าย.คุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง.ผู้ป่วยระยะสุดท้าย.การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับรู้ภาระจากอาการ ภาระค่าใช้จ่าย และ
คุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาระจากอาการกับคุณภาพชีวิต และการรับรู้ภาระค่าใช้จ่ายกับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
กลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายจำนวน 101 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเลือกตามความสะดวกที่เข้ารับการรักษาที่หน่วยไตเทียม โรงพยาบาลรามาธิบดีและโรงพยาบาลสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์ระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง สิงหาคม 2558
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกอาการ แบบสอบถามภาระค่าใช้จ่าย และแบบสอบถามคุณภาพชีวิต EQ-5D และ SF-36 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติ Pearson’s Product-Moment Correlation
ผลการวิจัย
พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคุณภาพชีวิตปานกลาง มีการรับรู้ว่าค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมเป็นภาระค่าใช้จ่ายในระดับปานกลาง และพบว่าการรับรู้ภาระค่าใช้จ่ายมีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต EQ-5D (VAS) ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนอาการที่พบบ่อยที่สุด คือ ผิวแห้ง อาการที่รุนแรงมากที่สุด คือ ปวดหลอดนำเลือด โดยพบว่า ภาระจากอาการมีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต SF-36 ระดับสูงในมิติด้านร่างกายและคุณภาพชีวิตโดยรวม และระดับปานกลางในมิติด้านจิตใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการประเมินผู้ป่วยทั้งในด้านภาระจากอาการและภาระค่าใช้จ่ายซึ่งมีความสำคัญและจำเป็นในการนำมาวางแผนการช่วยเหลือ และบรรเทาภาระจากอาการของผู้ป่วยและจัดหาแห่ล่งประโยชน์ ที่เป็นทั้งบทบาทอิสระของพยาบาลที่สามารถจัดการได้โดยตรงและบทบาทร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยที่จะส่งเสริมให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไปLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26994 [article] การรับรู้ภาระจากอาการ ภาระค่าใช้จ่ายกับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรัง = Perception of symptom burden financial burden and quality of life in patients with stage renal disease undergoing hemodialysis : ระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม [printed text] / จุฑามาศ เทียนสอาด, Author ; สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม, Author ; นพวรรณ พินิจขจรเดช, Author . - 2017 . - p.60-77.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.60-77Keywords: ภาระค่าใช้จ่าย.คุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง.ผู้ป่วยระยะสุดท้าย.การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับรู้ภาระจากอาการ ภาระค่าใช้จ่าย และ
คุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาระจากอาการกับคุณภาพชีวิต และการรับรู้ภาระค่าใช้จ่ายกับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
กลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายจำนวน 101 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเลือกตามความสะดวกที่เข้ารับการรักษาที่หน่วยไตเทียม โรงพยาบาลรามาธิบดีและโรงพยาบาลสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์ระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง สิงหาคม 2558
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกอาการ แบบสอบถามภาระค่าใช้จ่าย และแบบสอบถามคุณภาพชีวิต EQ-5D และ SF-36 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติ Pearson’s Product-Moment Correlation
ผลการวิจัย
พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคุณภาพชีวิตปานกลาง มีการรับรู้ว่าค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมเป็นภาระค่าใช้จ่ายในระดับปานกลาง และพบว่าการรับรู้ภาระค่าใช้จ่ายมีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต EQ-5D (VAS) ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนอาการที่พบบ่อยที่สุด คือ ผิวแห้ง อาการที่รุนแรงมากที่สุด คือ ปวดหลอดนำเลือด โดยพบว่า ภาระจากอาการมีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต SF-36 ระดับสูงในมิติด้านร่างกายและคุณภาพชีวิตโดยรวม และระดับปานกลางในมิติด้านจิตใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการประเมินผู้ป่วยทั้งในด้านภาระจากอาการและภาระค่าใช้จ่ายซึ่งมีความสำคัญและจำเป็นในการนำมาวางแผนการช่วยเหลือ และบรรเทาภาระจากอาการของผู้ป่วยและจัดหาแห่ล่งประโยชน์ ที่เป็นทั้งบทบาทอิสระของพยาบาลที่สามารถจัดการได้โดยตรงและบทบาทร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยที่จะส่งเสริมให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไปLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26994 การศึกษาการใช้เทคนิการสื่อสารเพื่อการบำบัด / วัลลภา อันดารา in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การศึกษาการใช้เทคนิการสื่อสารเพื่อการบำบัด : และการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบััดกับผู้ป่วยจิตเวช Original title : The study of therapeutic communication technique and non-therapeutic communication technique with paychiatric patient Material Type: printed text Authors: วัลลภา อันดารา, Author ; ดลฤดี โรจน์วิริยะ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.64-73 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.64-73Keywords: เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด.การสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด.ผู้ป่วยจิตเวช. Abstract: เป็นการศึกษาการใช้เทคนิดการสื่อสารเพื่อการบำบัดและการสื่อสารที่ใช้การบำบัดผู้ป่วยจิตเวช โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกการสื่อสารเพื่อการบำบัดของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 135 ฉบับ ขณะฝึกปฏิบัติการพยาบาลในวิชาปฏิบัตการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ
ผลการศึกษา พบว่า นักเรียนพยาบาลทหารอากาศใช้เทคนิคการสืื่อสารด้วยคำพูด จำนวน 2445 ครั้ง เป็นเทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด จำนวน 2111 ครั้ง ร้อยละ 86.34 และเป็นเทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด จำนวน 334 ครั้ง ร้อยละ 13.66 โดยเทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด จัดหมวดหมู่ได้ 13 เทคนิค ได้แก่ 1. การยอมรับว่าถูกต้อง จำนวน 78 ครั้ง (ร้อยละ 23.35) 2.ตอบสนองไม่ตรงประเด็น จำนวน 50 ครั้ง (ร้อยละ 14.97) 3 ขอคำอธิบาย จำนวน 48 ครั้ง (ร้อยละ 14.37) 4. ให้คำแนะนำ จำนวน 33 ครั้ง (ร้อยละ 9.88) 5. กล่าวตำหนิ จำนวน 26 ครั้ง (ร้อยละ 4.79) 8. แก้ตัวแทนผู้อื่น จำนวน 14 ครั้ง (ร้อยละ 4.19) 9.ใช้คำพูดท้าทาย จำนวน 14 ครั้ง (ร้อยละ 4.19) 10.กล่าวขัดแย้งข้อคิดเห็นของผู้ป่วย จำนวน 10 ครั้ง (ร้อยละ 2.99) 11 ใช้คำปลอบใจที่ไม่เหมาะสม จำนวน 9 ครั้ง (ร้อยละ 2.70) 12. สนทนาเชิงสังคม จำนวน 9 ครั้ง (ร้อยละ 2.70) 13. ปฏิเสธการช่วยเหลือ จำนวน 7 ครั้ง (ร้อยละ 2.10)
ผลการศึกษาครั้งนี้ นักเรียนพยาบาลใช้เทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช้การบำบัด จำนวน 344 ครั้ง (ร้อยละ 13.66) ถึงแม่ว่าเป็นจำนวนไม่มากเมื่อเปรียบเทียบกับเทคนิคการสื่อสารนั้นล้มเหลว ได้ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช ทั้งภาคทฤษฎและปฏิบัติ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้เทคนิคการสื่อสารในการปฏิบัติงานจริงกับผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27214 [article] การศึกษาการใช้เทคนิการสื่อสารเพื่อการบำบัด = The study of therapeutic communication technique and non-therapeutic communication technique with paychiatric patient : และการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบััดกับผู้ป่วยจิตเวช [printed text] / วัลลภา อันดารา, Author ; ดลฤดี โรจน์วิริยะ, Author . - 2017 . - p.64-73.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.64-73Keywords: เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด.การสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด.ผู้ป่วยจิตเวช. Abstract: เป็นการศึกษาการใช้เทคนิดการสื่อสารเพื่อการบำบัดและการสื่อสารที่ใช้การบำบัดผู้ป่วยจิตเวช โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกการสื่อสารเพื่อการบำบัดของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 135 ฉบับ ขณะฝึกปฏิบัติการพยาบาลในวิชาปฏิบัตการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ
ผลการศึกษา พบว่า นักเรียนพยาบาลทหารอากาศใช้เทคนิคการสืื่อสารด้วยคำพูด จำนวน 2445 ครั้ง เป็นเทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด จำนวน 2111 ครั้ง ร้อยละ 86.34 และเป็นเทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด จำนวน 334 ครั้ง ร้อยละ 13.66 โดยเทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด จัดหมวดหมู่ได้ 13 เทคนิค ได้แก่ 1. การยอมรับว่าถูกต้อง จำนวน 78 ครั้ง (ร้อยละ 23.35) 2.ตอบสนองไม่ตรงประเด็น จำนวน 50 ครั้ง (ร้อยละ 14.97) 3 ขอคำอธิบาย จำนวน 48 ครั้ง (ร้อยละ 14.37) 4. ให้คำแนะนำ จำนวน 33 ครั้ง (ร้อยละ 9.88) 5. กล่าวตำหนิ จำนวน 26 ครั้ง (ร้อยละ 4.79) 8. แก้ตัวแทนผู้อื่น จำนวน 14 ครั้ง (ร้อยละ 4.19) 9.ใช้คำพูดท้าทาย จำนวน 14 ครั้ง (ร้อยละ 4.19) 10.กล่าวขัดแย้งข้อคิดเห็นของผู้ป่วย จำนวน 10 ครั้ง (ร้อยละ 2.99) 11 ใช้คำปลอบใจที่ไม่เหมาะสม จำนวน 9 ครั้ง (ร้อยละ 2.70) 12. สนทนาเชิงสังคม จำนวน 9 ครั้ง (ร้อยละ 2.70) 13. ปฏิเสธการช่วยเหลือ จำนวน 7 ครั้ง (ร้อยละ 2.10)
ผลการศึกษาครั้งนี้ นักเรียนพยาบาลใช้เทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช้การบำบัด จำนวน 344 ครั้ง (ร้อยละ 13.66) ถึงแม่ว่าเป็นจำนวนไม่มากเมื่อเปรียบเทียบกับเทคนิคการสื่อสารนั้นล้มเหลว ได้ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช ทั้งภาคทฤษฎและปฏิบัติ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้เทคนิคการสื่อสารในการปฏิบัติงานจริงกับผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27214 การศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคอง / ศุภศิริิ เชียงตา in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : การศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคอง : ระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล Material Type: printed text Authors: ศุภศิริิ เชียงตา, Author ; วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ภาวิน เกษกุล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.31-48 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.31-48Keywords: วามต้องการ. การดูแลแบบประคับประคอง. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. ผู้ดูแล. Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย: ศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคองระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแลก่อนและหลังได้รับการรักษาการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล กลุ่มละ 45 รายที่รักษาตัวในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและประวัติการเจ็บป่วย แบบสอบถามปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองสำหรับผู้ป่วยและญาติ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมนผลการวิจัย: ผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินมากเป็นอันดับแรก (22.2%) ในช่วงก่อนรักษา และต้องการการดูแลด้านข้อมูลมากเป็นอันดับแรก (20%) ในช่วงหลังได้รับการรักษาสำาหรับผู้ดูแลพบว่ามีความต้องการความช่วยเหลือด้านการดูแลผู้ป่วยมากเป็นอันดับแรกทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (15.6% และ 11.1%) ความต้องการการดูแลโดยรวมของผู้ป่วยและผู้ดูแลสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (rs= .47, rs= .46, p < .01)ส่วนความสัมพันธ์รายด้านพบว่าก่อนได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแลต้องการการดูแลด้านสังคมและด้านการเงินสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .36, p < .05, rs= .52, p < .01) และภายหลังได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความต้องการความช่วยเหลือทางด้านจิตวิญญาณและด้านการเงินสัมพันธ์กันมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .34, p < .05, rs= .39, p < .01 ตามลำาดับ)ข้อเสนอแนะ: พยาบาลมีบทบาทสำาคัญในการประเมินปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองของผู้ป่วยและผู้ดูแลทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการให้คำาปรึกษาตลอดจนแก้ไขปัญหา นำาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการดูแลแบบประคับประคองสำาหรับผู้ป่วยและผู้ดูแลกลุ่มนี้คำสำคัญ: ความต้องการ การดูแลแบบประคับประคอง ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผู้ดูแล
Objective: To examine head & neck cancer patients’ pre- and post-treatment needs for palliative care and their relationship with their caregivers. Design: Correlational descriptive research.
Methodology: The participants were 45 head & neck cancer patients and their caregivers. The patients were hospitalised at a tertiary hospital in Bangkok. The research instruments consisted of (i) a general information and illness history form; and (ii) a
palliative care problem-and-need questionnaire for the patients and their caregivers. The data were analysed using descriptive statistics and Spearman Correlation Analysis.
Results: The study showed that the patients’ primary pre-treatment need was fnancial support (22.2%), whilst their primary post-treatment need was disease-related information (20%). Their caregivers, on the other hand, identifed palliative care assistance for the patients as their primary need, both before and after treatment (15.6% and 11.1%, respectively).
A statically signifcant relationship was found between the patients’ and their caregivers’
overall pre- and post-treatment palliative care needs (rs = .47, rs = .46, p < .01). Category-based analysis showed that both the patients’ and their caregivers’ primary
pre-treatment needs were signifcantly related, and they mainly concerned social and fnancial support (rs = .36, p < .05, rs = .52, p < .01, respectively). After treatment, a statistically signifcant
relationship was also found between the patients’ and their caregivers’ needs, which mainly concerned spiritual and fnancial support (rs = .34, p < .05, rs = .39, p < .01, respectively).
Recommendations: It is suggested that nurses play an active role in assessing patients’ pre- and post-treatment problems and palliative care needs. This practice could lead to more effective counselling and problem-solving approaches, which ultimately could improve palliative care methods for head & neck cancer patients.
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27296 [article] การศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคอง : ระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล [printed text] / ศุภศิริิ เชียงตา, Author ; วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ภาวิน เกษกุล, Author . - 2017 . - p.31-48.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.31-48Keywords: วามต้องการ. การดูแลแบบประคับประคอง. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. ผู้ดูแล. Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย: ศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคองระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแลก่อนและหลังได้รับการรักษาการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล กลุ่มละ 45 รายที่รักษาตัวในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและประวัติการเจ็บป่วย แบบสอบถามปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองสำหรับผู้ป่วยและญาติ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมนผลการวิจัย: ผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินมากเป็นอันดับแรก (22.2%) ในช่วงก่อนรักษา และต้องการการดูแลด้านข้อมูลมากเป็นอันดับแรก (20%) ในช่วงหลังได้รับการรักษาสำาหรับผู้ดูแลพบว่ามีความต้องการความช่วยเหลือด้านการดูแลผู้ป่วยมากเป็นอันดับแรกทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (15.6% และ 11.1%) ความต้องการการดูแลโดยรวมของผู้ป่วยและผู้ดูแลสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (rs= .47, rs= .46, p < .01)ส่วนความสัมพันธ์รายด้านพบว่าก่อนได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแลต้องการการดูแลด้านสังคมและด้านการเงินสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .36, p < .05, rs= .52, p < .01) และภายหลังได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความต้องการความช่วยเหลือทางด้านจิตวิญญาณและด้านการเงินสัมพันธ์กันมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .34, p < .05, rs= .39, p < .01 ตามลำาดับ)ข้อเสนอแนะ: พยาบาลมีบทบาทสำาคัญในการประเมินปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองของผู้ป่วยและผู้ดูแลทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการให้คำาปรึกษาตลอดจนแก้ไขปัญหา นำาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการดูแลแบบประคับประคองสำาหรับผู้ป่วยและผู้ดูแลกลุ่มนี้คำสำคัญ: ความต้องการ การดูแลแบบประคับประคอง ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผู้ดูแล
Objective: To examine head & neck cancer patients’ pre- and post-treatment needs for palliative care and their relationship with their caregivers. Design: Correlational descriptive research.
Methodology: The participants were 45 head & neck cancer patients and their caregivers. The patients were hospitalised at a tertiary hospital in Bangkok. The research instruments consisted of (i) a general information and illness history form; and (ii) a
palliative care problem-and-need questionnaire for the patients and their caregivers. The data were analysed using descriptive statistics and Spearman Correlation Analysis.
Results: The study showed that the patients’ primary pre-treatment need was fnancial support (22.2%), whilst their primary post-treatment need was disease-related information (20%). Their caregivers, on the other hand, identifed palliative care assistance for the patients as their primary need, both before and after treatment (15.6% and 11.1%, respectively).
A statically signifcant relationship was found between the patients’ and their caregivers’
overall pre- and post-treatment palliative care needs (rs = .47, rs = .46, p < .01). Category-based analysis showed that both the patients’ and their caregivers’ primary
pre-treatment needs were signifcantly related, and they mainly concerned social and fnancial support (rs = .36, p < .05, rs = .52, p < .01, respectively). After treatment, a statistically signifcant
relationship was also found between the patients’ and their caregivers’ needs, which mainly concerned spiritual and fnancial support (rs = .34, p < .05, rs = .39, p < .01, respectively).
Recommendations: It is suggested that nurses play an active role in assessing patients’ pre- and post-treatment problems and palliative care needs. This practice could lead to more effective counselling and problem-solving approaches, which ultimately could improve palliative care methods for head & neck cancer patients.
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27296